อบรมออทิสติก

Download Report

Transcript อบรมออทิสติก

ออทิสติก (Autistic)
ความหมาย
่
แพทย ์ผูเ้ ชียวชาญและนั
กวิชาการในประเทศ
่
่
ไทยทีสนใจศึ
กษาเรืองเด็
กออทิสติก ได ้ให ้
ความหมายว่า ออทิสซึม (autism) เป็ นกลุม
่
อาการของความบกพร่องของการพัฒนาการที่
เกิดจากความผิดปกติของระบบประสาท มี
ลักษณะความบกพร่องสาคัญคือ มีความ
บกพร่องใน 3 ด ้าน คือ
1. ทางสังคม
2. ด ้านพฤติกรรม
่
3.การสือสารความหมาย
่
้ อายุกอ
โดยเริมแสดงอาการตั
งแต่
่ น 3 ปี แรก
1. ทางสังคม
ในวัยทารก เด็กออทิสติกบางคนจะไม่ม ี
่ การมองตาม
พัฒนาการทางสงั คม เชน
สงิ่ ของ ยิม
้ เมือ
่ เห็นหน ้าคน ไม่คอ
่ ยสบตา
เด็กจะไม่สนใจเวลามีอะไรเกิดขึน
้ คล ้ายๆ
กับอยูก
่ บ
ั ตัวเอง เมือ
่ โตขึน
้ มักแยกตัวเล่น
คนเดียว หรือถ ้าเล่นกับเพือ
่ นก็จะไม่รู ้
ี้ วนให ้ดูสงิ่ ต่างๆ
กติกา ไม่สนเวลาคนชช
่ แม่ชใี้ ห ้ดูเครือ
เชน
่ งบินก็ไม่สนใจ ไม่ม ี
พฤติกรรมเอาของเล่นไปโชว์ ไม่คอ
่ ยมีส ี
หน ้าแสดงอารมณ์ตนเอง หรือมีอย่างไม่
ึ
เหมาะสม เด็กจะไม่สามารถเดาความรู ้สก
2. ด้านพฤติกรรม
เด็กจะชอบหรือหมกมุน
่ ของบางอย่างที่
่ จ ้องวัตถุหมุนได ้ เชน
่ จ ้องพัด
ดูแปลก เชน
ลม บางคนชอบเล่นน้ า บางคนเล่นล ้อรถ
ของเล่น บางคนชอบดมกลิน
่ ต่างๆ บางคน
ั ลักษณ์จราจร มีลักษณะ
สนใจสญ
่ เดินเขย่ง
เคลือ
่ นไหวผิดปกติซ้าๆ เชน
ปลายเท่า สะบัดมือ เด็กบางคนชอบเรียง
วัตถุเป็ นแถวตรงๆ มีลักษณะยึดติดกับ
่
ของเดิมๆ กิจวัตรเดิมๆ เปลีย
่ นไม่ได ้ เชน
เตียงๆเดิม ต ้องอาบน้ าก่อนจึงจะกินข ้าวได ้
้
ต ้องไปโรงเรียนเสนทางเดิ
มๆ วางของ
่
3.การสือสารความหมาย
สว่ นใหญ่จะไม่พด
ู เป็ นคาทีม
่ ค
ี วามหมาย
เมือ
่ อายุ 2 ปี ซงึ่ เป็ นอาการทีพ
่ อ
่ แม่พามา
พบแพทย์บอ
่ ยทีส
่ ด
ุ ถ ้าพูดได ้ก็จะเป็ นการ
พูดโดยไม่มจ
ี ด
ุ หมายโต ้ตอบกับคนอืน
่
ี งพูดจะไม่มเี สย
ี งสูงตา่ ไม่ม ี
ลักษณะเสย
อารมณ์สอดแทรก พูดบางคาหรือบาง
ประโยคซ้าๆ พูดตามคนอืน
่ พูดทวนคาถาม
แทนตอบคาถาม พูดภาษาตนเองทีค
่ นอืน
่
ฟั งไม่เข ้าใจ เด็กออทิสติกบางคนพูดได ้แต่
จะพูดตามตัวการ์ตน
ู ในทีว ี เล่นสมมติไม่เป็ น
ั ท์ เป็ นต ้น เด็กออทิ
เล่นทาท่าคุยโทรศพ
สาเหตุ
1. ปัจจัยด ้านพันธุกรรม ในปัจจุบน
ั พบว่ามีความ
่
เกียวข
้องกับปัจจัยด ้านพันธุกรรมสูง มาก มี
่
ความเชือมโยงกั
บโครโมโซมหลายตาแหน่ ง เช่น
ตาแหน่ งที่ 15q 11-13, 7q และ 16p เป็ นต ้น
คาดว่าในอนาคตอันใกล ้จะมีความช ัดเจนใน
่ เพิ
้ มขึ
่ น้ (สถาบันราชานุ กล
เรืองนี
ู . 2010:
ออนไลน์)
สาเหตุ
่
่
่
2. ปัจจัยด ้านสิงแวดล
้อม ทีอาจเกี
ยวข
้องกับภาวะ
้ ดเยอรมันระหว่าง
ออทิสซึม ได ้แก่ ติดเชือหั
้
้
ตังครรภ
์ ความผิดปกติระหว่างมารดาตังครรภ
์
คลอด และหลังคลอด ความผิดปกติทางชีวเคมี
ในร่างกาย การช ักในวัยเด็ก ภาวะของภูมค
ิ ุม้ กัน
่ ้ากันไม่ได ้ระหว่างมารดากับทารก การได ้ร ับ
ทีเข
สารพา ความเครียดของมารดา หรือการ
่ ระหว่างตังครรภ
้
เจ็บป่ วยอืนๆ
์ (เบญจมาศ พระ
ธานี . 2554: 4)
สาเหตุ
่
3. ปัจจัยด ้านความผิดปกติของสมอง เด็กทีมี
ภาวะออทิสซึม
ร ้อยละ 25-30 จะมีอาการของโรคลมช ัก ใน
่ ้าวัยรุน
ระยะเริมเข
่
่ ภาวะออทิสซึม มีเซลล ์ของ
สมองของเด็กทีมี
่
สมองผิดปกติอยู่ 2 แห่ง คือ บริเวณทีควบคุ
ม
ด ้านความจา อารมณ์ และแรงจูงใจ ส่วนอีก
่
่
บริเวณหนึ่ งจะควบคุมเกียวกั
บการเคลือนไหว
ของร่างกาย ลักษณะของเซลล ์สมองทัง้ 2 แห่ง
่ พฒ
เป็ นเซลล ์ทีไม่
ั นาไปตามวัยของเด็ก (เพ็ญ
่ ลา. 2545: 24)
แข ลิมศิ
Autism Spectrum
Disorder
Autistic Spectrum Disorder
1) ออทิสติก (Autistic Disorder)
2) แอสเพอร ์เกอร ์ (Asperger’s Disorder)
3) เร็ทท ์ (Rett’s Disorder)
4) ซีดด
ี ี (Childhood Disintegrative
Disorder)
5) พีดด
ี ี เอ็นโอเอส (PDD, Not Otherwise
Specified)
ออทิสติก (Autistic Disorder)
ออทิสติก เป็ นความผิดปกติของพัฒนาการ
เด็กรูปแบบหนึง่ ซงึ่ มีลักษณะเฉพาะตัว
โดยเด็กไม่สามารถพัฒนาทักษะทางสงั คม
ื่ ความหมายได ้เหมาะสมตามวัย
และการสอ
มีลักษณะพฤติกรรม กิจกรรม และความ
สนใจ เป็ นแบบแผนซ้าๆ จากัดเฉพาะบาง
เรือ
่ ง และไม่ยด
ื หยุน
่ ปั ญหาดังกล่าวเป็ น
ตัง้ แต่เล็ก สง่ ผลให ้เกิดข ้อจากัดในการ
ดารงชวี ต
ิ
แอสเพอร ์เกอร ์ (Asperger’s
Disorder)
ิ โดรม เป็ นความบกพร่อง
แอสเพอร์เกอร์ซน
ของพัฒนาการทีม
่ เี อกลักษณ์เฉพาะตัว
รูปแบบหนึง่ โดยบกพร่องในทักษะทาง
สงั คม ร่วมกับมีพฤติกรรมหมกมุน
่ ทาซ้าๆ
ี ต่อการ
ไม่คอ
่ ยยืดหยุน
่ จนเกิดผลเสย
ดารงชวี ต
ิ การเรียน การทางาน และการเข ้า
้
สงั คม สว่ นด ้านการใชภาษา
สามารถพูดคุย
ื่ สารปกติ แต่ไม่เข ้าใจลูกเล่น สานวน มุก
สอ
ตลกต่างๆ มีระดับสติปัญญาปกติ ความจาดี
แต่มป
ี ั ญหาในการประยุกต์ใช ้
เร็ทท ์ (Rett’s Disorder)

้
การเจริญเติบโตของศรี ษะชาลงกว่
าปกติ
ี
(พบบ่อยชว่ งอายุ 5 เดือน ถึง 4 ปี ) สูญเสย
ทักษะการใชมื้ อ ไม่สามารถควบคุมการ
เคลือ
่ นไหวของมือ ตามความต ้องการได ้
(loss of purposeful hand movements) (พบ
บ่อยชว่ งอายุ 6-30 เดือน) แล ้วตามด ้วยการ
เคลือ
่ นไหวอย่างผิดปกติของมือซา้ ๆ อยู่
่ ทามือหมุนบิดไป
บริเวณกึง่ กลางลาตัว เชน
มา หรือทาท่าคล ้ายกาลังล ้างมือ การ
ประสานงานของกล ้ามเนือ
้ ในการเดิน หรือ
ั เจน (gait ataxia
ขยับลาตัว ไม่ดอ
ี ย่างชด
and truncal ataxia/ apraxia) มีเคลือ
่ นไหว
ซีดด
ี ี (Childhood Disintegrative
Disorder)

มักมีพัฒนาการปกติมาก่อนในชว่ งอายุ 2
ี ทักษะ
ขวบปี แรก แล ้วเกิดอาการสูญเสย
ั เจน
หลายด ้านของพัฒนาการอย่างชด
ภายในระยะเวลา 2-3 เดือน (อาการเกิด
ก่อนอายุ 10 ปี )
ั เจน คือ มีพฤติกรรมคล ้ายโรค
อาการทีช
่ ด
ออทิสติก กล่าวคือ หมดความสนใจ
สงิ่ แวดล ้อมทัง้ หมด พบความผิดปกติใน
ั พันธ์สงั คม มีการกระทาซา้ ๆ
การมีปฏิสม
ั สูงถึง
เคลือ
่ นไหวซ้าๆมีโอกาสเกิดอาการชก
พีดด
ี ี เอ็นโอเอส (PDD, Not
Otherwise Specified)

พีดด
ี ี เอ็นโอเอส คือกลุม
่ ทีพ
่ บมีความ
บกพร่องของพัฒนาการแบบรอบด ้าน แต่
ไม่ครบตามเกณฑ์การวินจ
ิ ฉั ยโรคเฉพาะ
่ อายุเกิน (เริม
ชนิดใดๆข ้างต ้น เชน
่ มีอาการ
เมือ
่ อายุมากกว่า 3 ปี )
อาการไม่ครบตามจานวนข ้อทีก
่ าหนด
ความรุนแรงน ้อย มีลักษณะเฉพาะที่
แตกต่าง เป็ นต ้น
การคัดกรองเด็กออทิ
สติก
การคัดแยก

การคัดแยก หมายถึง การคัดบุคคลทีม
่ ี
ลักษณะบางประการแยกจากกลุม
่ ประชากร
ี่ งเพือ
เพือ
่ ดูวา่ ใครมีภาวะเสย
่ ค ้นว่าเด็กควร
ได ้รับความชว่ ยเหลือในด ้านใด
วิธก
ี ารคัดแยก
☞แบบเป็ นทางการ
- การใช ้แบบทดสอบมาตรฐาน
☞แบบไม่เป็ นทางการ
- สังเกตพฤติกรรมอย่างเป็ นระบบบันทึก
พฤติกรรม
- แบบสัมภาษณ์
่
- แบบเยียมบ
้าน
กระบวนการคด
ั แยก
ขัน
้ รวบรวมข ้อมูล
ั ภาษณ์)
สม
( ทดสอบ สงั เกต เยีย
่ มบ ้าน
ขัน
้ ประเมินผล
( ข ้อมูลเพียงพอหรือไม่)
ขัน
้ ประมวลผล
( ทารายงาน กราฟ
แผนภูม ิ เพือ
่ สรุป )
ขัน
้ ให ้ความชว่ ยเหลือ
( ประสานสง่ ต่อ)
แบบคัดกรองตามกฎกระทรวง

C:\Users\Administrator\Desktop\แบบคัด
กรอง
การบาบัดร ักษาอาการของ
เด็กออทิสติก
การบาบัดทางชีวภาพ
1. การบาบัดทางชีวภาพ ได ้แก่ การให ้ยามักจะ
ใช ้ในกรณี ทเด็
ี่ กมีอาการช ัก ก ้าวร ้าวอยู่ไม่นิ่ง
ตลอดจนปัญหาทางด ้านอารมณ์ พฤติกรรม
่ นอกจากนี การน
้
อืนๆ
า HEG
่ น
(Hemoencephalogram) มาใช ้ซึงเป็
การทา blood brain exercise ในสมองทัง้
สองซีกจะช่วยให ้มีการไหลเวียนของเลือดภายใน
สมองดีขน
ึ้
พฤติกรรมบาบัด
2. พฤติกรรมบาบัด เป็ นวิธก
ี ารปร ับพฤติกรรม
่
่ พงึ ประสงค ์ การปร ับ
เพือลดพฤติ
กรรมทีไม่
พฤติกรรมต ้องมีการวางแผนร่วมกันกับ
่
ผูป้ กครองหรือผูด้ แู ลเด็ก ตลอดจนผูท้ เกี
ี่ ยวข
้อง
้
่ ้การบาบัดเป็ นไปอย่าง
กับเด็กทังหมด
เพือให
ต่อเนื่ องและสร ้างพฤติกรรมใหม่ทพึ
ี่ งประสงค ์
พัฒนาการบาบัด
3. พัฒนาการบาบัด เด็กออทิสติกจะมีความ
บกพร่องของพัฒนาการ ดังนั้นการส่งเสริม
่
่ จ่ าเป็ น
พัฒนาการทีบกพร่
องไป จึงเป็ นสิงที
้ างๆ ของ
3.1 การส่งเสริมการใช ้กล ้ามเนื อต่
ร่างกาย
3.2 การส่งเสริมทักษะทางภาษา ได ้แก่ การ
่
ช่วยเหลือเด็กให ้มีการสือสาร
โดยใช ้วิธก
ี ารที่
่
เด็กถนัด เช่น การสือสารด
้วยภาพ (PECS :
The Picture Exchange Communication
System)
การแก ้ไขคาพูด (Speech Therapy)
กิจกรรมบาบัด
4. กิจกรรมบาบัด การจัดกิจกรรมบาบัดในเด็ก
่ ฒนาการร ับรู ้
ออทิสติกมีวต
ั ถุประสงค ์เพือพั
้ ้นทีจะส่
่ งผลไปสูก
เบืองต
่ ารมีสมาธิในการทา
้
กิจกรรม การควบคุมความตังใจ
ความมี
่ ่นในตนเอง
คุณค่าในตนเอง ความเชือมั
การบาบัดทางเลือก
(Alternative therapy)
5. การบาบัดทางเลือก (Alternative therapy)
่ ๆ เพือ่
ปัจจุบน
ั ยังมีการบาบัดทางเลือกอืน
ส่งเสริมให ้เด็กออทิสติกได ้พัฒนาการเรียนรู ้ ลด
ปัญหาทางด ้านอารมณ์และพฤติกรรม ช่วยให ้
่ ด
เด็กสามารถดารงชีวต
ิ ประจาวันได ้มากทีสุ