เป็นการพ่นสารเคมีที่ใช้ความร้อนทำให้สารเคมีฟุ้งกระจายในรูปหมอกควัน

Download Report

Transcript เป็นการพ่นสารเคมีที่ใช้ความร้อนทำให้สารเคมีฟุ้งกระจายในรูปหมอกควัน

เครื่ องพ่นและการพ่นสารเคมีกาจัดยุง
นายอุดมสิน รตนธงชัย
กลุม่ ปฏิบตั ิการควบคุมโรคฯ
สานักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 อุบลราชธานี
ชนิดเครื่ องพ่น
• เครื่ องพ่นอัดลม (Hand compression sprayer)
เป็ นการพ่นแบบมีชนิดฤทธิ์ตกค้ าง(Residual spray)
โดยอัดอากาศโดยใช้ ระบบการสูบลมลงในถังเคมี ทาให้ เกิดแรงดัน
ภายในถังเคมี
• เครื่ องพ่นหมอกควัน(Fogging) เป็ นการพ่นสารเคมีที่ใช้ ความร้ อน
ทาให้ สารเคมีฟ้ งกระจายในรู
ุ
ปหมอกควัน
• เครื่ องพ่นฝอยละเอียด Ultra Low Volume (ULV)
ใช้ แรงลมที่มีความเร็วสูงเป่ าน ้ายาเคมีให้ แตกตัวฟุ้งกระจาย
เปรี ยบเทียบข้ อดีข้อเสียของเครื่ องพ่นหมอกควัน
ข้ อดี
ข้ อเสีย
ตรวจสอบความครอบคลุมใน ค่าใช้ จ่ายในการพ่นสูง
การพ่นได้
ให้ ผลทางจิตวิทยา
ปั ญหาการจราจร
หมอกควันหนา เห็นได้ งา่ ย อาจทาให้ เกิดอุบตั ิเหตุ
มีกลิ่นของสารตัวทาละลาย
เป็ นการพ่ นสารเคมีท่ ใี ช้ ความร้ อนทาให้
สารเคมีฟ้ ุงกระจายในรู ปหมอกควัน ขนาดละออง
นา้ ยา ~ 10 - 30 µm หรื อมากกว่ า
ส่ วนประกอบสำคัญของเครื่องพ่นหมอกควัน
1. ระบบเครื่องสูบ ประกอบด้ วย
กระบอกสูบ และ ก้ านสูบ
2. ระบบไฟ ประกอบด้ วย
คอยล์ สตาร์ ท หัวเทียน ถ่ านไฟฉาย
สายไฟ
3. ระบบนา้ มัน ประกอบด้ วย
คาร์ บูเรเตอร์ ถังนา้ มันเชือ้ เพลิง ท่ อส่ งนา้ มันและตัวกรอง ตัว
ปรับตัง้ นา้ มัน
4. ระบบอากาศ ประกอบด้ วย
ฝาแอร์ อินเทค วาล์ ว(ฝารั งผึง้ ) แผ่ นไดอะแฟรม
5. ระบบส่ งนา้ ยาเคมี ประกอบด้ วย
ถังบรรจุสารเคมี ท่ อส่ งนา้ ยาและตัวกรอง วาล์
เปิ ด-ปิ ดนา้ ยา หัวควบคุมการไหลนา้ ยา หรื อวาล์
ปรั บตัง้ การไหลนา้ ยา หัวหยดนา้ ยา
6. ระบบท่ อส่ งความร้ อน ประกอบด้ วย
ท่ อชัน้ นอก
ท่ อชัน้ ใน ประกอบด้ วย ห้ องเผาไหม้ ท่ อส่ ง
ความร้ อน
กำรเตรียมเครื่องพ่นหมอกควัน
1. การเตรี ยมเครื่ องก่ อนใช้ งาน
1.1 ตรวจสอบความเรียบร้ อยของเครื่องว่ ามีอุปกรณ์ ครบถ้ วน
1.2 เติมนา้ มันเบนซิน 91 ให้ เต็มถัง (ให้ มีช่องว่ างอากาศ 1-2 ซม.)
1.3 เติมนา้ ยาเคมีให้ เต็มถัง (ให้ มีช่องว่ างอากาศ 1-2 ซม.)
1.4 ตรวจดูระบบไฟโดยถอดหัวเทียนมาทดสอบ
1.5 ตรวจดูหวั ควบคุมการไหล หรือวาล์ วปรับการไหลของนา้ ยาว่ า
ถูกต้ องกับการใช้ งานหรือไม่
1.6 ปิ ดฝาถังนา้ มัน และนา้ ยาให้ สนิท
1.7 ปิ ดวาล์ วควบคุมการไหลของนา้ ยาเคมี และวาล์ วนา้ มัน
กำรเตรียมชุมชน
1 ก่ อนการพ่ นเคมี
♡ ประสานงานกับชุมชน
วัตถุประสงค์
♡
ผู้นาชุมชน ชีแ้ จง
ให้ สุขศึกษา ประชาสัมพันธ์ กับประชาชนในชุมชน
แจ้ งแผนการปฏิบัตงิ านและกาหนดนัดหมายกับ
ประชาชน
♡ แนะนาให้ ปิดหน้ าต่ างบ้ าน
♡
2. ระหว่ างการพ่ นเคมี
♡ ปกปิ ดอาหาร
♡ นาเด็ก
บ้ าน
♡
และภาชนะใส่ อาหารให้ มิดชิด
คนชรา คนป่ วย และสัตว์ เลีย้ ง มาพักนอก
ก่ อนพ่ น ให้ ตรวจดูประตู หน้ าต่ าง อีกครัง้
3. หลังการพ่ นเคมี
แนะนาให้ ปิดอบสารเคมีภายในบ้ าน ~ 15-20 นาที
♡ หลังปิ ดอบสารเคมี ให้ เปิ ดประตูหน้ าต่ างรอจนหมอกควัน
หมดจึงเข้ าอาศัยในบ้ าน
♡
* ควรกาจัดลูกนา้ ด้ วยหลังการพ่ นสารเคมี
กำรเตรียมสำรเคมีสำหรับพ่นหมอกควัน
1. เตรียมสารเคมีให้ พอเหมาะกับการใช้ งานแต่ ละ
ครัง้
- ต้ องทราบข้ อมูลจานวนบ้ านที่จะทาการพ่ น
- คานวณปริมาณสารเคมีท่ จี ะใช้ ให้ พอเหมาะ
บ้ านชัน้ เดียว 1 หลัง ใช้ สารเคมี ~ 100-150 CC.
บ้ าน 2 ชัน้
ใช้ สารเคมี ~ 150-200 CC.
ถ้ ำต้ องกำรพ่ นเคมีหมอกควันในหมู่บ้ำน A มีจำนวนบ้ ำน 800 หลังคำ
เรือน ส่ วนใหญ่ เป็ นบ้ ำนชั้นเดียว สำรเคมีที่ใช้ มีอตั รำส่ วนผสม 1 : 99
จะต้ องใช้ สำรเคมีและนำ้ มันโซล่ ำอย่ ำงละเท่ ำใด
ต้ องใช้ สารเคมีท่ ผี สมแล้ ว = 800 x 150 cc = 120,000 cc
สารเคมีท่ ใี ช้
= 1 x 120,000 cc = 1,200 cc
100
นา้ มันโซล่ าที่ใช้ = 120,000 – 1,200 = 118,800 cc.
ถ้ ำต้ องกำรสำรเคมีที่ผสมแล้ ว จำนวน 5 ลิตร
• สารเคมีชนิดหนึง่ มีสตู ร formulation ว่า 0.5 % w/v EC
• มีอตั ราการบ่งใช้ 1 : 49
• จะต้ องผสมสารเคมีชนิดนี ้ อย่างไร
อัตราการบ่ งใช้ 1:49
= สารเคมี 1 ส่ วน ผสมในตัวทาละลาย 49 ส่ วน
รวมทัง้ หมดเป็ น 50 ส่ วน ?
สารเคมี 1 ลิตร ต่ อนา้ มัน 49 ลิตรรวมทัง้ หมดเป็ น 50 ลิตร
50 ลิตร
1 ลิตร
ผสมแล้ ว 5 ลิตร ใช้ สารเคมี
1 x 5 = 0.1 ลิตร
50
(0.1 x 1000 cc = 100 cc)
การติดเครื่อง
1 กรณีเครื่องที่ต้องมีแรงดันในถังนา้ มัน สูบอัดลม 3-5 ครัง้
2.เปิ ดวาล์ วนา้ มันตามที่กาหนด
3. สูบอัดลมต่ อเนื่องพร้ อมทัง้ กดปุ่ มควบคุมกระแสไฟ (ถ้ ามี)
4. เมื่อเครื่องยนต์ ทางาน ทาการอุ่นเครื่อง ~ 1-2 นาที
5. การปล่ อยนา้ ยาเคมี โดยยกดันปล่ อยนา้ ยา หรือเปิ ดวาล์ ว
นา้ ยา
. การดับเครื่อง
1. ปิ ดวาล์ วปล่ อยนา้ ยาเคมี และปล่ อยให้ เครื่องทางาน
จนหมอกควันหมด
2. ปิ ดวาล์ วนา้ มัน
3. เปิ ดคลายฝาถังนา้ ยาเคมี และถังนา้ มันเพื่อปล่ อย
แรงดัน
หมายเหตุ : ถ้ าเครื่ องดับขณะนา้ ยาเคมีไหลอยู่ จะเกิดไฟลุก
ไหม้
แก้ ไขโดย ปิ ดวาล์ วนา้ ยาเคมี คลายฝาถังนา้ ยา แล้ วสตาร์ ท
เครื่องใหม่
เทคนิคกำรพ่ นหมอกควันเพือ่ ควบคุมยุง
1. วิธีการพ่ น
- พ่ นในบ้ าน ในเวลาออกหากินของยุง
- ก่ อนพ่ น ต้ องมีการเตรี ยมชุมชนอย่ างดี
- ปิ ดหน้ าต่ าง และประตูทุกบาน ยกเว้ นประตูเข้ า-ออก
- กรณีบ้าน 2 ชัน้ ต้ องพ่ นชัน้ บนก่ อน
- ให้ หวั พ่ นห่ างจากฝาบ้ าน 2 เมตร
- ให้ ท่อพ่ น และตัวเครื่ องเอียงทามุมกับพืน้ 45 องศา
- ส่ ายปลายท่ อพ่ นเป็ นมุม 180 องศา
- เดินถอยหลังพ่ นออกทางประตู
- ปิ ดอบห้ องที่พ่นประมาณ 10-20 นาที
- กรณีพ่นรอบบ้ าน ต้ องยืนเหนือลม
กำรแก้ไขปัญหำเบือ้ งต้ น
1. กรณีเครื่ องไม่ ตดิ
* ตรวจดูระบบไฟ
ถ่ านไฟฉาย
หัวเทียน
คอยล์ สตาร์ ท
สวิทช์ ไฟ
สายไฟ
ล้ างถังนา้ มัน
* ตรวจดูว่านา้ มันขึน้ หรื อไม่
ตรวจดูนมหนู
ปรั บตัง้ นา้ มัน
* ตรวจดูแผ่ นไดอะแฟรมในฝาแอร์
ทาความสะอาด
เปลี่ยนใหม่
มาตรฐานเครื่ องพ่นหมอกควัน
• วัดอุณหภูมิความร้ อนปลายท่อ
• วัดอัตราไหลของน ้ายาเคมี(Flow rate)
• วัดขนาดเม็ดละอองน ้ายา (Droplet size)
กำรเก็บรักษำเครื่องพ่ น
1. หากเป็ นการเก็บหลังการใช้ งานประจาวัน
- เช็ดทาความสะอาดคราบสกปรกตามส่ วนต่ างๆ
ของเครื่ อง
- ตรวจสอบอุปกรณ์ ต่างๆของเครื่ องว่ ามีชารุ ด
หรื อไม่ เพื่อแก้ ไข
- จัดเก็บพร้ อมอุปกรณ์ อ่ ืน เช่ น กรวย ถังผสมนา้ ยา
และอื่นๆ เพื่อพร้ อมใช้ งานในวันต่ อไป
2. หากเป็ นการเก็บระยะยาว
- เช็ดทาความสะอาดเครื่ อง
- ถ่ ายสารเคมี และนา้ มันเชือ้ เพลิงออก
- ล้ างถังนา้ มัน ถังนา้ ยา และท่ อส่ งสารเคมี
- เติมนา้ มันดีเซลลงในถังนา้ ยาเคมี เพื่อป้องกัน
สนิม
- เติมนา้ มันเบนซินลงในถังนา้ มันเพื่อป้องกันสนิม
- เก็บเครื่ องในที่เหมาะสม และปลอดภัย
ตัวอย่ ำง กำรกำหนดปริมำณฉีดพ่นของผู้พ่นให้ สัมพันธ์ กบั
อัตรำกำรไหลของเครื่องพ่นหมอกควัน
อัตรำกำรไหล 20 ลิตร ต่ อชั่วโมง
20,000
200
50
5
มิลลิลติ ร
มิลลิลติ ร
มิลลิลติ ร
มิลลิลติ ร
ต่ อ 3,600 วินำที
ต่ อ 36 วินำที
ต่ อ
9 วินำที
ต่ อ 0.9 วินำที
ปริมำณพ่น 10 ลิตร ต่ อ เฮกตำร์
10,000
200
50
5
มิลลิลติ ร
มิลลิลติ ร
มิลลิลติ ร
มิลลิลติ ร
ต่ อ 10,000
ต่ อ 200
ต่ อ 50
ต่ อ
5
ตำรำงเมตร
ตำรำงเมตร
ตำรำงเมตร
ตำรำงเมตร
กรมวิทยำศำสตร์ กำรแพทย์