47.ปรัชญาและวิธีวิทยาของเศรษฐศาสตร์การเมือง

Download Report

Transcript 47.ปรัชญาและวิธีวิทยาของเศรษฐศาสตร์การเมือง

ปรัชญา และวิธี
วิทยา
ของเศรษฐศาสตร์
การเมือง
งาม
ผศ. ดร.จิตรกร โพธิ์
KARL
“
MARX
The philosophers have only
interpreted the world ,
in various ways ; the point is
to change it.”
Theses on Forereach
No. 11
เศรษฐศาสตร์การเมือง –
Political Economy
คานิยาม
-
-
เศรษฐศาสตร์การเมือง วิเคราะห์ ความสัมพันธ์
ระหว่างปัจจัยต่าง ๆ ของระบบเศรษฐกิจ และ
สถาบันของระบบมองดูความเชือ
่ มโยงของปัจจัย
เหล่านี้ กับระบบสังคมและการพัฒนาสังคม ให้
ความสาคัญสูงแก่เรื่องสถาบันการเมืองและสังคม
อุดมการณ์ ค่านิยม ความเชื่อ ซึ่งมีอิทธิพล ต่อ
ปรากฏการณ์ทางเศรษฐกิจ
มองในแง่นแ
ี้ ล้ว เศรษฐศาสตร์การเมืองมีขอบเขต
ต้นกาเนิดของเศรษฐศาสตร์การเมือง


ตามคานิยามดังกล่าว ถือได้วา่ งานของ ADAM
SMITH : The Wealth of Nation ปี 1776 เป็น
งานแนวเศรษฐศาสตร์การเมืองเช่นกัน คือ
วิเคราะห์แบบรอบด้านหลายมิติ
แต่ในภายหลังต่อมา political economy ได้
กลายเป็น economics แบบบริสุทธิ์ มีแต่มต
ิ ท
ิ าง
เศรษฐกิจเท่านั้น
เศรษฐศาสตร์กระแสหลัก



ปัจจุบัน เศรษฐศาสตร์กระแสหลัก ใช้วธ
ิ ีการ
แบบวิทยาศาสตร์ (เช่น ฟิสิกส์ เคมี
ชีววิทยา)
พื้นฐานของการวิเคราะห์ คือ ความคิด
แบบนีโอคลาสสิค
มีการแบ่งแยก ระหว่างเศรษฐกิจกับ
การเมือง
(ดู PowerPoint ชุด หลักเศรษฐศาสตร์)
เศรษฐศาสตร์ทางเลือก
Alternative Economics


ในระยะหลัง ๆ มีการวิพากษ์วจ
ิ ารณ์มากขึน
้ ว่า
เศรษฐศาสตร์กระแสหลักมีจุดอ่อนหลายข้อ และไม่
สามารถอธิบาย ร่วมทัง้ แก้ไขปัญหาหลายอย่างได้
จึงเกิดสิง่ ทีเ่ ราเรียกว่า “พาราไดม์วก
ิ ฤติ” อันนาไปสู่
การเคลือ
่ นไหวเพือ
่ หาทางเลือกใหม่ ๆ
(ดูเอกสารเรือ
่ ง ปรัชญาและวิธีวท
ิ ยาของ
เศรษฐศาสตร์ทางเลือก)
ความหลากหลายของสานักคิด
เศรษฐศาสตร์การเมือง


ในบรรดาแนวคิดต่าง ๆ ของเศรษฐศาสตร์ทางเลือก
เศรษฐศาสตร์การเมือง
เป็นสานักคิดทีค
่ ่อนข้าง
ได้รบ
ั ความนิยมมากทีส
่ ุดสานักหนึง่
ภายในเศรษฐศาสตร์การเมืองด้วยกัน เศรษฐศาสตร์
การเมืองของมาร์กซ์
( Marxian
political economy ) ถือได้วา่ เป็นสานัก ที่
สาคัญทีส
่ ุด และมีอท
ิ ธิพลทางทฤษฎีและทางการ
ปฏิบัตก
ิ ารมากทีส
่ ุด
Marxian Political Economy (MPE)
ต้นตอของเศรษฐศาสตร์การเมืองของมาร์กซ์
เศรษฐศาสตร์การเมือง
สังคมนิยมยูโธเปีย
ของอังกฤษ
ปรัชญาเยอรมัน
M P E
แนวคิดพืน
้ ฐานของมาร์กซ
ฝรั่งเศส
เศรษฐศาสตร์การเมืองของอังกฤษ

ADAM SMITH
อาด ัม สมิธ บิดาแห่งเศรษฐศาสตร์สม ัยใหม่
บุกเบิกทฤษฎีพ ัฒนาการ ทางเศรษฐกิจระยะ
ยาวทีม
่ ก
ี ารวิเคราะห์หลายมิต ิ

DAVID RICARDO
เดวิด ริคาร์โด เสนอแนวคิดเกีย
่ วก ับ การแบ่ง
ั้ าง ๆ ในสงคม
ั
รายได้ระหว่างชนชนต่
ทงั้ 2 มี
อิทธิพลต่อ ความคิดของ MARX
แผนภูมิ : แบบจาลองความขัดแย้ง
ทางชนชั้น ของ RICARDO
ที่ดิน
แรงงาน
ทุน
สังคมนิยมยูโรเปียฝรั่งเศส
( Utopian Socialism)


THOMAS MORE นักคิด นักปรัชญา
นักการเมืองอังกฤษ
เสนอผลงาน
UTOPIA ปี 1515 (สถานทีท
่ ไ
ี่ ม่อยูใ
่ นทีไ
่ หน...ยัง
ไม่เกิดขึน
้ ) แสดงความใฝ่ฝันถึงสังคมอุดมคติ ที่
ทุกคนเท่าเทียมกัน ไม่มี คนจน ไม่มีคนรวย ไม่มี
การเอารัดเอาเปรียบกัน
งาน UTOPIA กลายเป็น แรงกระตุ้นสาคัญให้นัก
คิดฝรัง่ เศส หลายคนเสนอภาพสังคมในอนาคต
โดยใช้หลักการสังคมนิยม
ปรัชญาเยอรมัน



ในบรรดาต้นตอความคิดหลายแห่ง กล่าวได้วา่
ปรัชญาเยอรมัน ของ G.W.F. HEGEL มีอิทธิพล
ต่อระบบคิดทางเศรษฐศาสตร์การเมืองของมาร์กซ์
มากที่สด
ุ
เฮเกล เสนอการวิเคราะห์สงั คม โดยใช้หลักเหตุผล
แบบ dialectical reasoning : thesis –
antithesis – synthesis
เฮเกล แนะนาให้นาแนวคิด dialectic นี้ ไป
ประยุกต์ใช้ความรูท
้ ก
ุ ด้าน
ปรัชญาเยอรมัน (ต่อ)




ในทฤษฎี ญาณวิทยาของเฮเกล ไม่มก
ี าร
แบ่งแยกระหว่าง ว ัตถุ ก ับ จิต
ั
ความเป็นจริงของสงคมที
ด
่ ารงอยู่ เป็น
ผลผลิตของความคิด ซงึ่ ก็มาจากจิตของ
มนุษย์ (ปร ัชญาแบบ absolute idealism)
้ อ
มาร์กพ ัฒนาแนวคิดนีต
่ ไป โดยบอกว่า
ความคิดของมนุษย์จะเป็นอย่างไรนน
ั้
้ อยูก
ขึน
่ ับภาวะแวดล้อมและความเป็นจริง
ั
ของสงคม
สรุปแล้ว เฮเกล สอนให้เรามองอย่างรอบ
แนวคิด dialectic ของ เฮเกล
Thesis
Synthesis
Antithesis
ความคิดแบบทุนนิยม
ความคิดแบบใหม่
สังคมนิยม หรือ นิเวศนิยม
ต่อต้านความคิดแบบทุนนิยม
POST-MARXISM


ั
น ับตงแต่
ั้
เกิดวิกฤตสงคมนิ
ยม (กาแพง
เบอร์ลน
ิ ล่มสลาย 1989) ทฤษฎีเศรษฐศาสตร์
ื่ มมนต์ขล ัง
การเมืองของมาร์กก็มแ
ี นวโน้มเสอ
ไปด้วย กระตุน
้ ให้มก
ี ารทบทวนความคิดก ัน
ใหม่
้ ฟูทฤษฎี แนวคิดทีเ่ รียกว่า
ท่ามกลางการพืน
้ มา โดยเสนอให้
Post Marxism ได้ปรากฏขึน
เศรษฐศาสตร์การเมืองผสมผสานก ับแนวคิด
อืน
่ ๆ ทีม
่ พ
ี ล ังในการอธิบายด้วย แต่ปร ัชญา
์ งึ่ มีตน
้ ฐานของมาร์กซซ
พืน
้ ตอ
มาจาก 3
Postmodern Political Economy
(PPE)



ในช่วงทศวรรษทีผ
่ า่ น ความคิดแบบ postmodern
เริ่มมีความสาคัญมากขึน
้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งใน
วงการสังคมศาสตร์ ทฤษฎีตา่ ง ๆ มีการปรับตัวเข้า
หา postmodernism อย่างเป็นระบบ
Postmodernism คือกระจกของกระจกทัง้ หลาย
คือการตรวจสอบแนวคิดและพาราไดม์ต่าง ๆ ที่เลือ
่ น
ไหลตลอดเวลา
เศรษฐศาสตร์การเมืองก็เคลือ
่ นเข้าสู่ความคิดของ
postmodernism เช่นกัน
PPE (ต่อ)

Postmodern Political Economy วิเคราะห์
- postmodernity ของปลายศตวรรษที่ 20 การ
เปลี่ยนแปลงเศรษฐกิจการเมืองของทุนนิยมยุค
โลกาภิวฒ
ั น์และการแปรเปลี่ยน ไปสูว
่ ฒ
ั นธรรม
โลก
- การแพร่กระจาย ของการต่อสู้ทางความคิดของ
สังคมศาสตร์
ที่เน้นเรือ
่ งของสังคมมากขึน
้
โดยลดความสาคัญของเศรษฐกิจลงไป
-
การเคลือ
่ นไหวสังคม ระดับโลกและระดับท้องถิ่น
เพื่อต่อสู้
กับการครอบครองของทุนนิยม
โลก และการครอบงาโดยใช้ความคิด
แบบ
โลกาภิวต
ั น์
- Postmodern political economy มีเนื้อหา
หลัก
ที่สอดคล้องกับ political ecology
(นิเวศวิทยาการเมือง
หรือ การเมืองเรือ
่ ง
ธรรมชาติ)
Integral Political Economy



ในยุคโลกาภิวต
ั น์ของศตวรรษที่ 21 ซึ่งมีลักษณะ
สลับซับซ้อนและแตกแยกเป็นหลายเสี่ยง
เศรษฐศาสตร์การเมืองแนว postmodern จะยังคง
ยืนอยู่บนพืน
้ ฐานปรัชญาของ เฮเกล ต่อไป
นั่นคือ มีความคิดและวิธีวท
ิ ยา เชิงระบบทีเ่ รียกว่า
integral system
หมายความว่า เราจะรวบรวมทุกสิ่งทุกอย่างเท่าทีท
่ า
ได้ไว้ในระบบคิดของเรา เพื่อให้การวิเคราะห์และ
การแก้ไขปัญหามีลก
ั ษณะเป็นเชิงบูรณาการมากขึน
้
รอบด้านมากขึน
้ หลายมิตม
ิ ากขึ้น