ลัดดาวัลย์ เพชรโรจน์ - มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

Download Report

Transcript ลัดดาวัลย์ เพชรโรจน์ - มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

การเขียนข้ อเสนอและ
การออกแบบการวิจัยสถาบัน
โดย
รศ.ดร.ลัดดาวัลย์ เพชรโรจน์
วันที่ 28 มกราคม 2554
สาหรับบุคลากร มสธ.จัดโดยสถาบันวิจัย
การวิจัย คืออะไร
การวิจั ย คือ กระบวนการแสวงหาความรู้
ข้ อ เท็จจริ ง อย่ างมีระบบแบบแผนที่เชื่ อถือได้
โดยอาศั ยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เพื่อให้
ได้ ค าตอบที่ น าไปใช้ ในการอ้ า งอิ ง การสร้ าง
กฎเกณฑ์ แ ละทฤษฎี การวางแผน และการ
แก้ ปัญหาในการหาคาตอบอย่ างเป็ นระบบ
ลัดดาวัลย์ เพชรโรจน์
2
กระบวนการวิจัย
ปัญหา
(Problem)
การสรุ ปอ้ างอิง
วัตถุประสงค์ / สมมติฐาน
(Generalization)
(Hypothesis)
ทฤษฎี
การวิเคราะห์ ข้อมูล
(Theory)
(Data Analysis)
การออกแบบการวิจัย
(Research Design)
การเก็บรวบรวมข้ อมูล
การวัดค่ าตัวแปร
(Data
Collection)
(Variable
Measurement)
ลัดดาวัลย์ เพชรโรจน์
กระบวนการวิจัยเชิงปริมาณ
ปัญหาการวิจัย
วรรณกรรม
ทีเ่ กีย่ วข้ อง
ประชากร
เทคนิคการสุ่ ม
กลุ่มตัวอย่ าง
สมมติฐาน
การออกแบบการวิจัย
การเก็บรวบรวมข้ อมูล
การวิเคราะห์ ข้อมูล
สรุ ปผล
การวัดค่ าตัวแปร
เครื่องมือ
ลัดดาวัลย์ เพชรโรจน์
กระบวนการวิจัยเชิงคุณลักษณะ
ปัญหาจากธรรมชาติ
คนเป็ นเครื่องมือ
สร้ างองค์ ความรู้แบบ
Tacit Knowledge
วิจัยเชิงคุณภาพ
(Qualitative)
ลัดดาวัลย์ เพชรโรจน์
กระบวนการวิจัยเชิงคุณลักษณะ
เลือกแบบเจาะจง
ใช้ Emergent
Design
ทาวนจนกว่ าจะได้
ข้ อมูลเพียงพอ
วิเคราะห์ ข้อมูลแบบ
Inductive
หา Grounded Theory
เขียนรายงานผล
Case Report
ลัดดาวัลย์ เพชรโรจน์
Qualitative-Quantitative Interactive Continuum
hypothesis
review
literature
data
analysis
conclusion
hypothesis
ลัดดาวัลย์ เพชรโรจน์
การวิจัยเชิงปฏิบัติการ(Action
Research)
คือ กระบวนการหาข้ อเท็จจริงเพือ่ แก้ปัญหาบางงาน บางเรื่อง ในการปรั บปรุ งงาน
ให้ ดขี นึ้ มีข้ันตอนดังนี้
 1. เป็ นปัญหาทีต่ ้ องการแก้ ไข และผู้วจิ ัยสามารถทาได้ เอง
 2. กาหนดวัถตุประสงค์
 3. ระบุคาตอบทีค่ าดเดา หรือตั้งสมมติฐานได้
 4. กาหนดชื่อเรื่องทีท่ าวิจัย
ลัดดาวัลย์ เพชรโรจน์
5. ระบุแนวทางแก้ปัญหาอย่างละเอียด ตั้งแต่การเลือก
แบบการวิจยั ข้อมูลที่เก็บ วิธีรวบรวมข้อมูล การ
วิเคราะห์ขอ้ มูล
6. ลงมือแก้ไขโดยทาการเก็บรวบรวมข้อมูลและ
วิเคราะห์ขอ้ มูลตามแนวที่วางไว้
7. สรุ ปผลข้อมูลจากการลงมือแก้ไขแล้วจัดทารายงาน
ลัดดาวัลย์ เพชรโรจน์
9
P
A
D
C
D
A
C
10
เกณฑ์ การเลือกปัญหาการวิจัย
 1. ผู้วจิ ยั มีความรู้ ความสามารถเพียงพอ
 2. มีความสนใจ และความมุ่งมั่นทีจ่ ะทา
 3. มีกาลังทั้งแรงกายและทุนทรัพย์ เพียง
พอที่จะทา
 4. มีเอกลักษณ์ เฉพาะตัว / เป็ นเรื่องใหม่
ทฤษฎีใหม่
ลัดดาวัลย์ เพชรโรจน์
ลักษณะของปัญหาการวิจัยที่ดี
 1. เป็ นปัญหาที่มีความสาคัญ ผลการวิจัย
สร้ างความรู้ ในการจัดการศึกษาระบบ
ทางไกล
 2. สามารถแก้ ปัญหาโดยทางวิทยาศาสตร์
 3. เป็ นข้ อมูลทีม่ ีความตรงและความเที่ยง
นาไปอ้ างอิงได้
ลัดดาวัลย์ เพชรโรจน์
12
ลักษณะของปัญหาการวิจัยที่ดี
 4. มีความคิดริเริ่ม เป็ นของใหม่ ไม่ มีใคร
ทามาก่ อน
 5. สามารถกาหนดระยะเวลา ทุนทรัพย์
ล่ วงหน้ า
 6. มีความลาบาก และความเสี่ ยงไม่ มาก
จนเกินไป
ลัดดาวัลย์ เพชรโรจน์
องค์ ประกอบของปัญหาที่ดี
 1. กะทัดรัด สื่ อความหมายในประเด็นที่
วิจัยได้ ดี
 2. หัวเรื่องไม่ แคบ และไม่ กว้ างจนเกินไป
 3. มีตัวแปรอย่ างน้ อย 2 ตัว แสดงความ
สั มพันธ์ กนั
 4. ตรงกับความสามารถและความถนัด
ของผู้วจิ ยั
14
องค์ ประกอบของปัญหาที่ดี
 5. สามารถออกแบบวิจัยได้ จริงในทาง
ปฏิบัติ
 6. มีเวลา แรงงาน งบประมาณเพียงพอ
 7. มีประโยชน์ ต่อมหาวิทยาลัย
 8. ไม่ เคยมีใครทามาก่ อน
15
แหล่ งของปัญหาการวิจัย
 1. การสั งเกตโดยตรงของผู้ทาการวิจยั
 2. ทฤษฎี
 3. ประเด็นปัจจุบันทางด้ านสั งคม
 4. สถานการณ์ ทปี่ ฏิบัตอิ ยู่
ลัดดาวัลย์ เพชรโรจน์
แหล่ งของปัญหาการวิจัย
 5. ผู้เชี่ยวชาญในแต่ ละสาขา/สานัก
 6. เอกสารทางวิชาการ
 7. การประชุม สั มมนา อบรม
 8. การกาหนดหัวข้ อจากผู้ให้ ทุน
ลัดดาวัลย์ เพชรโรจน์
บทบาทของมหาวิทยาลัย
 ด้ านงานการสอน (Instruction)
 ด้ านงานการวิจัย (Research)
 ด้ านงานการบริการสั งคม (Social Service)
 ด้ านงานการทานุบารุ งศิลปวัฒนธรรม
(Cultural Promotion)
ลัดดาวัลย์ เพชรโรจน์
บทบาทของสายสนับสนุน
 สนับสนุนด้ านงานการสอน
สนับสนุน ด้ านงานการวิจยั
ใหับริการด้ านงานการบริการสั งคม
 ให้ บริการด้ านงานการทานุบารุ ง
ศิลปวัฒนธรรม
ลัดดาวัลย์ เพชรโรจน์
การเรียนการสอน
สารสนเทศ
ห้ องสมุด
การวัด
ประเมินผล
บรรยากาศ
การเรียน
การสอน
หลักสู ตร
อาจารย์
การเรียน
การสอน
วิธีการ
สอน
นักศึกษา
อุปกรณ์
การ
สอน
ลัดดาวัลย์ เพชรโรจน์
ลักษณะการวิจัย
สร้างองค์
ความรู ้ใหม่
วางแผน
แก้ปัญหา
สร้ าง
กฎเกณฑ์
การวิจัย
ยืนยันทฤษฎี
(Grand
Theory)
สร้างทฤษฎี
(Grounded
Theory)
ลัดดาวัลย์ เพชรโรจน์
การตั้งชื่อเรื่องวิจัย
 1. แบบยาว
- บอกความสั มพันธ์ ระหว่ างตัวแปรต้ น
กับตัวแปรตาม
- ศึกษาอะไร จากใคร ที่ไหน เมื่อไร
22
การตั้งชื่อเรื่องวิจัย
1) ตัวชี้วดั คุณภาพการจัดการศึกษาของ
มหาวิทยาลัยไทยตามทัศนะคณาจารย์ นักศึกษา
และผู้ประกอบการ
2)ปัจจัยทีม่ อี ทิ ธิพลต่ อการสาเร็จการศึกษาของ
นักศึกษาในระบบการศึกษาทางไกลของ มสธ.
3)ความต้ องการของนักศึกษาต่ อรู ปแบบการบริการ
การศึกษา ของมหาวิทยาลัยสุ โขทัยธรรมาธิราช
ลัดดาวัลย์ เพชรโรจน์
การตั้งชื่อเรื่องวิจัย
 2. แบบสั้ น
- ระบุตวั แปรทีส่ าคัญ
- สั้ น กะทัดรัด ใช้ ภาษาง่ ายๆ
- สื่ อความหมายในประเด็นการวิจัย
24
การตั้งชื่อเรื่องวิจัย
“ ลักษณะครู ทดี่ ี ”
“ วิธีเรียนในระบบทางไกล ”
“ การประเมินโครงการ ”
“ การบริหารความเสี่ยง ”
25
The reciprocal relationship of
writing and thinking
1)Thinking
How can I
improve what I
write until
clarify what I
think?
How can I
know what I
think until I
see what I
write?
2)Writing
ลัดดาวัลย์ เพชรโรจน์
ความแตกต่ างระหว่ าง
ปริญญาตรี ปริญญาโท ปริญญาเอก
(Phillips & Pugh, 1994, pp. 17-18)
A bachelor’s degree traditionally meant
that the recipient had obtained a general
education.
ลัดดาวัลย์ เพชรโรจน์
A master’s degree is a licence to practise.
Originally this meant to practise theology,
i.e. to take a living in the Church,
but now there are master’s degrees across
the whole range of disciplines: business
administration, soil biology, computing,
applied linguistics and so on.
The degree marks the possession of
advanced knowledge
in a specialist field.
ลัดดาวัลย์ เพชรโรจน์
A doctor’s degree is a licence to
teach–meaning to teach in a university as
a member of faculty. This does not mean
nowadays that becoming a lecturer is the only
reason for taking a doctorate, since the degree
has much wider career connotations outside
academia and many PhDs do not have
academic teaching posts. The concepts stems,
though, from the need for a faculty member
to be an authority, in full command of
the subject right up to the boundaries of
current knowledge, and able to extend them.
ลัดดาวัลย์ เพชรโรจน์
การเขียนความเป็ นมาของปัญหา
1)เกริ่นนา
2)ปัญหาโดยทัว่ ไป
3) แนวคิดทีเ่ กีย่ วกับปัญหา
4. ปัญหาเฉพาะทีเ่ กิดขึน้ ในสถานศึกษา
ของผู้วจิ ยั พร้ อมการอ้ างอิงหลักฐาน
5.สรุปจากปัญหาและแนวคิดผู้วจิ ยั จึงทาเรื่องนี้
30
Research Proposal
Title:To summalize
What a research
will be about
ลัดดาวัลย์ เพชรโรจน์
31
Research Proposal
Summary: To provide
and overview of the
study
ลัดดาวัลย์ เพชรโรจน์
Research Proposal
Overall purpose:
To present clear and
concise statement of
the overall the
purpose
ลัดดาวัลย์ เพชรโรจน์
Research Proposal
Relevant background
literature: To demonstrate the
relationship between the proposed
study and what has already been done in
the particular area
ลัดดาวัลย์ เพชรโรจน์
Research Proposal
Research question/s:
To provide an explicit statement of what
they study will investigate.
ลัดดาวัลย์ เพชรโรจน์
คาถามการวิจัย
คาชี้แจง
ข้ อสรุป
คาตอบ
คาถาม
คาอธิบาย
ข้ อแก้ ไข
ข้ อเสนอแนะ
ข้ อคิดเห็น
ข้ อค้ นพบ
ลัดดาวัลย์ เพชรโรจน์
คาถามการวิจัย
ระดับป.ตรี คือ What
ระดับป.โท คือ How
ระดับป.เอก คือ Why
ลัดดาวัลย์ เพชรโรจน์
หลักการเขียนคาถามการวิจัย
 1. สอดคล้ องกับชื่อเรื่องและวัตถุประสงค์
 2. เป็ นคาถามที่ต้องการรายละเอียดคาตอบ
โดยถามว่ าอะไร ที่ไหน อย่ างไร เมื่อไร
 3. ไม่ ใช้ คาถามใช่ หรือไม่ (Yes-No question)
 4. เป็ นคาถามเดียว
ลัดดาวัลย์ เพชรโรจน์
Definition of terms:
To provide the meaning of the key
term that have been used in the
research question/s.
ต้ องเป็ นนิยามปฎิบัติการ คืออธิบายความหมาย
ของคาสาคัญทีผ่ ู้วจิ ยั ต้ องการบอกให้ ผู้อ่านเข้ าใจ
ความหมายของคาที่ใช้ ในการวิจัย
39
Research Proposal
Research methodology:
To give an illustration of the steps
the project will go through in order
to carry out the research.
ลัดดาวัลย์ เพชรโรจน์
Research Proposal
limitations:
To show awareness of the limitations.
Significance of the research:
To say why the study is worth carrying
out.
ลัดดาวัลย์ เพชรโรจน์
41
การเขียนรายละเอียด
1)นิยามศัพท์
2) ขอบเขตการวิจัย
(ตัวแปร ประชากร กล่ มุ ตัวอย่ าง
สถานที่ ระยะเวลา)
3)ประโยชน์ ที่คาดว่ าจะได้ รับ
ลัดดาวัลย์ เพชรโรจน์
Research Proposal
Time table: To give a working
plan for carrying out, and completing, the
study.
References: to provide detailed
references and bibliographic
support for the proposal.
43
Research Proposal
Appendix: To provide
examples of materials that
might be used or adapted, in
the study.
44
A Well-Writing Project
•A clear title which accurately
and succinctly reflect the nature
of the research study.
• A structure and format which
help the reader to absorb the
subject matter.
45
Master and Doctoral Thesis
Oliver,Paul. (2008) Writing Your Thesis,
Thousand Oaks, California:SAGE
Publications
1) Research Problems
-should be described clearly
(เกริ่นนา ตามตัวแปรสาคัญที่เกีย่ วข้ องประเด็น
ปัญหา)
46
Master and Doctoral Thesis
1) Research problems
-good academic writing makes
clear the linkages between the
different aspects of the subject
being described or analyzed.
-research issued are very complex.
- more and more important
47
Master and Doctoral Thesis
2)Research problems
-contextualized within the relevant
literature ( กล่ าวถึงบริบทและวรรณกรรม
ทีเ่ กีย่ วข้ อง พร้ อมอ้ างอิงข้ อมูลทีส่ นับสนุน
ประเด็นปัญหา)
-specific theoretical tradition or
perspective
(กล่ าวถึงแนวคิด หลักการ ทฤษฎี ทีอ่ ธิบายประเด็น
48
2)The Research Objective
Verbs which describes an
academic process,
To discuss ( an idea)
To examine, To analysis
To synthesis, To explore
To reflect on, To investigate
To propose, To systematize
To test.
49
การกาหนดวัตถุประสงค์ การวิจัย
 1. ใช้ เขียนเชิงพฤติกรรม
 2. เขียนเป็ นประโยคบอกเล่ า ว่ าต้ องการ
ศึกษาอะไร กับใครที่ไหน อย่ างไร
 3. ใช้ ภาษาง่ ายๆ ไม่ กากวม
ลัดดาวัลย์ เพชรโรจน์
การกาหนดวัตถุประสงค์ การวิจัย
 4. แต่ ละวัตถุประสงค์ มีประเด็นเดียว
 5. สอดคล้ องกับชื่อเรื่องวิจัย
 6. มีความกะทัดรัด
 7. ไม่ มากหรือน้ อยจนเกินไป
ลัดดาวัลย์ เพชรโรจน์
การกาหนดวัตถุประสงค์ การวิจัย
 8. ระบุพฤติกรรม
หา...
สร้ าง...
บอก...
พิสูจน์ ...
ทดลอง...
ระบุ...
พัฒนา...
เปรียบเทียบ...
ทานาย...
วิเคราะห์ ...
ตรวจสอบ...
ทดสอบ...
ศึกษา...
ติดตาม...
ประเมิน...
ค้ นหา...
สารวจ...
ประมวล...
52
เกณฑ์ การประเมินวัตถุประสงค์
 1.
 2.
 3.
 4.
 5.
บ่ งชี้สิ่งที่ต้องการค้ นพบอย่ างชัดเจน
ครอบคลุมประเด็นปัญหาทีต่ ้ องการทราบ
เขียนเป็ นวัตถุประสงค์ เชิงพฤติกรรม
ใช้ ภาษารัดกุม
สอดคล้ องกับประเด็นปัญหาการวิจัย
ลัดดาวัลย์ เพชรโรจน์
3) Hypothesis
เป็ นสมมติฐานวิจัย มีทิศทางการคาดเดา
ระบุความแตกต่ าง (สองทาง ทางเดียว)
ระบุการเปรียบเทียบ
-ค่ าเฉลีย่
- ค่ าความแปรปรวน
-ค่ าความสั มพันธ์

ลัดดาวัลย์ เพชรโรจน์
กรอบแนวคิดทฤษฎี
 1. ทฤษฎี (Theory)
 2. Model
 3. Empirical Research
ลัดดาวัลย์ เพชรโรจน์
ทฤษฎี (Theory)
ทฤษฎี คือชุดของข้ อความ หลักการ
และนิยามที่อธิบายความสั มพันธ์ ระหว่ าง
ข้ อสรุ ปต่ างๆ ตั้งแต่ 2 ประการขึน้ ไป
1. Grand Theory
2. Grounded Theory
ลัดดาวัลย์ เพชรโรจน์
ความเชื่อมโยงของทฤษฎีและวิจัย
 1. Theory-then-Research
- มีโครงสร้ างทฤษฎีหรือรูปแบบอยู่แล้ว
- เลือกทดสอบว่ าปรากฏการณ์ ทมี่ อี ยู่น้ัน
สอดคล้ องกับทฤษฎีหรือรูปแบบ
- ออกแบบการวิจัย เพือ่ เก็บรวบรวมข้ อมูล
วิเคราะห์ ข้อมูล สรุปผล
- ตรวจว่ า ปฏิเสธหรือยอมรับตามทฤษฎี
- ทาการพัฒนาทฤษฎีต่อไปด้ วยการวิจัย
57
ความเชื่อมโยงของทฤษฎีและวิจัย
 2. Research-then-Theory
- ศึกษาปรากฏการณ์ ที่เกิดขึน้ ตามธรรมชาติ
- วัดและประเมินผลปรากฏการณ์ ที่เกิดขึน้
- วิเคราะห์ ผลที่เกิดขึน้
- นาผลสรุ ปไปสร้ างเป็ นทฤษฎี
58
ตัวอย่ าง Model
 1. ลักษณะการเรียนด้ วยตนเอง
 2. แบบการเรียน 4 แบบ ตามแนวคิด
ของ Kolb
ลัดดาวัลย์ เพชรโรจน์
ลักษณะการเรียนด้ วยตนเอง
จุดเริ่ม
ต้ น
1) บุคคล
2) สถานการณ์
3) ประสบการณ์
8) มีการประเมินผล
5) มีการฝึ ก
ทดลองปฏิบัติ
7) มีเหตุผล
และการโต้ แย้ง
4) บุคคลจะได้ รับแรง
กระตุ้น แต่ ยงั ไม่ เปลีย่ น
แปลงพฤติกรรม
6) สะสมเกิดเป็ นความจา
9) มีการเปลีย่ น
แปลงพฤติกรรม
เมือ่ มีประสบการณ์
จุดสิ้นสุ ด
ลัดดาวัลย์ เพชรโรจน์
แบบการเรียน 4 แบบ
ตามแนวคิดของ Kolb
ประสบการณ์ เชิงรู ปธรรม
(Concrete Experience)
แบบปฏิบตั ิ
แบบอเนกนัย
(Executive Type) (Divergent Type)
การทดลองปฏิบัติจริง
(Active Experimentation)
การสั งเกตอย่างไตร่ ตรอง
(Reflective Observation)
แบบเอกนัย
แบบซึมซับ
(Convergent Type) (Assimilative Type)
แนวคิดนามธรรม
(Abstract Conceptualization)
ลัดดาวัลย์ เพชรโรจน์
การหา Keyword
เพือ่ ค้ นวรรณกรรมที่เกีย่ วข้ อง
 ตัวอย่ างงานวิจัย
เรื่อง แบบการเรียนของนักศึกษามสธ.
Keyword :
1) การเรียนรู้ (Learning)
2) แบบการเรียน (Learning Style)
ลัดดาวัลย์ เพชรโรจน์
การหา Keyword
เพือ่ ค้ นวรรณกรรมที่เกีย่ วข้ อง
2) แบบการเรียน (Learning Style)
- Cognitive Style
- Student Response Style
- Integrated Models of Learning Style
3) การศึกษาทางไกล
4) มหาวิทยาลัยเปิ ด
ลัดดาวัลย์ เพชรโรจน์
หลักการเขียนวรรณกรรมที่เกีย่ วข้ อง
 ต้ องเขียนแบบสั งเคราะห์ เนือ้ หาทีค่ ้ นมาได้ โดยแบ่ ง
รายละเอียดเป็ น 3 ประเด็น
- ความหมาย
- แนวความคิดและทฤษฎีที่เกีย่ วข้ อง
- ผลการวิจยั ที่เกีย่ วข้ อง
ลัดดาวัลย์ เพชรโรจน์
หลักการเขียนวรรณกรรมที่เกีย่ วข้ อง
การเขียนมักนิยมเขียนเชื่อมโยงข้ อความตามความ
สอดคล้ อง ความขัดแย้ ง คือ ส่ วนทีเ่ หมือนกันหรือ
ต่ างกันของสาระของผู้เขียนแต่ ละคน แล้ ววงเล็บปี ที่
แต่ งไว้ ท้ายชื่อ และเขียนเชื่อมโยงต่ อกันไป หรืออีกวิธี
อาจเขียนชื่อแล้ วอ้ างอิงเชิงอรรถไว้ ข้างล่ างของหน้ า
ลัดดาวัลย์ เพชรโรจน์
เกณฑ์ การประเมินวรรณกรรมทีเ่ กีย่ วข้ อง
มีการบอกความหมายของคาสาคัญ
วรรณกรรมสอดคล้ องกับชื่อเรื่อง
วรรณกรรมทันสมัย (ไม่ เก่ าเกินไป)
วรรณกรรมทีป่ รากฏเกีย่ วข้ องกับเรื่องทีจ่ ะวิจัย
ทั้งหมด
ค้ นจากแหล่ งข้ อมูลทีเ่ ชื่อถือได้
ลัดดาวัลย์ เพชรโรจน์
เกณฑ์ การประเมินวรรณกรรมทีเ่ กีย่ วข้ อง
มีการอ้ างอิงตามหลักการเขียนวรรณกรรม
มีการเขียนวรรณกรรมที่เกีย่ วข้ องที่ร้อยเรี ยงกัน
(ไม่ ได้ นาเสนอเป็ นส่ วนๆ)
มีการสรุปวรรณกรรมทีน่ าเสนอในแต่ ละช่ วง
มีทฤษฏี/ Model/ งานวิจัย รองรับเรื่องที่ทาวิจัย
มีการสรุปกรอบแนวคิดจากวรรณกรรมทีเ่ กีย่ วข้ อง
ลัดดาวัลย์ เพชรโรจน์
การออกแบบการวิจัย
การออกแบบการวิจั ย คือ การกาหนด
แนวคิ ด ทฤษฎี สมมติ ฐ าน ตั ว แปร
ประชากร กลุ่มตัวอย่ าง การเก็บรวบรวม
ข้ อ มู ล เครื่ อ งมื อ วั ด การวั ด ค่ า ตั ว แปร
การวิเคราะห์ ข้อมูล
ลัดดาวัลย์ เพชรโรจน์
การออกแบบการวิจัย
ประชากร (Population) คือทุกหน่ วยทีต่ ้ องการ
ศึกษา
กลุ่มตัวอย่ าง (Sample) คือบางหน่ วยทีถ่ ูกสุ่ มหรือ
ถูกเลือกจากประชากร
การเลือก (Sampling) คือการเลือกตัวอย่ างทีเ่ ป็ นตัว
แทนทีด่ ี ทีส่ ุ ดของประชากร เพือ่ ประหยัดแรงงาน
ลด ค่ าใช้ จ่าย และสรุปผลได้ เร็ว
69
การส่ ุ มโดยอาศัยความน่ าจะเป็ น
 1. สุ่ มอย่ างง่ าย (Simple Random Sampling)
- ทุกหน่ วยทีโอกาสโดนสุ่ มเท่ ากัน
- คุณสมบัตทิ ุกหน่ วยเหมือนกัน
 2. สุ่ มอย่ างมีระบบ (Systematic Random
Sampling)
- มีการเรียงลาดับ เช่ น 1, 5, 10, ...
70
การส่ ุ ม
 3. สุ่ มแบบแบ่ งชั้น (Stratified Random
Sampling)
- คุณสมบัตติ ่ างกัน จึงจัดชั้นก่ อน แล้ วสุ่ ม
แต่ ละชั้นตามสั ดส่ วน
ลัดดาวัลย์ เพชรโรจน์
การส่ ุ ม
 3. สุ่ มแบบแบ่ งชั้น (Stratified Random
Sampling)
ประชากร
กลุ่มตัวอย่ าง
แบ่ งชั้น
ลัดดาวัลย์ เพชรโรจน์
การส่ ุ ม
 4. สุ่ มแบบกลุ่ม (Cluster Random
Sampling)
C1
C2
C3
C4
ลัดดาวัลย์ เพชรโรจน์
การเลือก
การเลือก ใช้ สาหรับเวลาไม่ ใช้ หลัก ความ
น่ าจะเป็ น เช่ น เลือกผู้ทรงคุณวุฒิ นักเรียนที่
มีปัญหา ผู้บริ หารดีเด่ น วิธีการเลือกที่นิยม
คือแบบเจาะจง และแบบเห็ นพ้ องต้ องกัน
(Snowball Sampling)
ลัดดาวัลย์ เพชรโรจน์
การเลือกกลุ่มตัวอย่ างโดยไม่ ใช้ ความน่ าจะเป็ น
(ต่ อ)
1. แบบเจาะจง (Purposive Sampling)
2. แบบบังเอิญ (Accidental Sampling)
3. แบบเห็นพ้ องของผู้ทรงคุณวุฒิ (Snowball Sampling)
ลัดดาวัลย์ เพชรโรจน์
ขนาดของสิ่ งตัวอย่ าง
1. คานวณ
n
= Z2 S2
e2
ขนาดตัวอย่ าง
Z
= ค่ าคะแนนมาตรฐานจากตารางโค้ งปกติ
e
= ความคลาดเคลือ่ นทีย่ อมรับได้
S
= ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
2. เปิ ดตารางสาเร็จรู ป
n
=
ลัดดาวัลย์ เพชรโรจน์
การวัดค่ าตัวแปร
ตัวแปร (Variable)
 1. ตัวแปรอิสระหรือตัวแปรต้ น (Independent
Variable)
 2. ตัวแปรตาม (Dependent Variable)
 3. ตัวแปรเกิน (Extraneous Variable)
 4. ตัวแปรสอดแทรก (Intervening Variable)
ลัดดาวัลย์ เพชรโรจน์
มาตรวัดตัวแปร
 1. นามบัญญัติ (Nominal Scale)
- แบ่ งออกเป็ นพวกๆ ลักษณะข้ อมูลไม่
ต่ อเนื่อง เช่ น ชาย-หญิง หัว-ก้อย
 2. เรียงลาดับ (Ordinal Scale)
- แบ่ งออกเป็ นพวกๆ ลักษณะข้ อมูลไม่
ต่ อเนื่อง แต่ เรียงลาดับกัน เช่ น
1, 5, 10,... ร.ต., ร.ท., ร.อ. ป. 2-6
78
มาตรวัดตัวแปร
 3. จัดช่ วง (Interval Scale)
- ลักษณะข้ อมูลต่ อเนื่อง ไม่ มีศูนย์ แท้ เช่ น
อุณหภูมิ คะแนน 1-10, 11-20, 21-30
บวก ลบ คูณกันได้ แต่ หารไม่ ได้
 4. อัตราส่ วน (Ratio Scale)
- ลักษณะข้ อมูลต่ อเนื่อง มีศูนย์ แท้
บวก ลบ คูณ หารกันได้
79
เครื่องมือทีใ่ ช้ ในการวิจัย
 1. แบบสอบถาม (Questionnaire)
 2. แบบสั มภาษณ์ (Interview Form)
 3. แบบสั งเกต (Observation Form)
 4. แบบทดสอบ (Test)
ลัดดาวัลย์ เพชรโรจน์
ลักษณะเครื่องมือที่ดี
1. มีความตรง (Validity)
2. มีความเทีย่ ง (Reliability)
3. มีความเป็ นปรนัย (Objectivity)
4.ใช้ ได้ง่าย
5.ไม่ ลาเอียง
6. มีประสิ ทธิภาพ
การหาคุณภาพของเครื่องมือ
1. ตรวจสอบความตรง ( Validity)
1.1 ความตรงตามเนือ้ หา โดยอาศัย ผู้เชี่ยวชาญ
∑ R
IOC=
N
IOC = Index of Item Objective Congruence
R = จานวนคนทีเ่ ห็นด้ วย
N = จานวนทั้งหมด
+ = สอดคล้อง
IOC ตั้งแต่ .50ขึน้ ไปถือว่ ามีความตรง
82
การหาคุณภาพของเครื่องมือ
การหาค่ าความเทีย่ ง ( Reliability)
2.1 สาหรับมาตรวัดแบบ Likert
( 5,4,3,2,1 )
หาสั มประสิ ทธิ์แบบแอลฟ่ า ของ ครอนบาค
2.
(  coefficient ของ Cronbach)
83
สั มประสิ ทธิ์ แอลฟา
n 1- S2i
 สู ตร=
n-1
S2x
 S2i =ความแปรปรวนของคะแนนแต่ ละข้ อ
 S2x=ความแปรปรวนของคะแนนรวม
 n=จานวนข้ อ
84
ลักษณะของเครื่องมือที่ดี
 1. มีความตรง (Validity หา IOC)
 2. มีความเที่ยง (Reliability หา αcoefficient ของ Cronbach)
 3. มีความเป็ นปรนัย
 4. ใช้ ได้ ง่าย
 5. ไม่ ลาเอียง
 6. มีประสิ ทธิภาพ
85
Valid and reliable
Reliable not valid
Valid not reliable
Not reliable not valid
แบบสอบถาม
ปลายปิ ด
ปลายเปิ ด
ปลายเปิ ด+ปลายปิ ด
ลัดดาวัลย์ เพชรโรจน์
88
แบบสั มภาษณ์
มีโครงสร้ าง
ไม่ มีโครงสร้ าง
สั มภาษณ์ แบบเจาะลึก
ลัดดาวัลย์ เพชรโรจน์
แบบสั งเกต
แบบมีส่วนร่ วม
แบบไม่ มีส่วนร่ วม
ลัดดาวัลย์ เพชรโรจน์
แบบทดสอบ
ปรนัย
อัตนัย
ปรนัย +อัตนัย
91
BLOOM TAXONOMY
BLOOM’S REVISED
TAXONOMY
การเก็บรวบรวมข้ อมูล
 1. รวบรวมข้ อมูลเอง
 2. รวบรวมข้ อมูลทางไปรษณีย์
 3. รวบรวมข้ อมูลทาง Internet หรือ
ทางโทรศัพท์
ลัดดาวัลย์ เพชรโรจน์
การวิเคราะห์ ข้อมูล
 1. สถิติบรรยาย
ร้ อยละ สั ดส่ วน อัตราส่ วน ค่ าเฉลีย่ ฐาน
นิยม มัธยฐาน พิสัย ส่ วนเบี่ยงเบนมาตร
ฐาน ความแปรปรวน
 2. สถิติอ้างอิง
One-way ANOVA
2
t-test, Z-test,  -test, F-test
Two-way ANOVA
98
สถิติอ้างอิง( Inferential Statistics)
เป็ นการอ้างอิงจากกลุ่มตัวอย่างไปหาประชากร
โดยการสุ่ มกลุ่มตัวอย่าง
มีการสุ่ มสถิติที่ใช้มีดงั นี้
Z-test ,t-test, F-test ,2-test
สถิตขิ ้นั สูง
Factor Analysis
Path Analysis
Multiple Regression
ลัดดาวัลย์ เพชรโรจน์
การวิเคราะห์ ข้อมูล(นงลักษณ์ วิรัชชัย,2550)
LISREL or SEM or Mplus
MRA ,MANOVA
Nonparametric
Statistics
ANOVA
t-test
Factor,Cluster
Analysis
MANOVA
MMRA,MANCOVA
Path Analysis
HLM
101
ค่ าสถิติ และค่ าพารามิเตอร์
รายการ
ค่าสถิติ ค่าพารามิเตอร์

(กลุ่มตัวอย่าง) (ประชากร)
ค่าเฉลี่ย
x
µ
ส่ วนเบี่ยงเบนฯ S/s/SD

ความแปรปรวน S2/s2/SD2
จานวน
n
2
N
ระดับนัยสาคัญ (α)
1.กรณีทดสอบสองทาง
α/2
α/2
บริ เวณวิกฤต
บริ เวณวิกฤต
ช่วงความเชื่อมัน่
จุดวิกฤต
จุดวิกฤต
ระดับนัยสาคัญ (α)
2.กรณีทดสอบทางเดียวทางขวา
α
บริ เวณวิกฤต
ช่วงความเชื่อมัน่
จุดวิกฤต
ระดับนัยสาคัญ (α)
3.กรณีทดสอบทางเดียวทางซ้ าย
α
บริ เวณวิกฤต
ช่วงความเชื่อมัน่
จุดวิกฤต
การวิเคราะห์ ข้อมูล
 1. สถิติบรรยาย
ร้ อยละ สั ดส่ วน อัตราส่ วน
ค่ าเฉลีย่ (x ) - ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน(S.D)
ฐานนิยม (Mode) -พิสัย(Range)
มัธยฐาน (Median) -ส่ วนเบี่ยงเบนเฉลีย่ (M.D.)
หรือส่ วนเบี่ยงเบนควอไทล์ ( Q.D.)
106
รศ.ดร.ลัดดาวัลย์ เพชรโรจน์
การหาค่ าเฉลีย่
อายุ(X)
จานวนคน(f)
fiXi
20
2
40
21
1
21
22
3
66
24
2
48
25
2
50
รวม
10
X= 225
10
=22.5
ƩfiXi=225
รศ.ดร.ลัดดาวัลย์ เพชรโรจน์
11. การจัดการกระจาย
ั = สูงสุด – ตา่ สุด
11.1 พิสย
11.2 ความโด่ง คือ ความสูงของของการแจกแจงข ้อมูล
Kur = Q.D___
Q.D.= ( Q3-Q1)/2
P90 – P10
11.3 ความเบ ้ (Skewness) คือข ้อมูลไม่ปกติ
1. เบ ้ขวา (+)
้ (-)
2. เบ ้ซาย
สูตร Sk = 3 (X – Mdn)
SD
รศ.ดร.ลัดดาวัลย์ เพชรโรจน์
11.5 สว่ นเบีย
่ งเบนเฉลีย
่
N
M.D
=
xi - x
Σ fi
i=1
________________
N
11.6 สว่ นเบีย
่ งเบนมาตรฐาน

=
S.D =
k
Σ f (x i – x) 2
i
i=1
_______________
N
Σf (x - x)
n-1
2
=
=
Σfx 2
N
Σfx 2
(n – 1)
Σfx 2
N
Σfx 2
n(n – 1)
รศ.ดร.ลัดดาวัลย์ เพชรโรจน์
โค้ งปกติ ความเบ้ ความโด่ ง
110
รศ.ดร.ลัดดาวัลย์ เพชรโรจน์
เบ้ ซ้าย
X
Mdn
Mo
111
รศ.ดร.ลัดดาวัลย์ เพชรโรจน์
สถิติอ้างอิง( Inferential Statistics)
เป็ นการอ้างอิงจากกลุ่มตัวอย่างไปหาประชากร
โดยการสุ่ มกลุ่มตัวอย่าง
มีการสุ่ มสถิติที่ใช้มีดงั นี้
Z-test ,t-test, F-test ,2-test
รศ.ดร.ลัดดาวัลย์ เพชรโรจน์
ลักษณะการเปรียบเทียบคะแนน
 การเปรียบเทียบค่ าเฉลีย่ ระหว่ าง 2 กลุ่ม ด้ วย t-test
 การเปรียบเทียบค่ าเฉลีย่ ระหว่ าง 3 กลุ่ม ด้ วย การวิเคราะห์
ความแปรปรวน (Analysis of Variance=
ANOVA)
 การหาความสั มพันธ์
113
รศ.ดร.ลัดดาวัลย์ เพชรโรจน์
การเปรียบเทียบคะแนน
 Z-test เป็ นการทดสอบค่ าเฉลีย่ ของข้ อมูล 2 กลุ่มทีท่ ราบ
ค่ าความแปรปรวน (2 )และข้ อมูลมีขนาดใหญ่ (n30)
ลักษณะการแจกแจงเป็ นโค้ งปกติ มีมาตรวัดเป็ น
Interval และ Ratio
 t-test เป็ นการทดสอบค่ าเฉลีย่ ของข้ อมูล 2 กลุ่มทีไ่ ม่
ทราบค่ าความแปรปรวน (2 ) สาหรับข้ อมูลขนาดเล็ก มี
มาตรวัดเป็ น Interval และ Ratio
tมีลกั ษณะการแจกแจกเป็ นโค้ งปกติ แต่ แบนกว่ าการแจกแจง
ของ Z และเมื่อมีกลุ่มตัวอย่ างจานวนมากขึน้ (n30 )
ค่ าของ t และ Z จะมีค่าเท่ ากัน
114
รศ.ดร.ลัดดาวัลย์ เพชรโรจน์
ลักษณะการแจกแจง t กับ Z
Z
t
รศ.ดร.ลัดดาวัลย์ เพชรโรจน์
การเปรียบเทียบคะแนน
 2-test เป็ นการทดสอบความสั มพันธ์ ของตัวแปร 2 ตัว
ที่เป็ นตัวแปรอิสระ การแจกแจงของโค้ งจะเบ้ ขวา และทีจ่ ุด
กาเนิดจะมีค่า = 0 มีมาตรวัดเป็ น Nominal และ
Ordinal
 F-test เป็ นสถิติทวี่ เิ คราะห์ ความแปรปรวน
(Analysis of Variance = ANOVA)เพือ่
ตรวจสอบความแตกต่ างของค่ าเฉลีย่ ตั้งแต่ 2 กลุ่มขึน้ ไป
โดยอาจมีตัวแปรต้ น 1 ตัว 2 ตัว หรือมากกว่ าก็ได้ โดย
ข้ อมูลทีน่ ามาวิเคราะห์ จะมีมาตรวัดเป็ น Interval และ
Ratio
116
รศ.ดร.ลัดดาวัลย์ เพชรโรจน์
X
Regression

r = 1.00
r = .80
r = .30
117
รศ.ดร.ลัดดาวัลย์ เพชรโรจน์
X
Regression

r = -1.00
r = -.80
r = - .30
x
118
รศ.ดร.ลัดดาวัลย์ เพชรโรจน์
ตัวอย่ างหัวข้ องานวิจัยที่ควรทา
แนวทางการตอบปัญหา
การพัฒนากิจกรรมกระตุ้นการลงทะเบียน
ทันเวลา
การเปรียบเทียบสั มฤทธิผลการเรียนระหว่าง
นักศึกษาทีท่ ากิจกรรม และไม่ ทากิจกรรม
ปัญหาและแนวทางการแก้ไขการเทียบโอน
แนวทางตอบคาถามทาง internet
แนวทางการแก้ ปัญหาอุปสรรคแจ้ งผลสอบ
ล่าช้ า
119
ตัวอย่ างหัวข้ องานวิจัยที่ควรทา
แนวทางการพัฒนาสื่ อ
แนวทางการพัฒนารู ปแบบการเรียน
ผลของการแก้ ปัญหา
ปัจจัยที่มีอทิ ธิพลต่ อ
สาเหตุการ
การหาประสิ ทธิภาพของ
120
ตัวอย่ างหัวข้ องานวิจัยที่ควรทา
ความพึงพอใจของนักศึกษา
ต่ อการเรียนการสอน
แนวโน้ มการพัฒนาการเรียนการสอน
รู ปแบบการบริการการเรียนการสอน
การหาความสั มพันธ์ ระหว่ าง
เปรียบเทียบวิธีการสอนแบบ
กับ
ผลกระทบของ
121
ตัวอย่ างหัวข้ องานวิจัยที่ควรทา
แนวทางการพัฒนา
การพัฒนารู ปแบบ
การประเมินประสิ ทธิภาพสื่ อ
การพัฒนาแบบวัดสั มฤทธิ์ผลการเรียนวิชา
การเสริมสร้ างทักษะการคิด
การพัฒนาการทางาน
122
ตัวอย่ างหัวข้ องานวิจัยที่ควรทา
การศึกษาความต้ องการของนักศึกษา
ต่ างประเทศต่ อการบริการส่ งเอกสาร
การติดตามผลโครงการ
รายงานการใช้ แผนพัฒนาระยะยาว
การเรียนของนักศึกษาพิการ
การประเมินผลการปฏิรูปการเรียนรู้
123
การนาเสนอ
ผลการวิเคราะห์ ข้อมูล
 1. ระบุสาระทีน่ าเสนอ
 2. เสนอตามวัตถุประสงค์ การวิจยั
 3. เสนอสถิติพรรณนา
 4. เสนอสถิติอ้างอิง
ลัดดาวัลย์ เพชรโรจน์
การนาเสนอ
ผลการวิเคราะห์ ข้อมูล
 5. เสนอในรู ปตาราง แผนภูมิ
 6. การแปลผลใต้ ตาราง
 7. การพิจารณาลักษณะเด่ น
ลัดดาวัลย์ เพชรโรจน์
สรุปผลการวิจยั อภิปรายผล
ข้ อเสนอแนะ
 1. สรุ ปผลการวิจยั เรียงตามลาดับข้ อค้ นพบ
ให้ ครบตามวัตถุประสงค์ ของการวิจยั
 2. อภิปรายข้ อค้ นพบ สอดคล้อง หรือขัด
แย้ งกับทฤษฎี หรืองานวิจัยที่เกี่ยวข้ อง
พร้ อมยกเหตุผลว่ าเหตุใดจึงเป็ น
เช่ นนั้น
126
สรุปผลการวิจยั อภิปรายผล
ข้ อเสนอแนะ
 3. ข้ อเสนอแนะ ให้ เสนอแนะจากข้ อสรุ ป
ของการวิจัย และเสนอแนะหัวเรื่องที่
ควรทาวิจัยต่ อยอดของเรื่องที่ค้นพบ
จากการทาวิจัย
127
เกณฑ์ ทปี่ ระเมินงานวิจัย
 ระดับดี
เป็ นงานวิจยั ทีถ่ ูกต้ องเหมาะสม ทั้งใน
ระเบียบวิธีวจิ ัยการวิเคราะห์ ผล และการ
นาเสนอผล ซึ่งแสดงให้ เห็นความก้าวหน้ า
ทางวิชาการ หรือนาไปประยุกต์ ได้ ทั้งนีต้ ้ อง
ได้ รับการตีพมิ พ์ และเผยแพร่ ตาม
หลักเกณฑ์ ที่ ก.พ.อ.กาหนด
ลัดดาวัลย์ เพชรโรจน์
เกณฑ์ ทปี่ ระเมินงานวิจัย
 ระดับดีมาก
เกณฑ์ ดี ผลงานแสดงความรู้ ใหม่ อย่ างลึกซึ้ง
กว่ าเดิมทีม่ ีผู้ศึกษาแล้ ว และเป็ นประโยชน์
ด้ านวิชาการอย่ างกว้ างขวาง หรือสามารถ
นาไปประยุกต์ ใช้ อย่ างแพร่ หลาย
ลัดดาวัลย์ เพชรโรจน์
เกณฑ์ ทปี่ ระเมินงานวิจัย
 ระดับดีเด่ น
ดีมาก เป็ นงานบุกเบิกทีม่ ีคุณค่ ายิง่ ทาให้ เกิด
ความก้ าวหน้ าทางวิชาการในระดับสู ง และ
เป็ นที่ยอมรับในวงวิชาการ หรือวิชาชีพที่
เกีย่ วข้ องในระดับชาติ และ/หรือระดับ
นานาชาติ
ลัดดาวัลย์ เพชรโรจน์
งานวิจัยเมื่อแล้ วเสร็จ
 1. ตีพมิ พ์เผยแพร่ ในวารสาร
 2. ตีพมิ พ์เผยแพร่ ในหนังสื อรวมงานวิจัย
ระดับนานาชาติ
 3. นาเสนอในรู ปเอกสารวิชาการในการ
ประชุมหรือสื่ อประชุม (Proceedings)
 4. เผยแพร่ ไปสถาบันอืน่ ๆที่เกีย่ วข้ อง
ลัดดาวัลย์ เพชรโรจน์
กิจกรรมเขียนแบบเสนอโครงการวิจัย
1. ตั้งชื่อเรื่องทีจ่ ะวิจัย
2. กาหนดวัตถุประสงค์ การวิจัย
3. ออกแบบการวิจัย โดยกาหนดดังนี้
1) ระบุว่าเป็ นการวิจัยแบบใด
2) ระบุกรอบแนวคิดทฤษฎี
3) ตั้งสมมติฐาน (ถ้ ามี)
4) กาหนดตัวแปร
5) ระบุประชากร ขนาดกลุ่มตัวอย่ าง ชนิดของการเลือกกลุ่มตัวอย่ าง
6) กาหนดเครื่องมือทีใ่ ช้ ในการวิจัย
7) การเก็บรวบรวมข้ อมูล
8) การวิเคราะห์ ข้อมูล
132
ลัดดาวัลย์ เพชรโรจน์
086-0526256, 02-5047263
[email protected]
133