- ภาควิชาคณิตศาสตร์และคอมพิวเตอร์

Download Report

Transcript - ภาควิชาคณิตศาสตร์และคอมพิวเตอร์

1
การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
(E – Commerce )
4123607การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ในงานธุรกิจ
อ.ชาณิภา ซ่อนกลิ่น
หัวข้อ
2

ความหมายของ E-Commerce และ E-Business
 ความเป็ นมาของ E-Commerce
 คุณลักษณะสาคัญของ E-Commerce
 ประเภทของ E-Commerce
 แบบจาลองทางธุรกิจของ E-Commerce
 ประโยชน์ ของ E-Commerce
 ข้อจากัดของ E-Commerce
ความหมายของ E-Commerce
3

การพาณิชย์อิเล็กทรอนิ กส์ (Electronic Commerce : E-Commerce)
หมายถึง การใช้เทคโนโลยีเป็ นสื่อกลางสาหรับแลกเปลี่ยน
สินค้าและบริการระหว่างผูท้ ี่เกี่ยวข้อง ได้แก่ ตัวบุคคล องค์กร หรือ ตัว
บุคคลกับองค์กร เพื่อช่วยสนับสนุ นและอานวยความสะดวกในการ
ดาเนิ นกิจกรรมต่างๆทั้งภายในและภายนอกองค์กร
ความหมายของ E- Business
4

ธุรกรรมอิเล็กทรอนิ กส์ (Electronic Business : E- Business)
หมายถึง การดาเนิ นธุรกิจที่มีขอบเขตกว้างกว่าการพาณิชย์
อิเล็กทรอนิ กส์ กล่าวคือ ไม่ใช่แค่เพียงการซื้ อขายสินค้าและบริการ แต่ยงั
รวมถึงการบริการลูกค้า การทางานร่วมกับบริษัทคู่คา้ การควบคุมการ
ดาเนิ นงาน การเรียนรูผ้ ่านสื่ออิเล็กทรอนิ กส์และการทาธุรกรรมอื่นๆ
ภายในองค์กรโดยใช้อินเตอร์เน็ ตและเทคโนโลยีอื่น
การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ เป็ นส่วนหนึ่งของ ธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์
ความเป็ นมาของ E-Commerce
5
การโอนเงินผ่านทางอิเล็กทรอนิ กส์
(Electronic Fund Transfers: EFT)
เป็ นวิธีท่ ชี ่ วยอำนวยควำมสะดวกในกำรชำระเงิน
แทนกำรจ่ ำยด้ วยเงินสดหรื อเช็ค มีข้อจำกัดใช้ ใน
องค์ กรขนำดใหญ่ หรื อสถำบันกำรเงินเท่ ำนัน้
ระบบแลกเปลี่ยนข้อมูล
อิเล็กทรอนิ กส์
(Electronic Data Interchange: EDI)
ทำให้ กำรแลกเปลี่ยนข้ อมูลทำงธุรกิจระหว่ ำงองค์ กรทำได้
อย่ ำงมีประสิทธิภำพยิ่งขึน้
การพาณิชย์อิเล็กทรอนิ กส์
(Electronic Commerce:
E-Commerce)
นำรู ปแบบของ EDI มำปรั บเปลี่ยนให้ เหมำะสมกับกำร
ดำเนินธุรกิจบนอินเตอร์ เน็ต
คุณลักษณะสาคัญของ E-Commerce
6




การมีอยูท่ ุกแห่งหน(Ubiquity)
- ขายผ่านร้านค้าเสมือนบนเว็บไซต์ลกู ค้าไม่ตอ้ งเดินมาที่รา้ น
สามารถเข้าถึงได้ทั ่วโลก(Global Reach)
- สามารถติดต่อสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ ต
ใช้มาตรฐานเดียวกัน(Universal Standard)
- มีโปรโตคอลมาตรฐานในการรับส่งข้อมูล
ความสมบูรณ์ของข้อมูล (Richness)
- สามารถนาเสนอข้อมูลของสินค้าได้ท้งั รูปแบบภาพนิ่ ง ภาพเคลื่อนไหว เสียง
หรือวิดีโอ
คุณลักษณะสาคัญของ E-Commerce (ต่อ)
7

การโต้ตอบ(Interactive)
- มีการติดต่อ 2 ทาง ระหว่างผูซ้ ื้ อกับผูข้ าย ผ่านทางห้องสนทนา อีเมล์ หรือ
กระทูส้ นทนาได้
 ความหนาแน่นของสารสนเทศ(Information Density)
- ผูซ้ ื้ อสามารถนาสารสนเทศของสินค้า(ราคา คุณสมบัติ หรือเงื่อนไขการซื้ อ)ของ
ผูผ้ ลิตแต่ละรายมาเปรียบเทียบกันได้ ส่วนผูข้ ายก็สามารถเปรียบเที ยบราคาที่ผู้
ซื้ อแต่ละรายยอมรับเพื่อกาหนดกลุ่มเป้าหมายได้ดียิ่งขึ้ น
คุณลักษณะสาคัญของ E-Commerce (ต่อ)
8

การปรับแต่งและการสร้างความเป็ นส่วนตัว(Personalization/Customization)
- มีเทคโนโลยีกาหนดกลยุทธ์การตลาดส่วนบุคคลโดยการวิเคราะห์ส่วนตัวของ
ลูกค้า เช่น รสนิ ยม ความชอบ เป็ นต้น แล้วจับคูข่ อ้ มูลโฆษณาสินค้าหรือบริการ
ให้ตรงกับความต้องการของลูกค้าแต่ละราย
ประเภทของ E-Commerce
9
แบ่งตามกลุ่มบุคคล(หรือองค์กร) ที่ทาธุรกรรมร่วมกันได้ ดังนี้
1.Business to Business (B2B) เป็ นการทาธุรกรรมระหว่างองค์กรธุรกิจกับองค์กร
ธุรกิจด้วยกันเอง เช่น การจัดซื้ อ การจัดจ้างและการตัวแทนจาหน่ าย เป็ นต้น โดย
มักจะเกิดจากรวมกลุ่มของสมาชิกที่อยูใ่ นอุตสาหกรรมเดียวกัน เช่น สมาคม
อุตสาหกรรมเหล็กไทย กลุ่มธุรกิจบ้านและที่ดิน เพื่อกาหนดนโยบายร่วมกัน
ตัวอย่างเว็บไซต์ www.ats.or.th, www.custom.go.th
2. Business to Consumer (B2C)เป็ นการทาธุรกรรมระหว่างองค์กรธุรกิจกับ
ผูบ้ ริโภคทัว่ ไป ซึ่งเป็ นลักษณะการค้าแบบขายปลีก
ตัวอย่างเว็บไซต์ www.yahoo.com, www.amazon.com
ประเภทของ E-Commerce (ต่อ)
10
แบ่งตามกลุ่มบุคคล(หรือองค์กร) ที่ทาธุรกรรมร่วมกันได้ ดังนี้
3. Consumer to Consumer (C2C) เป็ นการทาธุรกรรมโดยตรงระหว่างผูบ้ ริโภคกับ
ผูบ้ ริโภค เช่น การขายสินค้ามือสอง การแลกเปลี่ยนสินค้าระหว่างกัน และการรับ
สมัครงาน เป็ นต้น
ตัวอย่างเว็บไซต์ www.thaisecondhand.com, www.jobthai.com , www.ebay.com
4. Consumer to Business (C2B)เป็ นการทาธุรกรรมระหว่างผูบ้ ริโภคทัว่ ไป กับ
องค์กรธุรกิจ โดยผูบ้ ริโภคจะรวมตัวกันจัดตั้งเป็ นกลุ่มหรือองค์กรเพื่อสร้างอานาจใน
การเจรจาต่อรองกับผูป้ ระกอบการ
ตัวอย่างเว็บไซต์ www.thaicooperative.com, www.priceline.com
ประเภทของ E-Commerce (ต่อ)
11
แบ่งตามกลุ่มบุคคล(หรือองค์กร) ที่ทาธุรกรรมร่วมกันได้ ดังนี้
5. Business to Government(B2G) เป็ นการทาธุรกรรมระหว่างองค์กรธุรกิจกับ
ภาครัฐ ที่ใช้กนั มากก็คือเรื่องการจัดซื้ อจัดจ้างของภาครัฐ หรือที่เรียกว่า
e-Government Procurement ในประเทศที่มีความก้าวหน้าด้านพาณิชย์
อิเล็กทรอนิ กส์แล้ว รัฐบาลจะทาการซื้ อ/จัดจ้างผ่านระบบอิเล็กทรอนิ กส์เป็ นส่วน
ใหญ่เพื่อประหยัด ค่าใช้จา่ ย เช่น การประกาศจัดจ้างของภาครัฐในเว็บไซต์
ตัวอย่างเว็บไซต์ www.gprocurement.or.th, www.gsa.gov
ประเภทของ E-Commerce (ต่อ)
12
แบ่งตามกลุ่มบุคคล(หรือองค์กร) ที่ทาธุรกรรมร่วมกันได้ ดังนี้
6. Government to Consumer(G2C) เป็ นการทาธุรกรรมระหว่างภาครัฐ กับ
ประชาชน ที่ใน ที่นี้คงไม่ใช่วตั ถุประสงค์เพื่อการค้า แต่จะเป็ นเรื่องการบริการของ
ภาครัฐผ่านสื่ออิเล็กทรอนิ กส์ ซึ่งปั จจุบนั ในประเทศไทยเองก็มีให้บริการแล้วหลาย
หน่ วยงาน เช่น การคานวณและเสียภาษีผ่านอินเทอร์เน็ ต, การให้บริการข้อมูล
ประชาชนผ่านอินเทอร์เน็ ต เป็ นต้น ยกตัวอย่าง ข้อมูลการติดต่อการทาทะเบียน
ต่างๆของกระทรวงมหาดไทย ประชาชนสามารถเข้าไปตรวจสอบว่าต้องใช้หลักฐาน
อะไรบ้างในการทาเรื่องนั้นๆ และสามารถดาวน์โหลดแบบฟอร์มบางอย่างจากบน
เว็บไซต์ได้ดว้ ย ตัวอย่างเว็บไซต์ www.mahadthai.com
แบบจาลองทางธุรกิจของ E-Commerce
13
แบบจาลองทางธุรกิจของ E-Commerce (Electronic Commerce Business Model)
ที่นิยมใช้งานมีดงั นี้
1. การตลาดขายตรงออนไลน์ (Online Direct Marketing)



ได้รบั ความนิ ยมมากที่สุด
เกี่ยวข้องกับการซื้ อขายสินค้าผ่านทางระบบออนไลน์
ขายตรงจากบริษัทที่ผลิตไปยังลูกค้า หรือ ขายผ่านร้านค้าปลีกที่เป็ นตัวแทนจาหน่ าย
เพื่อช่วยเพิ่มช่องทางกระจายสินค้า
แบบจาลองทางธุรกิจของ E-Commerce(ต่อ)
14
2. การประมูลออนไลน์ (Online Auction)

ผูส้ นใจเข้าไปยืน่ เสนอราคาประมูลเพื่อซื้ อสินค้าจากผูข้ ายผ่านระบบออนไลน์ ซึ่งสินค้า
จะเป็ นของผูท้ ี่ให้ราคาประมูลสูงสุด
3. ระบบการยืน่ ประมูลอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Tendering System)

ผูซ้ ื้ อเป็ นองค์กรขนาดใหญ่มีมลู ค่าการซื้ อจานวนมาก โดยให้ผขู้ ายเสนอราคาผ่านระบบ
ประมูล หากผูข้ ายรายได้ให้ราคาที่ผซู้ ื้ อพอใจก็จะรับข้อเสนอนั้น
4. การตลาดออนไลน์โดยใช้ตวั แทนเพื่อโฆษณาสินค้า(Affiliate Marketing)


ทาธุรกิจร่วมกันระหว่างผูข้ ายสินค้าและบริษัทตัวแทนรับฝากโฆษณา
คลิกผ่าน Banner , Logo และข้อความ
แบบจาลองทางธุรกิจของ E-Commerce(ต่อ)
15
5. การรวมกลุ่มกันซื้อ(Group Purchasing)


รวมกลุ่มเพื่อได้รบั ส่วนลดหรือเงื่อนไขพิเศษอื่นๆ
นิ ยมใช้กบั องค์กรขนาดกลางและเล็ก เช่น SME
6. การสั ่งทาสินค้าและบริการ(Product and Service Customization)

มีโปรแกรมให้ลกู ค้าสัง่ ทาสินค้าและบริการที่ตอ้ งการได้ผ่านทางเว็บไซต์
7. การสมัครสมาชิก (Membership)

ให้สิทธิพิเศษสาหรับผูท้ ี่เป็ นสมาชิก เช่น การให้ส่วนลด
แบบจาลองทางธุรกิจของ E-Commerce(ต่อ)
16
8. การกาหนดราคาที่ตอ้ งการด้วยตนเอง(Name Your Own Price)

ผูซ้ ื้ อกาหนดราคาสินค้าและบริการตามวงเงินที่มี จากนั้นโปรแกรมจะจับคู่กบั ผูข้ ายที่
สามารถให้ราคาตามวงเงินที่ผซู้ ื้ อระบุไว้ได้
9. บล็อกและชุมชนเพื่อการติดต่อสื่อสาร(Communities and Blogging)

นาเครือข่ายการติดต่อสื่อสารมาใช้ประโยชน์ทางการค้า เช่น การโฆษณา แจ้งข้อมูล
ข่าวสาร หรือ ซื้ อขายแลกเปลี่ยนสินค้า โดยผ่านห้องสนทนา หรือ บล็อก
ประโยชน์ของ E-Commerce
17
1.ด้านองค์กรธุรกิจ(ผูป้ ระกอบการ)
 ช่วยเพิ่มช่องทางการขายและจัดจาหน่ ายสินค้ามากขึ้ นโดยสามารถเข้าถึงลูกค้าได้ทุกมุม
โลก
 สามารถประหยัดต้นทุนในการดาเนิ นงาน เช่น การจ้างพนักงาน การเช่าสถานที่ และการ
ให้ส่วนลดกับพ่อค้าคนกลาง จึงทาให้มีผลกาไรจากการดาเนิ นงานเพิ่มขึ้ น
 สามารถเข้าถึงกลุ่มลูกค้าได้โดยตรงและมีประสิทธิภาพ
 องค์กรขนาดเล็กสามารถดาเนิ นธุรกิจแข่งขันกับองค์กรขนาดใหญ่ได้
 การบริการหลังการขายทาได้สะดวกขึ้ น โดยจะทาผ่านเครื่องมือ เช่น Webboard,ห้อง
สนทนา หรือ อีเมล์ เป็ นต้น
ประโยชน์ของ E-Commerce(ต่อ)
18
2.ด้านผูบ้ ริโภค
 สามารถสัง่ ซื้ อสินค้าและบริการได้จากทุกที่ทุกเวลาผ่านทางเว็บไซต์บนเครือข่าย
อินเตอร์เน็ ต
 สามารถสัง่ ซื้ อสินค้าและบริการได้ในราคาตา่ กว่าเดิม เนื่ องจากผูป
้ ระกอบการมีตน้ ทุนการ
ดาเนิ นงานลดลง
 สามารถเปรียบเทียบสินค้าและบริการได้สะดวกขึ้ น โดยการเปรียบเทียบสินค้าและบริการ
จากเว็บไซต์อื่นๆ
 ประหยัดเวลาในการเดินทางไปเลือกซื้ อสินค้าจากหน้าร้านค้า
 สามารถรับข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับสินค้าและบริการได้ตลอดเวลาผ่านทางบริการอีเมล์ หรือ
ผ่านทางการเยีย่ มชมในหน้าเว็บขององค์กรธุรกิจนั้น
ประโยชน์ของ E-Commerce(ต่อ)
19
3.ด้านสังคม
 ประชาชนสามารถรับรูข้ า่ วสารผ่านทางเทคโนโลยีใหม่ๆตลอดเวลา ทาให้เกิดการเรียนรู ้
และสร้างทักษะความชานาญได้มากขึ้ น
 สนับสนุ นและส่งเสริมด้านเศรษฐกิจโดยรวม ทาให้มีการเจริญเติบโต มัง่ คัง่ และยัง่ ยืนต่อไป
 ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการสาธารณะต่างๆได้อย่างรวดเร็วมากยิง่ ขึ้ น เช่น ด้าน
การศึกษา สุขภาพ และบริการของภาครัฐต่างๆ
ประโยชน์ของ E-Commerce (ต่อ)
20
ข้อจากัดของ E-Commerce
21
1.มาตรฐานด้านคุณภาพ ความปลอดภัย และระดับความน่ าเชื่อถือต่อ E-Commerce ยังไม่มี
ความแน่ นอน
 ความไม่ปลอดภัยของข้อมูล ขาดการตรวจสอบการใช้บต
ั รเครดิตบน Internet ข้อมูลบน
บัตรเครดิตอาจถูกดักฟั งหรืออ่าน เพื่อเอาชื่อและหมายเลขบัตรเครดิตไปใช้โดยที่เจ้าของ
บัตรเครดิตไม่รไู ้ ด้ การส่งข้อมูลจึงต้องมีการพัฒนาวิธีการเข้ารหัสที่ซับซ้อนหลายขั้นตอน
เพื่อให้ขอ้ มูลของลูกค้าได้รบั ความปลอดภัยสูงสุด
 E-Commerce ยังมีประเด็นเชิงนโยบายที่ทาให้รฐ
ั บาลต้องเข้ามากาหนดมาตรการ เพื่อให้
ความคุม้ ครองกับผูซ้ ื้ อและผูข้ าย ขณะเดียวกันมาตรการเรื่องระเบียบที่จะกาหนดขึ้ นต้องไม่
ขัดขวางการพัฒนาเทคโนโลยี
 ผูซ
้ ื้ อไม่มนั ่ ใจเรื่องการเก็บรักษาความลับทางธุรกิจ ข้อมูลส่วนบุคคลเช่นไม่มนั ่ ใจว่าจะมี
ผูน้ าหมายเลขบัตรเครดิตไปใช้ประโยชน์ในทางที่มิชอบหรือไม่
ข้อจากัดของ E-Commerce (ต่อ)
22


ด้านรัฐบาล ในกรณีที่ผซู้ ื้ อและผูข้ ายอยูค่ นละประเทศกันจะใช้กฎหมายของประเทศใดเป็ น
หลัก หากมีการกระทาผิดกฎหมายในการการกระทาการซื้ อขายลักษณะนี้ ความ
ยากลาบากในการติดตามการซื้ อขายทาง Internet อาจทาให้รฐั บาลประสบปั ญหาในการ
เรียกเก็บภาษี เงินได้และภาษีศุลกากร การที่ E-Commerce ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลง
สภาพแวดล้อมในการดาเนิ นธุรกิจ พฤติกรรมของผูบ้ ริโภค และการปฏิบตั ิงานของ
ภาครัฐบาล ทาให้รฐั บาลอาจเข้ามากาหนดมาตรการเพื่อคุม้ ครองผูบ้ ริโภคและผูข้ ายที่ใช้
บริการ E-Commerce รวมทั้งให้ความสนใจในการพัฒนาบุคลากร การพัฒนาปั จจัยที่จะ
เพิ่มความสะดวกทางด้านโทรคมนาคมสื่อสาร
ข้อมูลทางอิเล็กทรอนิ กส์สามารถทาสาเนาหรือดัดแปลงหรือสร้างขึ้ นใหม่ได้ง่ายกว่า
เอกสารที่เป็ นกระดาษ จึงต้องจัดการระบบการรักษาความปลอดภัยในการอ้างสิทธิให้ดี
พอ
ข้อจากัดของ E-Commerce (ต่อ)
23
2.ผูบ้ ริโภคขาดความมัน่ ใจในคุณภาพของสินค้า เนื่ องจากเป็ นการซื้ อขายสินค้าที่เห็นเพียงรูปภาพ
เท่านั้นแต่ไม่สามารถเห็นหรือจับต้องสินค้าตัวจริงได้
3.การประยุกต์ใช้ E-commerce กับ Application และ ฐานข้อมูลมีความซับซ้อนจาเป็ นต้องใช้
ทักษะหรืออาศัยผูเ้ ชี่ยวชาญเฉพาะด้านในการสร้างและพัฒนา
4. E-Commerce ไม่ได้เป็ นเพียงเรื่องของเทคโนโลยีเท่านั้น แต่ขึ้นอยูก่ บั การจัดการทางธุรกิจที่ดี
ด้วย การนาระบบนี้ มาใช้จึงไม่สมควรทาตามกระแสนิ ยม เพราะถ้าลงทุนไปแล้วไม่สามารถ
ให้บริการที่ดีกบั ลูกค้าได้ ย่อมเกิดผลเสียต่อบริษัท
แบบฝึ กหัด
24
1.
2.
3.
จงอธิบายความแตกต่างระหว่าง E-Commerce และ E-Business
สาหรับนักศึกษา E-Commerce มีประโยชน์อย่างไรบ้าง
จงบอกข้อจากัดของ E-Commerce