กฎหมายและสิทธิประโยชน์ทางภาษีในการจ้างงานคนพิการ โดย นายปราโมท

Download Report

Transcript กฎหมายและสิทธิประโยชน์ทางภาษีในการจ้างงานคนพิการ โดย นายปราโมท

กฎหมายและสิ ทธิประโยชน์ ทางภาษีในการ
จ้ างงานคนพิการ
โดย
นายปราโมท ตุงคนาค นิตกิ รชานาญการ
นายศุภวัฒน์ ทาหล้ า นิตกิ รชานาญการ
Revenue Department
กฎหมายทีเ่ กีย่ วข้ อง
ประมวลรัษฎากร
พ.ร.บ.ส่ งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวติ คนพิการ พ.ศ.
๒๕๕๐
พ.ร.ฎ.ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่ าด้ วยการ
ยกเว้ นรัษฎากร (ฉบับที่ ๔๙๙) พ.ศ.๒๕๕๓
พ.ร.ฎ.ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่ าด้ วยการ
ยกเว้ นรัษฎากร (ฉบับที่ ๕๑๙) พ.ศ.๒๕๕๔
Revenue Department
นับแต่ปี ๒๕๕๐ เป็ นต้นมา ได้มีการตรา พ.ร.บ.ส่ งเสริ มและพัฒนา
คุณภาพชีวิตคนพิการ พ.ศ.๒๕๕๐ ยกเลิก พ.ร.บ.ฟื้ นฟูสมรรถภาพคน
พิการ พ.ศ.๒๕๓๔ เป็ นผลให้มีการปรับปรุ งคุณภาพชีวิตคนพิการ
เพิ่มขึ้นอย่างมากมาย รวมทั้งในทางภาษี จึงขอสรุ ปเพื่อให้เกิดความ
เข้าใจ ดังนี้
# มุ่งส่ งเสริ มให้นายจ้างว่าจ้างคนพิการเข้าทางาน
๑.สิ ทธิประโยชน์ช้ นั แรก ค่าจ้างคนพิการเข้าทางาน นายจ้างหรื อเจ้าของ
สถานประกอบการซึ่งรับคนพิการเข้าทางาน มีสิทธิได้รับยกเว้นภาษีเงิน
ได้ สาหรับเงินได้เป็ นจานวนร้อยละหนึ่งร้อยของรายจ่ายที่ได้จ่ายในการ
จ้างคนพิการดังกล่าว ตามมาตรา ๓ ของ พรฎ.ฉบับที่ ๔๙๙ พ.ศ.๒๕๕๓
Revenue Department
แต่เดิม ค่าใช้จ่ายที่เป็ นเงินเดือนหรื อค่าจ้างคนพิการ นายจ้างสามารถนาค่าจ้างนั้นมา
หักเป็ นค่าใช้จ่ายได้เท่าที่จ่ายจริ งเท่านั้น เช่น ค่าจ้างคนพิการปี ละ ๑๒๐,๐๐๐ บาท ก็
นามาหักเป็ นค่าใช้จ่ายของกิจการได้ ๑๒๐,๐๐๐บาท ไม่ต่างจากลูกจ้างทัว่ ไปแต่อย่าง
ใด
แต่ตามมาตรา ๓ ของ พรฎ. ฉบับที่ ๔๙๙ พ.ศ.๒๕๕๓ กาหนดให้นายจ้างหรื อเจ้าของ
สถานประกอบการซึ่งรับคนพิการที่มีบตั รประจาตัวคนพิการ ตามกฎหมายว่าด้วยการ
ส่ งเสริ มและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ เข้าทางานมีสิทธิได้รับยกเว้นภาษีเงินได้
เป็ นจานวนร้อยละหนึ่งร้อยของรายจ่ายที่ได้จ่ายเป็ นค่าใช้จ่ายในการจ้างคนพิการ
ดังกล่าว
Revenue Department
นัน่ หมายความว่า นายจ้างหรื อเจ้าของสถานประกอบการ ที่เป็ นผูม้ ีหน้าที่เสี ยภาษี
เงินได้บุคคลธรรมดา หรื อภาษีเงินได้นิติบุคคลสามารถนาค่าจ้างคนพิการมาหัก
เป็ นค่าใช้จ่ายหรื อรายจ่ายในการคานวณเงินได้สุทธิเพื่อเสี ยภาษีเงินได้บุคคล
ธรรมดา หรื อกาไรสุ ทธิเพื่อเสี ยภาษีเงินได้นิติบุคคล แล้วแต่กรณี ได้ถึง ๒ เท่าของ
รายจ่ายที่จ่ายเป็ นค่าจ้างคนพิการ
ในกรณี น้ ีค่าจ้างที่จ่ายจริ งคือ ๑๒๐,๐๐๐ บาท แต่สามารถถือเป็ นรายจ่ายได้ถึง
๒๔๐,๐๐๐ บาท ทั้งๆ ที่จ่ายค่าจ้างคนพิการเพียง ๑๒๐,๐๐๐ บาทเท่านั้น
ทั้งนี้ ต้องไม่ลืมว่านายจ้างหรื อเจ้าของสถานประกอบการจะได้รับสิ ทธิประโยชน์
ทางภาษีเฉพาะการจ้างคนพิการที่มีบตั รประจาตัวคนพิการ ตามกฎหมายว่าด้วยการ
ส่ งเสริ มและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ เข้าทางานเท่านั้น
Revenue Department
๒.สิ ทธิประโยชน์ช้ นั ที่สอง นายจ้างหรื อเจ้าของสถานประกอบการ
ที่เป็ นผูม้ ีหน้าที่เสี ยภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา หรื อภาษีเงินได้นิติบุคคล
ซึ่งรับคนพิการฯ เข้าทางานเป็ นจานวนเกินกว่าร้อยละ ๖๐ ของลูกจ้างใน
สถานประกอบการนั้น โดยมีระยะเวลาจ้างเกินกว่า ๑๘๐ วันในปี ภาษี
หรื อรอบระยะเวลาบัญชีที่มีเงินได้ มีสิทธิได้รับยกเว้นภาษีเงินได้
สาหรับรายจ่ายทางภาษีเพิ่มขึ้นอีก ๑ เท่าของรายจ่ายที่ได้จ่ายเป็ นค่า
ใช้จ่ายในการจ้างคนพิการดังกล่าว เมื่อรวมกับสิ ทธิประโยชน์ช้ นั แรก
ก็จะรวมเป็ น ๓ เท่าของค่าจ้าง ทั้งนี้ตาม มาตรา ๔ ของพรฎ.ฉบับที่
๕๑๙ พ.ศ.๒๕๕๔
Revenue Department
นัน่ หมายความว่านายจ้างหรื อเจ้าของสถานประกอบการที่เป็ นผู ้
มีหน้าที่เสี ยภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา หรื อภาษีเงินได้นิติบุคคล
ที่จา้ งแรงงานคนพิการ เกินกว่าร้อยละ ๖๐ มีสิทธินาค่าจ้างคน
พิการมาหักเป็ นรายจ่ายได้ ๓ เท่าของรายจ่ายที่เป็ นค่าใช้จ่ายจริ ง
กรณี ที่จา้ งคนพิการ ๑๐๐,๐๐๐ บาท/คน/ปี ก็มีสิทธิหกั ค่าใช้จ่าย
ได้ถึง ๓๐๐,๐๐๐ บาท/คน/ปี หากได้จา้ งคนพิการเป็ นจานวนมาก
ย่อมน่าเชื่อได้วา่ นายจ้างหรื อเจ้าของสถานประกอบการนั้นจะไม่มี
กาไรทางภาษีที่ตอ้ งไปเสี ยภาษีแต่อย่างใด
Revenue Department
หน่ วย: ล้ านบาท
# กรณี เจ้าของอาคาร สถานที่ ยานพาหนะ บริ การขนส่ ง หรื อ
ผูใ้ ห้บริ การสาธารณะอื่น
ไม่วา่ จะเป็ นบุคคล บริ ษทั หรื อห้างหุน้ ส่ วนนิติบุคคล ซึ่งได้จดั อุปกรณ์
สิ่ งอานวยความสะดวก หรื อบริ การในอาคาร สถานที่ ยานพาหนะ
บริ การขนส่ ง หรื อบริ การสาธารณะอื่น ให้แก่คนพิการในการเข้าถึง
และใช้ประโยชน์ได้ ตามกฎหมายว่าด้วยการส่ งเสริ มและพัฒนา
คุณภาพชีวิตคนพิการ ก็ให้สามารถนาค่าใช้จ่ายในการจัดให้มีอุปกรณ์
สิ่ งอานวยความสะดวก หรื อบริ การ ดังกล่าวมาหักเป็ นรายจ่ายในการ
คานวณเงินได้สุทธิหรื อกาไรสุ ทธิเพื่อเสี ยภาษีเงินได้ เพิม่ ขึ้นอีก
Revenue Department
๑ เท่าของรายจ่ายที่ได้จ่ายเป็ นค่าใช้จ่ายดังกล่าว ทั้งนี้ ตามมาตรา ๔ ของ
พ.ร.ฎ. ฉบับที่ ๔๙๙ พ.ศ.๒๕๕๓
ตัวอย่าง บริ ษทั ใจดี มีรายได้จากการขายสิ นค้า เป็ นจานวน ๒๐๐ ล้าน
บาท มีลูกจ้าง ๑,๐๐๐ คน ค่าแรงหัวเฉลี่ย ๑ แสนบาท/คน/ปี มีค่าใช้จ่าย
อื่นๆ รวมกันเป็ นเงิน ๙๐ ล้านบาท บริ ษทั ฯ เสี ยภาษีในอัตราร้อยละ
๓๐ บริ ษทั ฯ จะได้รับสิ ทธิประโยชน์ในทางภาษีเท่าใด
กรณี ที่ ๑ บริ ษทั ฯ ไม่จา้ งงานคนพิการ
ภาษี = (เงินได้ - ค่าใช้จ่าย) * (อัตราภาษี/ ๑๐๐)
Revenue Department
จากตัวอย่างข้างต้น
บริ ษทั ฯ มีเงินได้ ๒๐๐ ล.- ค่าแรง ๑๐๐ ล. - ค่าใช้จ่ายอื่นๆ ๙๐ ล.
= มีกาไร ๑๐ ล.
เสี ยภาษี = ๑๐ ล. * ๓๐/๑๐๐ = ๓ ล้านบาท
Revenue Department
กรณี ที่ ๒. หากบริ ษทั ฯ จ้างงานคนพิการ
บริ ษทั ฯ จ้างคนพิการเข้าทางาน ๑๐ คน แทนการจ้างคนทัว่ ไป บริ ษทั ฯ
ยังมีคนงาน ๑,๐๐๐ คน แทนที่จะถือเป็ นรายจ่าย ๑๐๐ ล้านบาท ก็สามารถ
ถือเป็ นรายจ่ายได้ถึง ๑๐๑ ล้านบาท (คนพิการ ๑๐ คน ถือเป็ นรายจ่าย
เพิ่มได้อีกคนละ ๑ แสนบาท)
ในทางภาษีทาให้บริ ษทั ฯ มีกาไร = ๒๐๐ ล. - ๑๐๑ ล. - ๙๐ ล.
= ๙ ล้านบาท
คิดเป็ นภาษีที่ตอ้ งเสี ย = ๙ ล. * ๓๐/๑๐๐ = ๒,๗๐๐,๐๐๐ บาท
Revenue Department
กรณี ที่ ๓. กรณี ที่บริ ษทั ฯ ไม่ตอ้ งเสี ยภาษีเลย
หากบริ ษทั ใจดี จ้างคนพิการเข้าทางานแทนคนทัว่ ไปเพียง ๑๐๐ คน ไม่
ต้องถึงร้อยละ ๖๐ ของลูกจ้างทั้งหมดบริ ษทั ใจดี ก็ไม่ตอ้ งเสี ยภาษีแต่
อย่างใด เนื่องจากการที่บริ ษทั ฯ สามารถนาเงินเดือนคนพิการมา
เป็ นรายจ่าย ๒ เท่า ทาให้บริ ษทั ฯไม่มีกาไรทางภาษีมาคานวณภาษี
Revenue Department
# กรณี บุคคลธรรมดา หรื อ บริ ษทั ห้างหุน
้ ส่ วนนิติ
บุคคลที่ได้จ่ายเป็ นค่าใช้จ่ายในการจัดให้คนพิการได้รับ
สิ ทธิ เข้าถึงและใช้ประโยชน์ได้จากสิ่ งอานวยความ
สะดวกอันเป็ นสาธารณะ ตลอดจนสวัสดิการและความ
ช่วยเหลืออื่นจากรัฐ ตามกฎหมายว่าด้วยส่ งเสริ มและ
พัฒนาคุณภาพชีวติ คนพิการ กาหนดไว้ในมาตรา ๓ ของ
พ.ร.ฎ. ฉบับที่ ๕๑๙ พ.ศ.๒๕๕๔ ดังนี้
๑. สาหรับบุคคลธรรมดา มีสิทธินาค่าใช้จ่ายในการจัด
ให้คนพิการได้รับสิ ทธิประโยชน์ ไปหักออกจากเงินได้พึง
ประเมินหลังหักค่าใช้จ่าย และหักลดหย่อนตามมาตรา ๔๗
Revenue Department
• (๒) (๓) (๔) (๕) หรื อ (๖) แห่งประมวลรัษฎากรเพิ่มขึ้นอีก ๑ เท่า
ของค่าใช้จ่ายดังกล่าว แต่เมื่อรวมกับเงินได้ที่ได้รับยกเว้นสาหรับ
การจ่ายเป็ นค่าใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนการศึกษาสาหรับโครงการที่
กระทรวงศึกษาธิการ ให้ความเห็นชอบแล้ว ต้องไม่เกินร้อยละ ๑๐
ของเงินได้พึงประเมินหลังจากหักค่าใช้จ่ายและหักลดหย่อน
ดังกล่าว
๒. สาหรับบริ ษทั หรื อห้างหุน้ ส่ วนนิติบุคคล มีสิทธินาค่าใช้จ่าย
ในการจัดให้คนพิการได้รับสิ ทธิประโยชน์ ไปหักเป็ นค่าใช้จ่าย
เพิม่ ขึ้นอีก ๑ เท่าของรายจ่ายที่จ่ายเป็ นค่าใช้จ่ายในการ
Revenue Department
• จัดให้คนพิการได้รับสิ ทธิประโยชน์ แต่เมื่อรวมกับรายจ่ายที่จ่ายเป็ น
ค่าใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนการศึกษาสาหรับโครงการที่
กระทรวงศึกษาธิการให้ความเห็นชอบ และรายจ่ายที่จ่ายเป็ นค่าใช้จ่าย
ในการจัดสร้างและการบารุ งรักษาสนามเด็กเล่น สวนสาธารณะ หรื อ
สนามกีฬาของเอกชนที่เปิ ดให้ประชาชนใช้เป็ นการทัว่ ไปโดยไม่เก็บ
ค่าบริ การใดๆ หรื อสนามเด็กเล่น สวนสาธารณะหรื อสนามกีฬาของทาง
ราชการแล้ว ต้องไม่เกินร้อยละ ๑๐ ของกาไรสุ ทธิก่อน หักรายจ่ายเพื่อ
การกุศลสาธารณะหรื อเพื่อการสาธารณประโยชน์ และรายจ่ายเพื่อ
การศึกษาหรื อเพื่อการกีฬาตามมาตรา ๖๕ ตรี (๓) แห่งประมวลรัษฎากร
ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์วิธีการ และเงื่อนไขที่อธิบดีกาหนด
Revenue Department