Transcript Chapter1

1
2
ข้ อมูลและสารสนเทศ

ข้อมูล คือ ข้อเท็จจริ งหรื อเหตุการณ์เกี่ยวกับสิ่ งต่าง ๆ เช่น คน สถานที่ สิ่ งของ
ต่างๆ ซึ่ งมีการเก็บรวบรวมเอาไว้ และสามารถเรี ยกเอามาใช้ประโยชน์ได้ใน
ภายหลัง ข้อมูลจึงจาเป็ นต้องเป็ นข้อมูลที่ดีมีความถูกต้องแม่นยา

สารสนเทศ หมายถึง สิ่ งที่ได้จากการนาข้อมูลที่เก็บรวบรวมไว้มาประมวลผล
เพื่อนามาใช้ประโยชน์ตามจุดประสงค์
3
การจัดการข้ อมูล
ข้อมูลที่เก็บในระบบคอมพิวเตอร์ ที่จะถูกนามาตั้งเป็ นสารสนเทศ
อาจถูกเก็บอยูใ่ น 2 รู ปแบบ คือ
• แฟ้ มข้อมูล
• ฐานข้อมูล
การประมวลผลของข้อมูลที่ถูกเก็บในทั้ง 2 รู ปแบบ จะมีขอ้ ดี
และข้อเสี ย แตกต่างกันไป
4
ระบบแฟ้ มข้ อมูลทีจ่ ดั ทาด้ วยมือ
และระบบแฟ้มข้ อมูลคอมพิวเตอร์
แฟ้ มข้อมูลที่ทาด้วยมือ
 เหมาะสาหรับข้อมูลที่มีไม่มาก
 มีการจัดเรี ยงลาดับตามเงื่อนไขที่กาหนด เช่น ตามลาดับเลขที่
ตัวอักษร
แฟ้ มข้อมูลที่ทาด้วยคอมพิวเตอร์
 คล้ายแฟ้ มข้อมูลที่สร้างด้วยมือ
 ถูกสร้างขึ้นโดยการเขียนโปรแกรมเพื่อสร้างโครงสร้างที่จาเป็ น
ในการจัดเก็บข้อมูล
5
ระบบการประมวลผลข้ อมูลจากแฟ้ มข้ อมูล
เมื่อมีการเริ่ มใช้ระบบคอมพิวเตอร์เพื่อการประมวลผลข้อมูลทาง
ธุรกิจเพื่อสร้างสารสนเทศนั้น จะมีการเก็บกลุ่มของระเบียบต่างๆ ไว้
ในแฟ้ มข้อมูลที่แยกจากกัน เรี ยกว่า เป็ นระบบการประมวลผล
แฟ้ มข้อมูล ถึงแม้วา่ ระบบการประมวลผลแฟ้ มข้อมูลนี้จะเป็ นระบบ
ที่มีประสิ ทธิภาพดีกว่าระบบที่ทาด้วยมือ เช่น เก็บข้อมูลในกระดาษ
แต่ระบบแฟ้ มข้อมูลยังมีขอ้ จากัดหลายอย่าง
6
การจัดเก็บข้ อมูลไว้ ในแฟ้ มข้ อมูล
7
ข้ อดีของการประมวลผลข้ อมูลในระบบแฟ้ มข้ อมูล
1. การประมวลผลข้อมูลทาได้รวดเร็ ว
2. ค่าลงทุนเบื้องต้นต่า อาจไม่จาเป็ นต้องใช้คอมพิวเตอร์ที่มี
ความสามารถมากก็สามารถทาการประมวลผลข้อมูลได้
3. โปรแกรมประยุกต์แต่ละโปรแกรมสามารถควบคุมการใช้ขอ้ มูล
ในแฟ้ มข้อมูลของตนเองได้
8
ข้ อเสี ยของการประมวลแฟ้ มข้ อมูลในระบบแฟ้ มข้ อมูล
1. มีความซ้ าซ้อนของข้อมูล (Redundancy)
2. ความยากในการประมวลผลข้อมูลในแฟ้ มข้อมูลหลายข้อมูล
3. ไม่มีผคู้ วบคุมและรับผิดชอบระบบทั้งหมด ในระบบนี้ผเู้ ขียน
โปรแกรม หรื อ ผูใ้ ช้จะดูแลเฉพาะข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับตนเท่านั้น
ไม่ได้ดูแลไปทั้งหมด
9
ฐานข้ อมูล (Database) คือ ......






กลุมของข
อมู
่ ก
ู รวบรวมไวด
น อยาง
่
้ ลทีถ
้ วยกั
้
่
มีระบบ แบบแผน
เป็ นหมวดหมู่
มีความสั มพันธกั
่ วของ
่ ๆ ทีเ่ กีย
้
้ ลชุดอืน
์ บขอมู
เรียกวา่ “ฐานขอมู
้ ลเชิงสั มพันธ”์
อาศั ยหลักการสรางความสั
มพันธระหว
าง
้
่
์
ขอมู
้ ล
อาศั ยขอมู
่ มความสั มพันธ ์
้ ลบางตัวเป็ นตัวเชือ
ตรงกับคาภาษาอังกฤษวา่ Relational Database
10
Management System
การจัดเก็บข้ อมูลไว้ ในรู ปแบบของระบบฐานข้ อมูล
11
ระบบการจัดการฐานข้ อมูล (Data Base Management System)
ระบบจัดการฐานข้อมูล หรื อ DBMS คือ ซอฟต์แวร์ที่
เปรี ยบเสมือนสื่ อกลางระหว่างผูใ้ ช้และโปรแกรมต่าง ๆ ที่
เกี่ยวข้องกับการใช้ฐานข้อมูล ซึ่งมีหน้าที่ช่วยให้ ผูใ้ ช้เข้าถึง
ข้อมูลได้ง่ายสะดวกและมีประสิ ทธิภาพ
PICTURE
12
การบริหารฐานข้ อมูล (Database Administrator : DBA)
ผูบ้ ริ หารฐานข้อมูล (Database Administrator : DBA)
เป็ นบุคลากรที่สาคัญ คอยทาหน้าที่บริ หารงานของระบบฐานข้อมูล
ทั้งหมด เป็ นผูต้ อ้ งตัดสิ นใจว่าจะรวบรวมข้อมูลอะไรบ้างไว้ใน
ระบบ จะจัดเก็บโดยวิธีใด จะใช้เทคนิคใดในการเรี ยกดูขอ้ มูล
การกาหนดระบบการรักษาความปลอดภัยข้อมูล การสร้างระบบ
สารองข้อมูล การกูค้ ืน การซ่อมบารุ ง การประสานงาน
ผูใ้ ช้ ผูป้ ฏิบตั ิงาน นักวิเคราะห์ระบบตลอดจนโปรแกรมเมอร์
และการกาหนดระดับการเข้าใช้ขอ้ มูลของบุคลากรทุกระดับ
13
ลาดับขั้นของข้ อมูลในโครงสร้ างแบบฐานข้ อมูล มีดงั นี้
Database
DATABASE
File File File
I
001
A
002
B
ID
NAME
RECORD
FIELD
D
010010001 01000100
FILE
BYTE
BIT
FILE
RECORD
FIELD
FILE
RECORD
FIELD
BYTE
BIT
14
15
File (ชื่อ
แฟ้ มข้อมูล)(Entity)
Attibute(Field)
Tuple(Record)
16
องค์ ประกอบของฐานข้ อมูล
ระบบฐานข้อมูลที่สมบูรณ์จะต้องประกอบด้วยองค์ประกอบ 4
องค์ประกอบหลักดังต่อไปนี้ คือ
 ฮาร์ดแวร์ (Hardware) ได้แก่ อุปกรณ์ต่าง ๆ ทางคอมพิวเตอร์
 ซอฟต์แวร์ (Software) ที่ใช้ในระบบฐานข้อมูล เป็ น 2 ชนิด คือ
1. ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software)
2. ระบบจัดการฐานข้อมูล (Database Management System : DBMS)
17
องค์ ประกอบของฐานข้ อมูล (ต่ อ)
ข้อมูล (Data) คือ สิ่ งที่ผใู้ ช้ตอ้ งการเรี ยกใช้ จัดเก็บ แก้ไข เพิ่มเติม ข้อมูลที่มี
ลักษณะเป็ นฐานข้อมูลจะต้องถูกเรี ยกใช้ร่วมกันได้ (Sharing) ระหว่างผูใ้ ช้ที่ต่างกัน
 บุคลากร (People) ที่เกี่ยวข้องกับฐานข้อมูล แบ่งเป็ น 3 ประเภทใหญ่ๆ ดังนี้
1. ผูใ้ ช้งาน (User)
2. ผูพ้ ฒั นาฐานข้อมูล (Developer) เช่น ผูบ้ ริ หารจัดการฐานข้อมูล
(Database Administrator : DBA) , นักเขียนโปรแกรม (Programmer)
3. ผูป้ ฏิบตั ิการ (Operator)
18
ประโยชน์ จากการประมวลผลด้ วยฐานข้ อมูล
1. ลดความซ้ าซ้อนของข้อมูล
2. สามารถหลีกเลี่ยงความขัดแย้งของข้อมูลได้ในระดับหนึ่ง
3. สามารถใช้ขอ้ มูลร่ วมกันได้
4. สามารถควบคุมความเป็ นมาตรฐานได้
5. สามารถจัดหาระบบความปลอดภัยที่รัดกุมได้
6. สามารถควบคุมความคงสภาพของข้อมูล
7. สามารถสร้างสมดุลในความขัดแย้งของความต้องการได้
8. เกิดความเป็ นอิสระของข้อมูล
1. ลดความซ้าซ้ อนของข้ อมูล (redundancy can be reduced)
การประมวลผลโดยใช้ไฟล์ธรรมดานั้นจาเป็ นที่ผใู้ ช้แต่ละกลุ่ม
จะต้อ งมี ไ ฟล์ ส่ ว นตัว เอาไว้ ดัง นั้ น จึ ง เกิ ด เหตุ ก ารณ์ ที่ ข ้อ มู ล ชนิ ด
เดียวกันถูกเก็บไว้หลายๆ แห่ง หรื อเรี ยกว่า ความซ้ าซ้อน
การนาข้อมูลทั้งหมดมาเก็บไว้ที่เดี ยวกันในฐานข้อมูลนี้ เป็ น
การ “ลด” ความซ้ าซ้อนลงไป เพราะมีงานบางประเภทที่อาจจะต้อง
เก็บข้อมูลชุดเดียวกันไว้มากกว่า 1 แห่ง
อย่างไรก็ดีการใช้ระบบฐานข้อมูลจะทาให้เราสามารถ ควบคุม
การเกิ ดความซ้ าซ้อน เพราะถึงแม้ว่าจะต้องเก็บข้อมูลชุ ดเดี ยวกัน
มากกว่า 1 แห่ ง DBMS ก็จะเป็ นตัวที่ทราบอยูต่ ลอดเวลาว่ามีความ
ซ้ าซ้อนอยู่ที่ ใ ดบ้าง และสามารถ ขจัด ปั ญ หาที่ อ าจเกิ ดจากความ
ซ้ าซ้อนของข้อมูลนั้นๆ ได้
2. สามารถหลีกเลีย่ งความขัดแย้ งของข้ อมูลได้ ในระดับนึ่ง
(inconsistency can be avoided...to some extent)
การเก็บข้อมูลไว้หลายๆ แห่ ง อาจจะก่อให้เกิ ดปั ญหา เกี่ ยวกับ
การแก้ไขข้อมูล ซึ่ งอาจทาได้ไม่ครบทุกที่ ทาให้เกิดปั ญหาว่า ข้อมูลชุด
เดี ย วกัน อาจมี ค่ า ในแต่ ล ะแห่ ง ไม่ ต รงกัน ดัง นั้น ถ้า การใช้ร ะบบ
ฐานข้อมูลทาให้เราสามารถลดความซ้ าซ้อนลงไปได้ โดยมี DBMS
เป็ นตัวควบคุมการทางานเหล่านี้
3. สามารถควบคุมความเป็ นมาตรฐานได้
(standard can be enforced)
การกาหนดมาตรฐานของข้อมูล ให้เป็ นรู ปแบบเดี ยวกัน ทา
ให้ ก ารแลกเปลี่ ย นข้อ มู ล ระหว่า งระบบ เป็ นไปอย่า งสะดวกและ
ถู ก ต้อ ง ผูค้ วบคุ ม ระบบฐานข้อ มู ล นี้ เรี ย กว่ า ผูบ้ ริ ห ารฐานข้อ มู ล
(Database Administrator) หรื อ DBA โดยที่ DBA นี้อาจจะเป็ นบุคคล
ผูเ้ ดียว หรื อกลุ่มบุคคลก็ได้
4. สามารถใช้ ข้อมูลร่ วมกันได้ (the data can be shared)
ผูใ้ ช้แต่ละคนสามารถแลกเปลี่ ยนข้อมูลและ ใช้ขอ้ มูล
ร่ วมกันได้ เพราะมีการกาหนดรู ปแบบของข้อมูล และมาตรฐาน
ต่ า งๆให้เ ป็ นแบบเดี ย วกัน จึ ง ง่ า ยต่ อ การ แลกเปลี่ ย นข้อ มู ล
ระหว่างผูใ้ ช้ดว้ ยกัน
5. สามารถจัดหาระบบความปลอดภัยทีร่ ัดกุมได้
(security restrictions can be applied)
สามารถป้ องกันไม่ให้ผูไ้ ม่มีสิทธิ์ ในข้อมูล มาใช้ขอ้ มูลได้
และนอกจากนี้ DBA ยังสามารถกาหนดรหัสลับในการเรี ยกใช้
ข้อมูลบางส่ วนได้อีกด้วย หมายถึง ผูใ้ ช้แต่ละคน จะมองเห็นและ
สามารถใช้ขอ้ มูลได้เฉพาะในส่ วนที่ตนเองเกี่ยวข้องเท่านั้น ถึงแม้
จะมีขอ้ มูลของหลายๆคนเก็บอยูร่ วมกันก็ตาม
6. สามารถควบคุมความคงสภาพของข้ อมูลได้
(integrity can be maintained)
ความคงสภาพของข้อมูล หมายรวมถึ ง การไม่มีความ
ขัดแย้งของข้อมูล หรื อการป้ อน/แก้ไขข้อมูลที่อยูใ่ นขอบเขตที่
เป็ นไปได้ ที่เรี ยกว่า โดเมน (DOMAIN)
DOMAIN หมายถึง ขอบเขตของข้อมูลที่เป็ นไปได้ เช่น
โดเมนของเกรดอยู่ร ะหว่า ง 0-4 โดเมนของรหัส นัก ศึ ก ษาคื อ
CHR$(10)
ซึ่ ง DBMS จะคอยควบคุมดูแลให้ขอ้ มูลดังกล่าวถูกต้อง
ตามขอบเขตที่กาหนดไว้
7. สามารถสร้ างสมดุลในความขัดแย้ งของความต้ องการได้
(conflicting requirements can be balanced)
ทาให้ DBA ทราบถึง ความต้องการและความสาคัญของ
ผูใ้ ช้งานทั้งหมด จึงสามารถกาหนดโครงสร้างของฐานข้อมูลเพื่อ
ให้บริ การที่ ดีที่สุดได้ เพื่อให้ผูใ้ ช้สามารถใช้ข ้อมูลได้อย่างทัว่ ถึ ง
และทันเวลา
8. เกิดความเป็ นอิสระของข้ อมูล
(data independence)
ลัก ษณะของข้อ มู ล ที่ ไ ม่ เ ป็ นอิ ส ระคื อ ข้อ มู ล ที่ ถู ก น ามา
ประยุกต์ใช้ยงั มีความผูกพันอยูก่ บั วิธีการจัดเก็บและเรี ยกใช้ ข้อมูล
ในลักษณะการเขียนโปรแกรมประยุกต์บางประเภท เรา
อาจจาเป็ นต้องใส่ เทคนิ คการจัดเก็บ และเรี ยกใช้ขอ้ มูลไว้ในตัว
โปรแกรมด้วย
หมายความว่า ถ้าเกิดต้องการเปลี่ยนแปลงวิธีการจัดเก็บ หรื อการ
เรี ยกใช้ขอ้ มูลแล้ว ผูใ้ ช้ก็จาเป็ นที่ จะต้องสร้างวิธีการประยุกต์ใช้ข้ ึนมาใหม่
ซึ่ งเป็ นความไม่ สะดวกอย่างยิ่ง และทาให้เ ราหมดโอกาสที่ จ ะปรั บปรุ ง
โครงสร้างของข้อมูล เพื่อให้ใช้งานได้อย่างมีประสิ ทธิภาพ
การใช้ระบบฐานข้อมูล จะทาให้เกิ ดความเป็ นอิสระระหว่างการ
จัดเก็บข้อมูล และการประยุกต์ใช้ ทั้งนี้ ก็เพราะส่ วนของการจัดเก็บข้อมูล
จริ งๆ ถูก “ซ่อน” ออกจากวิวของการใช้งาน
คาศัพท์ ต่าง ๆ
ENTITY
เปรียบเสมือนกับเป็ นคานามทัว่ ๆไป เช่ น บุคคล สถานที่ และ
สิ่ งของ เช่ น การสร้ างระบบฐานข้ อมูล เกีย่ วกับระบบการขายของ
บริษทั แห่ งหนึ่ง entity ของระบบนีไ้ ด้ แก่
พนักงานขาย
ลูกค้ า
สิ นค้ า
ATTRIBUTE
คือ ข้ อมูลทีแ่ สดงลักษณะ และคุณสมบัตขิ อง entity
เช่น
attribute ของ พนักงานขาย ได้ แก่
รหัสพนักงานขาย
ทีอ่ ยู่
ตาแหน่ ง
ชื่อพนักงานขาย
วันบรรจุเข้ าทางาน
เงินเดือน
ตัวอย่ าง
แผนก
รหัสแผนก
entity
ชื่อแผนก
ทีต่ ้งั
attribute
อาจารย์
รหัสอาจารย์
entity
ชื่ออาจารย์
ทีอ่ ยู่
attribute
เงินเดือน
Relationship (ความสั มพันธ์ )
หมายถึง ความสัมพันธ์ ระหว่าง entity ด้วยกัน
ตัวอย่ างเช่ น
ความสัมพันธ์ระหว่างภาควิชา และ อาจารย์ คือ เป็ นภาควิชาที่
อาจารย์น้ นั ๆ สังกัดอยู่ ส่ วนความสัมพันธ์ระหว่างอาจารย์ และ
ภาควิ ช า ก็ เ ป็ นในลัก ษณะที่ ว่ า เป็ นอาจารย์ที่ ท างานอยู่ กับ
ภาควิชานั้นๆ
ชนิดของความสั มพันธ์
1. ONE-TO-ONE Relationship
ตัวอย่ าง การเขียน E-R Diagram แสดงความสั มพันธ์
นักศึกษา
มี
บัตรนักศึกษา
นักศึกษาสามารถมีบัตรนักศึกษาได้ คนละ 1 ใบ เท่ านั้น
และ บัตรนักศึกษา 1 ใบ เป็ นของนักศึกษาได้ เพียง 1 คน เท่ านั้น
2. ONE-TO-MANY Relationship
ตัวอย่ าง การเขียน E-R Diagram แสดงความสั มพันธ์
โปรแกรมวิชา
สั งกัด
นักศึกษา
แต่ ละโปรแกรมวิชามีนักศึกษาสั งกัดได้ หลายคน
แต่ นักศึกษา แต่ ละคน สามารถสั งกัดโปรแกรมวิชาได้ เพียง
โปรแกรม เท่ านั้น
1
3. MANY-TO-MANY Relationship
ตัวอย่ าง การเขียน E-R Diagram แสดงความสั มพันธ์
วิชาเรียน
เรียน
แต่ ละวิชามีนักศึกษาเรียนได้ หลายคน
และ นักศึกษา แต่ ละคนคน สามารถเรียนได้ หลายวิชา
นักศึกษา
สามารถนามาเขียนรวมกันได้ ดงั นี้
วิชาเรียน
เรียน
โปรแกรมวิชา
สั งกัด
นักศึกษา
มี
บัตรนักศึกษา
แบบฝึ กหัดที่1
จงเขียน ENTITY และความสั มพันธ์ ระหว่ างแต่ ละ ENTITY
อย่ างน้ อย 5 ENTITY ทีม่ ีความสั มพันธ์ ครบทุกแบบ
ส่ งในชั่วโมงเรียนค่ ะ
แบบฝึ กหัด
1. จงบอกลักษณะการทางานของระบบแฟ้ มข้อมูลพร้อมข้อดี และข้อเสี ย
2. จงบอกลักษณะการทางานของระบบฐานข้อมูลพร้อมข้อดี และข้อเสี ย
3. ระบบการจัดการฐานข้อมูล (DBMS) คืออะไร มีส่วนสาคัญต่อฐานข้อมูล
อย่างไร และทาให้เกิดความสะดวกในด้านใดบ้าง
4. อธิบายความสัมพันธ์แต่ละแบบ พร้อมยกตัวอย่างประกอบ
39
ทบทวน
40
41
องค์ ประกอบของฐานข้ อมูล
.
.
.
.
42
ชนิดของความสั มพันธ์
1. ONE-TO-ONE Relationship
2. ONE-TO-MANY Relationship
3. MANY-TO-MANY Relationship