การโต้แย้ง

Download Report

Transcript การโต้แย้ง

Slide 1

สื่ อการสอนโดยใช้
โปรแกรม
Power Point
ผู้สอน
ศิ รพ
ิ รรณ
รวม

ครู
รัก


Slide 2

การโต้ แย้ ง
หมายถึง
การแสดงทรรศนะที่แตกต่ างกันระหว่ าง
บุคคล ๓ ฝ่ าย ซึ่งแต่ ละฝ่ ายจะต้ องพยายามหา
หลักฐาน เหตุผล ข้ อมูล มาสนับสนุนทรรศนะ
ของตนให้ น่าเชื่อถือ


Slide 3

โครงสร้ างของการโต้ แย้ ง
โครงสร้ างของการโต้ แย้ ง ประกอบด้ วย
- ข้ อสรุป
- เหตุผล
หัวข้ อและเนือ้ หาของการโต้ แย้ง ไม่ จากัดขอบเขต
แต่ ควรกาหนดให้ ชัดเจนว่ าจะโต้ แย้ งในหัวข้ อใด


Slide 4

กระบวนการโต้ แย้ ง
การโต้ แย้ ง แบ่ งได้ เป็ น ๔ ขั้นตอน ดังนี้
๑. การตั้งประเด็นในการโต้ แย้ ง
๒. การนิยามคาและกลุ่มคาสาคัญทีอ่ ยู่ในประเด็นของ
การโต้ แย้ ง
๓. การค้ นหาและเรียบเรียงข้ อสนับสนุนทรรศนะของตน
๔. การชี้ให้ เห็นจุดอ่ อนและความผิดพลาดของทรรศนะ
ของฝ่ ายตรงกันข้ าม


Slide 5

ขั้นที่ ๑ การตั้งประเด็นในการโต้ แย้ ง
ประเด็นในการโต้ แย้ ง คือ คาถามที่ก่อให้ เกิดการโต้ แย้ ง
ประกอบด้ วยประเด็นหลักและประเด็นรอง มีลกั ษณะ
เป็ นคาถาม
ผู้โต้ จะต้ องรู้ว่ากาลังโต้ แย้ งเกีย่ วกับทรรศนะประเภท
ใดและโต้ แย้ งให้ ตรงประเด็น คือ


Slide 6

๑. ถ้ าเป็ นการโต้ แย้ งเกีย่ วกับนโยบายหรือข้ อเสนอเพือ่ ให้
เปลีย่ นแปลงจากสภาพเดิม มี ๓ ประเด็น ดังนี้
ประเด็นที่ ๑ สภาพเดิมทีเ่ ป็ นอยู่น้ันมีข้อบกพร่ อง
หรือไม่ อย่ างไร
ประเด็นที่ ๒ ข้ อเสนอเพือ่ การเปลีย่ นแปลงนั้น
จะแก้ ไขข้ อบกพร่ องได้ หรือไม่

ประเด็นที่ ๓ ผลดีทเี่ กิดจากข้ อเสนอนั้นมีเพียงใด


Slide 7

๒. ถ้ าเป็ นการโต้ แย้ งเกีย่ วกับข้ อเท็จจริง
มี ๒ ประเด็น ดังนี้
ประเด็นที่ ๑ ข้ อเท็จจริงทีอ่ ้ างถึง มีหรือเป็ นเช่ นนั้นจริง
หรือไม่ อยู่ทไี่ หน
ประเด็นที่ ๒ การตรวจสอบข้ อเท็จจริงนั้นทาได้ หรือไม่
ด้ วยวิธีใด

๓. ถ้ าเป็ นการโต้ แย้ งเกีย่ วกับคุณค่ า
จะเป็ นการโต้ แย้ งทีม่ คี วามรู้ สึกส่ วนตัวแทรกอยู่
ไม่ อาจกาหนดประเด็นที่แน่ นอนลงไปได้


Slide 8

ขั้นที่ ๒ การนิยามคาและกลุ่มคาสาคัญทีอ่ ยู่ใน
ประเด็นของการโต้ แย้ ง
การนิยาม คือ การกาหนดความหมายของคาหรือกลุ่มคาที่
ใช้ ในการโต้ แย้ งให้ ชัดเจน เข้ าใจตรงกัน ไม่ สับสน จะ
โต้ แย้ งกันได้ ถูกทิศทาง


Slide 9

วิธีนิยาม อาจนิยามได้ ดังนี้
๑.
๒.
๓.
๔.

นิยามตามพจนานุกรมหรือสารานุกรม
นิยามตามคาอธิบายของผู้รู้ ทเี่ ขียนไว้ เป็ นลายลักษณ์ อกั ษร
นิยามด้ วยการเปรียบเทียบ
นิยามด้ วยการยกตัวอย่ าง


Slide 10

ขั้นที่ ๓ การค้ นหาและเรียบเรียงข้ อสนับสนุนทรรศนะ
ของตน
การค้ นหาข้ อสนับสนุนทรรศนะของตน อาจค้ นได้ จาก การ
อ่ าน การฟัง การสั มภาษณ์ และการสั งเกตด้ วยตนเอง
ทรรศนะนั้นจะน่ าเชื่อถือมากน้ อยเพียงใด ขึน้ อยู่กบั
ข้ อสนับสนุนทีม่ าจากหลักฐาน สถิติ ข้ อเท็จจริงต่ างๆ


Slide 11

ขั้นที่ ๔ การชี้ให้ เห็นจุดอ่ อนและความผิดพลาด
ของทรรศนะของฝ่ ายตรงกันข้ าม
๑. จุดอ่ อนในการนิยามคาสาคัญ โดยชี้ให้ เห็นว่ า การนิยามนั้นวกวน
ข้ อความทีน่ ามาใช้ ในนิยามบางคาอาจเข้ าใจยาก หรือเป็ นนิยามโดย
อคติ เพือ่ ให้ ประโยชน์ แก่ ฝ่ายตน
๒. จุดอ่ อนในด้ านปริมาณของความถูกต้ องของข้ อมูล โดยชี้ให้ เห็นว่ า
ข้ อมูลทีอ่ กี ฝ่ ายหนึ่งเสนอมานั้นมีข้อผิดพลาด หรือมีน้อยเกินไป
หรือไม่ มีนา้ หนักน่ าเชื่อถือ


Slide 12

๓. จุดอ่ อนของสมมุตฐิ านและวิธีการอนุมาน
- สมมุตฐิ าน คือ หลักทัว่ ไปที่ต้องยอมรับเสี ยก่ อน และจาก
สมมุตฐิ านนั้น ผู้แสดงทรรศนะจะใช้ วธิ ีอนุมานนาไปสู่ ข้อสรุป
- ส่ วนวิธีการอนุมาน หมายถึง กระบวนการหาข้ อสรุปจาก
สมมุตฐิ านทีม่ ีอยู่
ในการโต้ แย้ งจะต้ องชี้ให้ เห็นว่ า สมมุตฐิ านของฝ่ ายตรงข้ าม ยัง
ไม่ ใช่ หลักทีเ่ ป็ นทีย่ อมรับ หรือวิธีการอนุมานนั้น
ยังมี
ความผิดพลาดอยู่ เป็ นต้ น


Slide 13

การวินิจฉัยเพือ่ ตัดสิ นข้ อโต้ แย้ ง
มี ๒ แบบ ดังนี้
๑. พิจารณาเฉพาะเนือ้ หาสาระทีแ่ ต่ ละฝ่ ายนามาโต้ แย้ งกัน ผู้
ตัดสิ นต้ องวางตัวเป็ นกลาง ไม่ นาความรู้ หรือประสบการณ์
ของตนเองมาใช้ ในการตัดสิ น เช่ น การตัดสิ นคดี การตัดสิ น
โต้ วาที
๒. วินิจฉัยโดยใช้ ดุลพินิจของตนมาประกอบการพิจารณาคาโต้ แย้ งของทั้งสองฝ่ ายโดยละเอียด เช่ น การลงมติในทีป่ ระชุม
การตัดสิ นใจเลือกพรรคการเมือง


Slide 14

ข้ อควรระวังในการโต้ แย้ ง
๑. หลีกเลีย่ งการใช้ อารมณ์
๒. มีมารยาทในการใช้ ภาษาทั้งวัจนภาษาและอวัจนภาษา
๓. เลือกประเด็นในการโต้ แย้ งที่เป็ นประโยชน์ และสร้ างสรรค์


Slide 15

พบกันใน
ตอนตอไป


เรือ
่ งการใช้
ภาษาเพือ
่ โน้ม
น้าวใจ