ช่องว่างในร่างกาย - UBRU LMS - มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี

Download Report

Transcript ช่องว่างในร่างกาย - UBRU LMS - มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี

กายวิภาคและสรี รวิทยา 1
Anatomy and Physiology 1
รหัสรายวิชา 8011101
Lecture#1 บทนา ความรู้เบื ้องต้ น
อ.ภัทรภร เจริญบุตร
คณะสาธารณสุขศาสตร์ มรภ.อุบลราชธานี
1
•
คำอธิบำยรำยวิชำ
ความหมาย ความสาคัญ คาศัพท์ทางกายวิภาคศาสตร์
และสรี รวิทยา การจัดระบบของร่างกายมนุษย์ ความรู้เบื ้องต้ น
ของเซลล์และเนื ้อเยื่อ โครงสร้ างและหน้ าที่การทางานของ
อวัยวะในร่างกายมนุษย์ รูปร่าง ลักษณะ ตาแหน่งและหน้ าที่
การทางานของอวัยวะในระบบโครงร่าง ระบบห่อหุ้มร่างกาย
ระบบกล้ ามเนื ้อ และระบบประสาท
2
ความสาคัญ ประโยชน์
• ความสาคัญของวิชากายวิภาคศาสตร์ และสรี รวิทยาของ
มนุษย์จะเป็ นความรู้พื ้นฐานในการศึกษาศาสตร์ ที่
เกี่ยวข้ อง รวมถึงการป้องกันดูแลสุขภาพของมนุษย์เอง
ให้ มีชีวิตอันยืนยาวต่อไป
3
ข้ อตกลงด้ ำนคุณธรรม จริยธรรม
• นักศึกษาทุกคนควรมีความซื่อสัตย์สจุ ริ ต ไม่ทจุ ริ ตในการสอบ
การลอกการบ้ านหรื อรายงานของผู้อื่น
• นักศึกษาควรเข้ าเรี ยนตรงเวลา และการแต่งกายตามระเบียบ
ของมหาวิทยาลัย
4
คำแนะนำในกำรเรี ยนให้ ประสบโชค A
Study Suggestions:
• ควรมีเอกสารประกอบการสอน กายวิภาคและสรี รวิทยา 1 โดย ผศ.นภา
ภรณ์ สันพนวัฒน์ (พ.ศ.2547) ซึง่ อาจารย์จะสอนตามเนื ้อหาในนัน้
• ศึกษาเอกสารประกอบการสอน อ่านเพิ่มในเว็บไซต์ที่แนะนามาก่อน และ
หากมีข้อสงสัยให้ ปรึกษาอาจารย์ อาจทางอีเมล หรื อในชัว่ โมงเรี ยน
• อ่านศึกษาทาความเข้ าใจเนื ้อหาแต่ละบทอย่างละเอียด
• ทาแบบฝึ กหัดด้ วยตนเอง ประเมินคะแนน จากเฉลยของอาจารย์ หมัน่
ทบทวนตอบคาถาม จนสามารถตอบคาถามได้ เองถูกต้ อง
• เก็บรวบรวมแบบฝึ กหัดใส่ แฟ้มสะสมงาน ให้ ครบทุกบท ส่งก่อนสอบ final
• การปรึกษาอาจารย์ได้ ทางอีเมล หากต้ องการพบให้ นดั ล่วงหน้ าอย่างน้ อย 1
วัน วันเวลาที่อาจารย์สามารถนัดให้ คาปรึกษาได้ คือ
– พุธ และ พฤหัสบดี เวลา 8.00-10.00 น.
5
บทที่ 1 ควำมร้ ู เบือ้ งต้ น
6
LESSON OBJECTIVES
• LESSON 1 ความรู้ เบือ้ งต้ น คาศัพท์ สาคัญ
• หลังเรี ยนหัวข้ อนีจ้ บ นักศึกษาสามารถ :
1-1. บอกนิยามของ กายวิภาคศาสตร์ และ สรี รวิทยา
1-2. ยกตัวอย่างแขนงวิชาของการศึกษาทางกายวิภาคศาสตร์ ได้ สกั 2-3
แขนง
1-4. อธิบาย การจัดระบบของร่างกายมนุษย์ได้
1-5. บอกความหมายคาศัพท์สาคัญทางกายวิภาคศาสตร์ และสรี รวิทยาได้
1-6. อธิบาย บอกความหมาย ท่ายืนทางกายวิภาคศาสตร์ ได้
(anatomical position)
1-7. บอกส่วนต่างๆของร่างกายมนุษย์ได้ (4 ส่วน)
1-8. บอกความคาดหวังถึงการนาไปใช้ ประโยชน์ของรายวิชานี ้ในวิชาชีพ
สาธารณสุข
7
Vitruvian Man by Leonardo da Vinci
• “Proportion of the Human Figure”
ศึกษาสัดส่วนกายวิภาคมนุษย์อย่างละเอียด จนพิสจู น์ทฤษฎีบทของ "วิทรู เวียน" ผู้เป็ น
สถาปนิกยุคจักรวรรดิโรมันได้ สาเร็จว่า "ร่างคนยืนกางแขนขาจะตกเป็ นรูปทรงเรขาคณิต
ที่สมบูรณ์เสมอ" และนับเป็ นการเปิ ดประตูสศู่ าสตร์ กายวิภาคครัง้ สาคัญ
8
วิชานี้ศึกษาเกี่ยวกับ??????
• Anatomy is the science of the structure of
the body.
• วิชากายวิภาคศาสตร์ (Anatomy) เป็ นการศึกษาถึงโครงสร้ าง
(structure) และส่วนต่าง ๆของร่างกายมนุษย์ ซึง่ ประกอบเป็ น
รูปร่าง รวมทังลั
้ กษณะ ตาแหน่ง ของส่วนนันๆ
้ และชิ ้นส่วนของอวัยวะ
นันๆ
้ ประกอบขึ ้นเป็ นรูปร่างได้ อย่างไร
9
คาว่า Anatomy คำนีม้ ีควำมหมำยว่ ำอย่ ำงไร?
• มาจากภาษากรีกคือ anatome (ana = up, apart, tome =
cutting) มีความหมายว่ า to cut up โดยความหมายนี้
anatomy จึงเป็ นคาทีม่ ีความหมายเหมือนกับ (synonym)
dissection ในภาษาลาตินซึง่ มีความหมายว่ า to cut up
เช่ นเดียวกัน (dis = asunder, secare = to cut)
• แต่ในปั จจุบนั คาทังสองนี
้
้ไม่เป็ น synonym กันอีกต่อไป เพราะ
– dissection เป็ นคาที่ใช้ เรี ยกเทคนิคในการเรี ยน gross anatomy
หมายถึง เทคนิคของการตัดที่แท้ จริง (actual cutting up) เพื่อที่จะศึกษา
ส่วนต่าง ๆ ของสิง่ มีชีวิต
– แต่ anatomy เป็ นคาที่ใช้ เรี ยกชื่อวิชาดังกล่าวแล้ วข้ างต้ น
10
สรี รวิทยา (Physiology)
– เป็ นวิทยาศาสตร์ แขนงหนึง่ ซึง่ ศึกษาเกี่ยวกับหน้ าที่ (Function)
ของอวัยวะต่างๆไม่เพียงแต่หน้ าที่ใหญ่ๆของอวัยวะเท่านัน้ แต่ยงั
ศึกษาถึงหน้ าที่ของส่วนย่อยของอวัยวะเหล่านันอี
้ กด้ วย นอกจากนี ้ยัง
ศึกษาถึงกระบวนการต่างๆที่เกิดขึ ้นซึง่ อาจเนื่องมาจากการ
เปลีย่ นแปลงทางเคมีและทางกายภาพในอวัยวะ
• Physiology
– The scientific discipline that studies the function of
body structures.
****Structure and function cannot be completely
separated.
11
แขนงวิชา KINDS OF ANATOMICAL STUDIES
1. Macroscopic anatomy หรือ Gross anatomy เป็ น
การศึกษาโครงสร้ างต่ างๆ ของร่ างกายด้ วยตาเปล่ า, Gross
anatomy สามารถนาไปสัมพันธ์ กับสาขาวิชาอืน่ ได้ แก่
– Applied anatomy เป็ นการเชื่อมโยง anatomy กับทางเวช
กรรม (medicine)
– Surgical anatomy ศึกษาเพื่อใช้ ทางศัลยกรรม (surgery)
– Comparative anatomy ศึกษาความสัมพันธ์ โครงสร้ าง
(structural relation) ของสัตว์ ชนิดหนึ่งกับอีกชนิดหนึ่ง
– Pathological anatomy ศึกษาผลของโรคที่มีต่อโครงสร้ าง
ร่ างกาย
12
2.จุลกายวิภาคศาสตร์ (Microanatomy)
• เป็ นวิชาเกี่ยวกับส่วนต่าง ๆ ของร่างกายที่มองด้ วยตาเปล่าไม่เห็น ต้ องขยาย
ดูด้วยกล้ องจุลทรรศน์แบ่งเป็ น 2 สาขาย่อย คือ
• เนื ้อเยื่อวิทยา (Histology) เป็ นการศึกษารายละเอียดของเนื ้อเยื่อต่าง ๆ
รวมทังเนื
้ ้อเยื่อที่ประกอบกันเป็ นอวัยวะ
• เซลล์วิทยา (Cytology) เป็ นวิชาเกี่ยวกับโครงสร้ างและหน้ าที่ของ
ส่วนประกอบต่าง ๆ ภายในเซลล์ ส่วนมากต้ องศึกษาจากกล้ องจุลทรรศน์อี
เล็กตรอน
• ประสาทกายวิภาคศาสตร์ (Neuroanatomy) เป็ นการศึกษา
โครงสร้ างและหน้ าที่เกี่ยวกับส่วนประกอบ รูปร่าง ลักษณะการทางานของ
ระบบประสาทของสมองและไขสันหลัง รวมถึงอวัยวะรับสัมผัส
13
Anatomical position
• หมายถึง ท่ายืนกายวิภาค แสดงถึงการยืนตรง ศีรษะ
และลาตัวตรง ใบหน้ ามองตรงไปข้ างหน้ า แขนสอง
ข้ างแนบลาตัว ฝ่ ามือทังสองหั
้
นหรื อแบออกไป
ด้ านหน้ า
• เป็ นท่าที่ anatomists ทัว่ โลกได้ ตกลงกันไว้ ไม่วา่
คนที่ยงั มีชีวิตหรื อศพ จะยืน นัง่ นอนในท่าใดก็ตาม
เวลาพูดว่า structure ใดอยูบ่ น ล่าง ขวา ซ้ าย
หน้ า และหลัง ให้ เสมือนว่าคนหรื อศพนันอยู
้ ่ในท่า
anatomical position
14
Planes of the body
• แนวหรื อระนาบของร่างกาย ได้ แก่ แนวสมมติที่ผา่ น
ร่างกายใน ท่ามาตรฐาน (anatomical position)
ได้ แก่ median, sagittal, coronal,
horizontal และ transverse planes
15
Planes of the body
16
Planes of the body
17
Median plane (midsagittal or median
sagittal plane)
• ระนาบการผ่า เป็ นแนวสมมติในแนวตัง้ (vertical imaginary
plane) ที่ตดั ผ่านตามความยาวของร่างกาย ทาให้ แบ่งร่างกาย
ออกเป็ นครึ่งซ้ าย และครึ่งขวา
ที่มา student.brighton.ac.uk
18
Sagittal planes
• เป็ นแนวสมมติในแนวตังที
้ ่ตดั ผ่านร่างกายโดย
ขนานกับ median plane
• sagittal plane ที่ผ่าน median
plane ของร่างกายเรี ยก median
sagittal plane หรื อ midsagittal
plane,
• Sagittal plane ทีแ่ บ่ งร่ างกายออกเป็ น
right และ left portions แต่ ไม่ ผ่าน
median plane บางครั้ งเรี ยก
paramedian หรื อ parasagittal
plane นั่นคือ ผ่ าในแนวถัดจากแนวกลาง
ลาตัวออกมาให้ ได้ ซีกซ้ ายขวาไม่เท่ากัน
ที่มารูป student.brighton.ac.uk
19
Transverse or Horizontal plane
• ระนาบการผ่า ผ่าตามขวาง เป็ นการผ่าตามขวาง หรื อผ่า
ตามแนวระดับขนานกับพื ้น
ที่มาภาพ student.brighton.ac.uk
20
Coronal plane (frontal plane)
• เป็ นแนวสมมติในแนวตังที
้ ่ตดั median plane เป็ นมุมฉาก และ
แบ่งร่างกายออกเป็ นส่วนหน้ า (anterior / front), และส่วนหลัง
(posterior / back) อยูใ่ นแนวเดียวกับ coronal suture
ของกะโหลกศีรษะ
ที่มาภาพจาก student.brighton.ac.uk
21
Body sectioning
• ในการศึกษาจุลกายวิภาคศาสตร์ ด้วยกล้ องจุลทรรศน์ ส่วนต่าง ๆ ของ
ร่างกายจะถูกนามาตัดให้ เป็ นชิ ้นบางหรื อหน้ าตัด (Section) ซึง่ มี 3
แบบ คือ หน้ าตัดตามขวาง (Transverse or Cross section)
หน้ าตัดเฉียง (Oblique section) และหน้ าตัดตามยาว
(Longitudinal section)
22
คาศัพท์ต่างๆ (terms)
1)Terms of Relationship คือ คาศัพท์ตา่ งๆ ที่บอกตาแหน่ง
ของโครงสร้ างหนึง่ สัมพันธ์กบั โครงสร้ างอื่น ๆ หรื อกับร่างกายทังหมด
้
เมื่ออยูใ่ น anatomical position คาศัพท์ที่เป็ นส่วนของ
คาประกอบซึง่ อยูใ่ นคาอื่น ๆ ในวิชากายวิภาคศาสตร์ เช่น
• Anterior or Ventral or front หมายถึง คาประกอบที่
เกี่ยวข้ องกับ ด้ านหน้ า หรื อใกล้ ไปทางด้ านหน้ าของร่างกาย
– Ventral มีความหมายเหมือน anterior และมักใช้ ในการอธิบาย
embryos เพราะไม่ สามารถวางอยู่ใน anatomical position
ได้
23
คาศัพท์ (ต่อ)
• Posterior (dorsal / behind) Posterior or Dorsal
หมายถึง คาประกอบที่เกี่ยวข้ องกับ ด้ านหลัง หรื อ ใกล้ ไปทางด้ านหลัง
ของร่างกาย Dorsal ใช้ แทน posterior ใน embryos และ
ระบบประสาท
• Superior (cephalic / cephalad / cranial /
above) หมายถึง ใกล้ ไปทางศีรษะหรือส่ วนบนของร่ างกาย
- Cranial / Cephalic ใช้ แทน superior ใน
การศึกษา embryos และระบบประสาท
24
คาศัพท์ (ต่อ)
• Inferior (caudal / caudad / below) หมายถึง
ใกล้ ไปทางเท้ าหรือปลายล่ างของร่ างกาย
• - Caudal มาจากภาษาลาตินมีความหมายว่ า tail ใช้
ในการอธิบาย embryos และระบบประสาท ใช้ กล่ าวถึง
structure ทีใ่ กล้ ไปทางหางหรือ inferior end
25
คาศัพท์ (ต่อ)
• Medial หมายถึง ใกล้ ไปทาง median plane ตัวอย่ างเช่ น
หัวแม่ เท้ าอยู่ medial ต่ อนิ้วก้ อยของเท้ า
• Lateral หมายถึง ไกลออกไปจาก median plane
ตัวอย่ างเช่ น หัวแม่ มืออยู่ lateral ต่ อนิ้วก้ อยของมือ
• Intermediate หมายถึง อยู่ระหว่ าง medial กับ lateral
26
2) Terms of Comparison
คือ คาศัพท์ตา่ ง ๆ ที่ใช้ เปรี ยบเทียบตาแหน่งที่สมั พันธ์ซงึ่ กันและกัน
ของ structures 2 อย่าง ได้ แก่
• Proximal หมายถึง ใกล้ ไปทางส่ วนทีต่ ดิ กับลาตัว
(attach end) หรือ point of origin ของ
vessel, nerve, limb หรือ organ
• Distal หมายถึง ไกลออกไปจากส่ วนทีต่ ดิ กับลาตัว หรือ
point of origin ของ vessel, nerve, limb หรือ
organ
27
2) Terms of Comparison (ต่ อ)
- ที่แขนและขา, proximal มีความหมายเหมือน superior
และ distal มีความหมายเหมือน inferior
- เมื่อกล่าวถึง muscles ของ แขนและขา, proximal
attachment หมายถึง origin ส่ วน distal
attachment หมายถึง insertion
28
2) Terms of Comparison (ต่ อ)
• Superficial หมายถึง ใกล้ พื้นผิวหนัง (skin surface) ของร่ างกาย
• Deep หมายถึง ลึกเข้ าไปจากพื้นผิวหนัง (skin surface) ของร่ างกาย
• Internal (interior / inside / inner) หมายถึง ใกล้ ศูนย์ กลางของ
organ หรื อ cavity
• External (exterior / outside / outer) หมายถึง ไกลออกไปจาก
ศูนย์ กลางของ organ หรื อ cavity
• Middle หมายถึง อยู่ระหว่ าง anterior กับ posterior, superior กับ
inferior, external กับ internal
• Ipsilateral หมายถึง อยู่ข้างเดียวกันของร่ างกาย
• Contralateral หมายถึง อยู่คนละข้ างของร่ างกาย
29
ทบทวนคาศัพท์จากภาพ
30
ทวนคาศัพท์ (ต่อ)
•
•
•
•
•
•
•
•
Superior or Cranial หมายถึง คาประกอบที่เกี่ยวข้ องกับ ด้ านบน
Inferior or Caudal หมายถึง คาประกอบที่เกี่ยวข้ องกับ ด้ านล่าง
Ventral หมายถึง คาประกอบที่เกี่ยวข้ องกับ ด้ านท้ อง
Dorsal หมายถึง คาประกอบที่เกี่ยวข้ องกับ ด้ านหลัง
Proximal หมายถึง คาประกอบที่เกี่ยวข้ องกับ ด้ านใกล้ ตวั
Distal หมายถึง คาประกอบที่เกี่ยวข้ องกับ ด้ านไกลออกจากลาตัว
Median หมายถึง คาประกอบที่เกี่ยวข้ องกับ กึ่งกลางลาตัว
Lateral หมายถึง คาประกอบที่เกี่ยวข้ องกับ ไกลจากกึ่งกลางลาตัว
31
ทวนคาศัพท์ (ต่อ)
32
ช่ องว่ ำงในร่ ำงกำย (Body cavity)
ช่องว่าง หรื อโพรงในร่างกาย (Body of cavity) ประกอบด้ วย
ช่องว่างด้ านหน้ าและ ช่องว่างด้ านหลัง
• ช่องว่างด้ านหน้ า (Ventral cavity) หมายถึง ช่องว่างที่ไม่มีกระดูก
ล้ อมรอบ ประกอบด้ วย ช่องอก ช่องท้ อง และช่องอุ้งเชิงกราน
33
ช่ องว่ ำงในร่ ำงกำย (Body cavity)
• ช่องอก (Thoracic cavity) มีปอด (Lung) หัวใจ (Heart) หลอด
อาหาร (Esophagus) หลอดลม (Trachea) เส้ นเลือดแดงใหญ่
(Aorta) บรรจุอยู่
• ช่องท้ อง (Abdomen cavity) มีกระเพาะอาหาร (Stomach)
ลาไส้ เล็ก (Small intestine) ลาไส้ ใหญ่ (Large intestine) ตับ
(Liver) ถุงน ้าดี (Gall bladder) เป็ นต้ น
• ช่องเชิงกราน (Pelvic cavity) ประกอบด้ วย กระเพาะปั สสาวะ
(Bladder) มดลูก (Uterus) ปี กมดลูก (Follopian tube) ต่อม
ลูกหมาก (Prostate gland) อวัยวะสืบพันธุ์ของเพศ ชายและเพศหญิง
(Male and female reproductive organs)
34
ช่ องว่ ำงในร่ ำงกำย (Body cavity)
• ช่องว่างด้ านหลัง (Dorsal cavity) หมายถึง ช่องว่างที่มีกระดูก
ล้ อมรอบ ประกอบด้ วยช่องกะโหลก (Cranial cavity) ภายในมีสมอง
(Brain) บรรจุอยู่
• ช่องไขสันหลัง (Spinal cavity) มีไขสันหลัง (Spinal cord) และน ้า
ไขสันหลัง (Cerebro-Spino-Fluid) หรื อเรี ยกย่อๆ ว่า C.S.F
• ช่องเบ้ าตา (Orbital cavity) มีลกู ตา ม่านตา เลนส์แก้ วตา ประสาทตา
บรรจุอยู่
• ช่องจมูก (Nasal cavity) ภายในมีขนจมูก เซลล์รับกลิน่ อยูภ่ ายใน
• ช่องปาก (Oral cavity) ประกอบด้ วย ลิ ้น ฟั น เหงือก กระพุ้งแก้ ม ต่อม
น ้าลาย
35
36
แหล่งข้อมูลอ้างอิง
• เอกสารประกอบการสอน กายวิภาคศาสตร์ 1 คณะทันตแพทย์ศาสตร์
มหาวิทยาลัยมหิดล
• เอกสารประกอบการสอน กายวิภาคศาสตร์ และสรี รวิทยา 1 โดย ผศ.นภาภรณ์
สันพนวัฒน์ คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี
• เอกสารประกอบการสอนวิชา กายวิภาคและสรี รวิทยา. หน่ วยที่ 1. จาก
เว็บไซต์ science.srru.ac.th
• ภาพต่ างๆจากอินเตอร์ เน็ต แหล่ งข้ อมูลอ้ างอิงตามภาพ
37
END?
38