30 นาทีขึ้นไป

Download Report

Transcript 30 นาทีขึ้นไป

DTCM 441 : Epidemiology
CROSS SECTIONAL STUDY
about Mobile Phone; Gr.A1
Set up research question
เรื่อง : การใช้ มือถือก่อนนอนส่งผลต่อจานวนชัว่ โมงการนอน
หรื อไม่
จุดประสงค์ : เพื่อศึกษาว่าการใช้ มือถือก่อนนอนกับจานวน
ชัว่ โมงการนอนมีความสัมพันธ์กนั หรื อไม่
Write step how to conduct your survey
• Target Population : นักศึกษาทันตแพทย์ มหาวิทยาลัยมหิดล ชัน้
ปี ที่ 4
• Sample :
• Inclusion criteria
– * นักศึกษาทันตแพทย์ มหาวิทยาลัยมหิดล ชันปี
้ ที่ 4 ที่ลงทะเบียนเรี ยนวิชา
Epidermiology ( DTCM441 )
– * นักศึกษาทันตแพทย์ มหาวิทยาลัยมหิดล ชันปี
้ ที่ 4 ที่สามารถอ่านและเข้ าใจ
ภาษาไทยได้
– * นักศึกษาทันตแพทย์ มหาวิทยาลัยมหิดล ชันปี
้ ที่ 4 ที่ใช้ งานโทรศัพท์มือถือ
Write step how to conduct your survey
• Exclusion criteria
– * นักศึกษาทันตแพทย์ มหาวิทยาลัยมหิดล ชันปี
้ ที่ 4 ที่ไม่ให้ ความร่วมมือใน
การตอบแบบสอบถาม
– * นักศึกษาทันตแพทย์ มหาวิทยาลัยมหิดล ชันปี
้ ที่ 4 ที่ไม่สามารถตอบ
แบบสอบถามได้ ภายในเวลาที่กาหนด
– * นักศึกษาทันตแพทย์ มหาวิทยาลัยมหิดล ชันปี
้ ที่ 4 ที่ไม่สามารถเข้ าถึงการ
ประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับการตอบแบบสอบถามนี ้
Write step how to conduct your survey
Review of References
Write step how to conduct your survey
Exposure : การใช้ มือถือในการทากิจกรรมใดๆก็ตาม ในช่วงเวลาที่หมดกิจวัตร
ประจาวัน และเตรี ยมตัวเข้ านอน เป็ นเวลารวมตังแต่
้ 30 นาทีขนึ ้ ไป
ในช่วงกลางปี 2011 มีผลสรุปจากการประชุมของกลุม่ นักวิทยาศาสตร์ ขององค์การอนามัยโลก World
Health Organization (WHO) ซึง่ มีสาระสาคัญๆ ดังนี ้
1. การประชุมได้ พิจารณาผลงานวิจยั นับร้ อยชิ ้นจากอดีตจนถึงปั จจุบนั
2. ผลงานวิจยั ทังหมดไม่
้
เพียงพอหรื อไม่สามารถบอกได้ ว่าการใช้ โทรศัพท์มือถือในกรณีปกติทวั่ ไปทาให้ เพิ่มโอกาส
การเป็ นเนื ้องอกสมอง
3. งานวิจัยที่บ่งบอกว่ าการใช้ โทรศัพท์ มือถือเยอะเกินไปเป็ นเวลานาน (มากกว่ า 30 นาทีต่อ
วัน เป็ นเวลากว่ า 10 ปี ) เพิ่มโอกาสการเป็ นเนือ้ งอกสมอง 40% มากกว่ าผู้ท่ ไี ม่ ได้ ใช้
โทรศัพท์ มือถือ (ทุกคนมีโอกาสเป็ นเนือ้ งอกสมอง แต่ ถ้าคุณใช้ มือถือมากเกินไป โอกาสที่คุณ
จะเป็ นเนือ้ งอกมีมากขึน้ ) อย่ างไรก็ตามนี่เป็ นงานวิจัยเพียง 1 ชิน้ ที่จะต้ องรองานวิจัยจากกลุ่ม
อื่นยืนยันต่ อไป
4. ที่ประชุมจัดให้ คลื่นไมโครเวฟจากโทรศัพท์มือถือเป็ นปั จจัยที่อยู่ในกลุม่ 2B คือหมายถึงกลุม่ ที่อาจจะเพิ่มโอกาส
การเป็ นเนื ้องอกสมอง (possibly carcinogenic to humans) ซึง่ เป็ นกลุม่ เดียวกับเครื่ องสาอางบางชนิด
http://www.thaihealth.or.th/healthcontent/article/23939
Write step how to conduct your survey
Outcome : จานวนชัว่ โมงการนอนไม่เพียงพอ จากการสารวจของสถาบัน National Sleep
Foundation ประเทศสหรัฐอเมริกาพบว่าความต้ องการในการนอนหลับขึ ้นอยู่กบั ช่วงอายุหรื อวัย ซึ่งสามารถ
สรุปได้ ตามตารางดังนี ้
วัย
ความต้ องการในการนอนหลับ
แรกเกิด – 2 เดือน
12 – 18
ชัว่ โมง
3 – 11 เดือน
14 - 15
ชัว่ โมง
1 – 3 ปี
12 - 14
ชัว่ โมง
3 – 5 ปี
11 – 13
ชัว่ โมง
5 – 10 ปี
10 – 11
ชัว่ โมง
10 – 17 ปี
8.5 – 9.25 ชัว่ โมง
ผู้ใหญ่
7–9
ชัว่ โมง
http://biology.ipst.ac.th/index.php/aticle-2553/283-knowledge-about-sleep.html
Write step how to conduct your survey
ดังนันจึ
้ งได้ คา่ เวลาอ้ างอิงถึงการใช้ โทรศัพท์มือถือ คือ 30 นาที
และได้ คา่ อ้ างอิงถึงเวลาในการนอนหลับ คือ 7 ชัว่ โมง
แล้วจึงนำไปตัง้ คำถำมเพือ่ สำรวจต่อไป
Construct your instrument
• Questionnaire ถูกจัดทาเป็ น spread sheet และแจกจ่าย
ทางinternet ผ่านช่องทางที่มีเฉพาะกลุม่ ตัวอย่างสามารถเข้ าถึงได้
คือ Facebook
รหัสประจาตัว
5204001
…
…
5204123
ท่ านใช้ มือถือในช่ วงก่ อนนอน
หรื อไม่ (ใช้ /ไม่ ใช้ )
เวลาเฉลี่ยในการใช้ มือถือก่ อน
นอน (นาที)
จานวนชั่วโมงเฉลี่ยในการนอนแต่
ละวัน(ตอนกลางคืน)(นาที)
Collect data
• เมื่อถึงกาหนดเวลา จึงทาการรวบรวมข้ อมูลที่ได้
• นาไปวิเคราะห์ผลในขันต่
้ อไป โดย
– ตัดเกณฑ์เวลาการใช้ โทรศัพท์มือถือก่อนนอนที่ 30 นาที
– ตัดเกณฑ์เวลาการในการนอนที่ 7 ชัว่ โมง
Analyses & Results
การนอนน้ อยกว่ า 7 ชั่วโมง
ใช้ โทรศัพท์มือถือ
ก่อนนอนตั ้งแต่ 30
นาที ขึ ้นไป
ใช่
ไม่ใช่
รวม
ใช่
30
10
40
ไม่ใช่
13
10
23
รวม
43
20
63
Prevalence ของผู้ที่นอนน้ อยกว่า 7 ชัว่ โมง จากตัวอย่างทั ้งหมด
คือ 43/63 = 0.6825
Prevalence ของผู้ที่นอนน้ อยกว่า 7 ชัว่ โมง และใช้ มือถือก่อนนอนตั ้งแต่30นาที ขึ ้นไป(P1)
คือ 30/40 = 0.75
Prevalence ของผู้ที่นอนน้ อยกว่า 7 ชัว่ โมง และไม่ได้ ใช้ มือถือก่อนนอนตั ้งแต่30นาที ขึ ้นไป(P0)
คือ 13/23 = 0.5652
Analyses & Results
Prevalence ratio= P1/P0 = (30/40)/(13/23) = 1.3269
“คนที่เล่ นโทรศัพท์ มือถือมากกว่ า30นาทีก่อนนอน
พบว่ ามีความชุกของการพักผ่ อนไม่ เพียงพอ(นอนน้ อยกว่ า7ชั่วโมง)
มากกว่ าคนที่เล่ นโทรศัพท์ มือถือน้ อยกว่ า30นาทีก่อนนอน
1.3 เท่ า”
Discussion
• จากผลการสารวจไม่สามารถระบุสาเหตุของเวลาการนอนที่ลดลงได้ ว่า
มาจากการเล่นโทรศัพท์มือถือจริงหรื อไม่
• ผู้ที่ร่วมตอบคาถามในแบบสอบถามไม่ใช่ประชากรนักศึกษาทันตแพทย์
มหาวิทยาลัยมหิดล ชันปี
้ ที่ 4 ทังหมด
้
จึงอาจไม่สื่อถึงขอมูลประชากรที่
แท้ จริง
• การตัดเกณฑ์เวลาที่ใช้ ในการศึกษานี ้อาจจะไม่สอดคล้ องกับความเป็ น
จริง เนื่องจากเวลาในการใช้ โทรศัพท์มือถือที่นามาใช้ อ้ างอิงถึงการเกิด
เนื ้องอกในสมอง รวมทังเวลาในการนอนที
้
่เหมาะสมของแต่ละบุคคลมี
หลายปั จจัยที่เกี่ยวของ
Members
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
8.
9.
10.
11.
12.
13.
14.
15.
16.
17.
18.
19.
นศ.ทพ.ชิดชญา
นศ.ทพ.วริศา
นศ.ทพ.กุลภัทรา
นศ.ทพ.ฐิ ตพิ งศ์
นศ.ทพ.ณัฐธิดา
นศ.ทพ.ธนพัฒน์
นศ.ทพ.ธัชสมร
นศ.ทพ.นิทสั น์
นศ.ทพ.ปุณยวัฒน์
นศ.ทพ.พรลาภ
นศ.ทพ.พร้ อมรบ
นศ.ทพ.พลานุภาพ
นศ.ทพ.พัชรา
นศ.ทพ.พิสทุ ธิ์
นศ.ทพ.มนต์ทิพย์
นศ.ทพ.รังสิมา
นศ.ทพ.วิศรุต
นศ.ทพ.อทิตยิ า
นศ.ทพ.กฤศน์วตั
ซ่อนกลิ่น
อัสภัทรพันธุ์
เหล็กเพ็ชร
ผาสุกใจ
ตังสุ
้ ขสมบูรณ์
สุนาถวนิชย์กลุ
สิทธิประสพผล
ศิริพงษานุวฒ
ั น์
วรพิพฒ
ั น์
เมฆรักษากิจ
นิลกาแหง
พงษ์ ทองคา
อ่าสะอาด
นครน้ อย
มนต์สถาพร
จารี บรู ณภาพ
รตนธงชัย
จินดารุ่งเรื องรัตน์
อินทสุวรรณ
4904131
5104104
5204001
5204003
5204004
5204005
5204006
5204007
5204008
5204009
5204010
5204011
5204012
5204013
5204014
5204015
5204017
5204020
5204022