การรื้ออะมัลกัม

Download Report

Transcript การรื้ออะมัลกัม

แนวทางปฏิบตั ิ ที่ดีในการใช้อะมัลกัมทางทันตกรรม
หลักการพืน้ ฐานในการจัดการสารอันตราย
origin
path
receiver
วิธีการควบคุมและป้ องกันอันตรายจากสารเคมี
1. การควบคุมและป้ องกันอันตรายโดยทางวิศวกรรม เช่น แยกแหล่งสารพิษ
ออกเปลีย่ นกระบวนการผลิต จัดระบบระบายอากาศ ใช้สารเคมีทอ่ี นั ตรายน้อย
2. การควบคุมและป้ องกันอันตรายโดยทางบริหารจัดการ จัดระบบงานเพือ่
ลดระยะเวลาการสัมผัส การใช้ PPE การบารุงรักษา อุปกรณ์การผลิต จัด
ระเบียบเรียบร้อยในบริเวณทางาน
3. การควบคุมและป้ องกันอันตรายโดยทางการแพทย์ ตรวจร่างกายก่อนจ้าง
งาน ตรวจร่างกายระหว่างทางาน
แนวทางจัดการปรอทในคลินิกทันตกรรม
•
ฝึกอบรมผู้ปฏิบัติงาน (Staff training)
•
สร้างสุขอนามัยในการใช้อะมัลกัม (Personal hygiene)
•
สร้างสภาพแวดล้อมในการทางานที่เหมาะสม (Working environment)
•
สร้างขบวนการทางานที่เกี่ยวข้องให้เป็นระบบ (Operating procedures involving
the use of mercury)
•
ให้ความสาคัญกับการจัดเก็บ (Storage of metallic mercury contaminated
waste and materials)
•
ทิ้งเศษอะมัลกัมอย่างถูกวิธี (Disposal of mercury contaminated waste and
materials)
•
จัดการกับหยดปรอทที่หกหล่นอย่างถูกวิธี (Procedure to deal with mercury)
•
ตรวจวัดระดับปรอททั้งในอากาศและร่างกาย (Routine monitoring for mercury
exposure)
BDA,1993
โอกาสเสี่ยงที่จะได้รบั ไอปรอทจากการทางาน
•
•
•
•
•
•
การจัดเก็บ (storage)
การเตรียมอะมัลกัมในการบูรณะฟนั
การกรอรือ้ อะมัลกัม
การหกหล่นของอะมัลกัมและปรอทในสถานทีท่ างาน
การกาจัดทิง้
การตรวจวัดหาระดับปรอท
การจัดเก็บ
Precapsulated amalgam
การจัดเก็บ (storage)
อุปกรณ์พร้อมใช้ในตู้ครอบ
• Amalgamator
• อะมัลกัมชนิดแคปซูล
• ขวดใส่ปรอท อะมัลกัมที่
เหลือใช้แช่ในน้ายา fixer
• ขวดใส่แคปซูลและผ้า
ห่ออะมัลกัมใช้แล้ว
การเตรียมอะมัลกัมในการบูรณะฟัน
ั ่ ลกัม (Trituration)
การปนอะมั
DON’T
การรือ้ อะมัลกัม
การคัดกรองผูป้ ่ วยกลุ่มเสี่ยง
การกรอรือ้ อย่างปลอดภัย
สตรีตงั ้ ครรภ์
ผูป้ ว่ ยไตวาย
ผูป้ ว่ ยเด็ก
•การขจัดอะมัลกัมทิ้ง
การจัดเก็บเศษอะมัลกัมก่อนการกาจัดทิง้
ค่ามาตรฐาน คนทัว่ ไป น้อยกว่า 2 ไมโครกรัม/ลิตร
บ ุคลากรผูส้ มั ผัส น้อยกว่า 4 ไมโครกรัม/ลิตร
ผลการพัฒนา
ค่ามาตรฐาน คนทัว่ ไป น้อยกว่า 2 ไมโครกรัม/ลิตร
บ ุคลากรผูส้ มั ผัส น้อยกว่า 4 ไมโครกรัม/ลิตร
ผลการพัฒนา
ค่ามาตรฐาน คนทัว่ ไป น้อยกว่า 2 ไมโครกรัม/ลิตร
บ ุคลากรผูส้ มั ผัส น้อยกว่า 4 ไมโครกรัม/ลิตร
การขจัดปรอท
จากอุบตั ิ เหตุปรอทหกหล่น
อุปกรณ์และเครื่องมือทา
ความสะอาดปรอท
*
เปิดระบายอากาศในห้องทางาน โดย
การเปิดพัดลมช่วยและเปิดประตู
หน้ าต่างและช่องระบายอากาศ
*
บุคลากรที่ไม่เกี่ยวข้องออกนอก
บริเวณ และไม่อนุญาตให้เดินผ่านที่ที่มี
ปรอทปนเปื้ อนมีป้ายบอก
• ใช้กระดาษแข็งผิวเรียบกวาดรวบกวาดเข้าหา
จุดศูนย์กลาง ให้หยดปรอทรวมตัวกันและจากัด
บริเวณหยดปรอท เพื่อไม่ให้ปรอทกระจายบนพืน้
จากวงนอกสุด รวมตัวเป็ นจุดเดียว
• เครื่องปรับอากาศทาความสะอาดอย่างน้ อยเดือนละ 1 ครัง้
• เปิดหน้ าต่าง ประตูห้องทางานระบายอากาศ
เช็ดทาความสะอาดเครือ่ งปัน่ อะมัลกัมทุกวัน
ั ่ ลกัมอย่างน้อย 6 เดือนครัง้
• ถอดเครือ่ งปนอะมั
ตัวทดสอบว่ามีปรอทออกมาหรือไม่?
ตรวจสอบแคปซูลที่ในมาใช้ใหม่ว่ามีรอยรัว่ แตกร้าวหรือไม่
ถ้ามีให้เปลี่ยนใช้อนั ใหม่
แคปซูลที่ใช้แล้วควรทิ้งในถังขยะอันตราย