การติดตามและประเมินผลโครงการ

Download Report

Transcript การติดตามและประเมินผลโครงการ

การติดตามและการประเมินผลโครงการ
ศาสตราจารย์ ดร. สิน พันธุ์พนิ ิจ
การประเมินผลโครงการ (Project Evaluation)
การประเมินผล (Evaluation) “เป็ นการพิจารณาเปรี ยบเทียบตัดสิน
คุณค่าของสิง่ ที่ดาเนินการตามวัตถุประสงค์ที่ตงไว้
ั้ ”
การประเมินผลโครงการเป็ นการวิจยั ประยุกต์ เรี ยกว่า “การวิจยั ประเมินผล”
(Evaluation Research)
กระบวนการประเมินผลโครงการ
การประเมินผลมีกระบวนการ
ดาเนินการคล้ ายกับกระบวนการ
วางแผนโครงการ
การวางแผน
ประเมินผลโครงการ
การดาเนินการ
วางแผนโครงการ
การประเมินโครงการ
ที่ประเมินผล
ทัศนภาพของการประเมินผลโครงการ
(Perspective of Project Evaluation)
- ประชากรและกลุ่มตัวอย่ าง
- เครื่องมือการประเมินผลโครงการ
- การเก็บข้ อมูลประเมินผลโครงการ
- การวิเคราะห์ ข้อมูลประเมินผลโครงการ
- การรายงานการประเมินผลโครงการ
คาที่มีความหมายคล้ ายคลึงกับการประเมินผล
การประเมิน (Assessment) หมายถึง การประเมินค่ าหรือราคาที่ควรจะเป็ น เช่ น การประเมิน
ราคาของ
การประเมินค่ าหรือการตีค่า (Appraisal) หมายถึง การประเมินมีเกณฑ์ (Cieterion) และ
มาตรฐาน (Standard)
การกากับดูแล (Monitoring) หมายถึง การติดตามกากับงานเป็ น “การประเมินความก้ าวหน้ าของ
โครงการระหว่ างวัน”
การตัดสินคุณค่ า (Judgement) หมายถึง การประเมินคุณค่ าของสิ่งของตามมาตรฐานหรือเกณฑ์
กติกา เช่ น การตัดสินการประกวดต่ างๆ
การวัด (Measurement) หมายถึง การรวบรวมขนาด จานวน หรือปริมาณของบางสิ่งบางอย่ าง
แต่ ละช่ วงเพื่อประกอบการประเมินผลครัง้ สุดท้ าย
ความสาคัญของการประเมินผลโครงการ
ความสาคัญด้ านอาชีพ
1.อาชีพด้ านการศึกษาการ
ประเมินผล
2.อาชีพการประเมินผล
โครงการ
ความสาคัญของการประเมินผลโครงการ
ความสาคัญด้ านการ
บริหาร
5.เอือ้ อานวยในการ
พัฒนาทัศนคติของ
บุคลากรในวิชาชีพต่ างๆ
6.ทราบสภาวการณ์ และ
ความก้ าวหน้ าของ
โครงการ
1.เป็ นเครื่องชีแ้ นะ และ
เครื่องกาหนดทิศ
ทางการดาเนินงานใน
อนาคต
4.ทาหน้ าที่เป็ นสื่อ
ประชาสัมพันธ์
7.ทราบถึงความสาเร็จ
ของโครงการและ
ผลกระทบต่ างๆ
2.ช่ วยปรับปรุ งการ
ดาเนินงานโครงการ
3.เป็ นเครื่องมือ
ตรวจสอบความโปร่ งใส
ประเภทของการประเมินผลโครงการ
1.การประเมินผลก่อนเริ่มโครงการ เช่น
Beforeand-After
Type
Baseline
Survey
Benchmark Context
Survey
Evaluation
Feasibility
Study
ประเภทของการประเมินผลโครงการ
2.การประเมินผลการวางแผนโครงการ เช่ น
Project Planning
Project Appraisal Input Evaluation
Evaluation
ประเภทของการประเมินผลโครงการ
3.การประเมินผลระหว่ างดาเนินโครงการ เช่ น
การ
การ
ประเมินผล
ประเมินผล
ความก้ าวหน้ า การดาเนินงาน Process
Evaluation
(Progress
Evaluation)
(Implementation
Evaluation)
Interval
Evaluation
Ongoing
Evaluation
Continuing
Evaluation
ประเภทของการประเมินผลโครงการ
4.การประเมินผลหลังสิน้ สุดโครงการ เป็ นการประเมินผลสุดท้ าย
(Outcome) และผลกระทบ (Impact Evaluation)
Evaluation of
Ex-post
Terminal Result Evaluation
Product
Evaluation
Summative
Evaluation
หลักของการประเมินผลโครงการ
1.ต้ องยึดวัตถุประสงค์ หรื อกิจกรรมของโครงการ
2.เน้ นที่ผลลัพธ์ และผลที่จะตามมาของโครงการ
3.สร้ างความเที่ยงตรงโดยนาความรู้ ระดับมาตรฐาน เป็ นพืน้ ฐานของการเปรี ยบเทียบการเปลี่ยนแปลงผลลัพธ์ และผลที่จะตามมา
4.ประสิทธิภาพของการประเมินผลโดยใช้ วธิ ีการประเมินผลผสมผสานกับหลายอย่ าง
5.เก็บรวบรวมข้ อมูลจากผู้เกี่ยวข้ องกับโครงการและผู้ท่ เี ฝ้าสังเกตโครงการอย่ างใกล้ ชดิ
6.ใช้ เครื่ องที่วัดการประเมินที่มีความเที่ยงตรง และน่ าเชื่อถือ
7.เกณฑ์ ท่ ใี ช้ ในการประเมินผลต้ องหนักแน่ น อยู่บนพืน้ ฐานการวิจัย หรื อประสบการณ์ ท่ นี ่ าเชื่อถือ
8.การประเมินผลด้ วยตนเอง โดยยึดถือความซื่อสัตย์ ความจริงใจ จะมีประสิทธิผลมากกว่ าให้ บุคคลภายนอกประเมินผล
9.การประเมินผลต้ องยึดวิธีการทางวิทยาศาสตร์ เป็ นหลัก
รู ปแบบการประเมินผลโครงการ
(Model of Program Evaluation)
เป็ นทังทฤษฎี
้
(Theory)
และวิธีการ (Approach)
รูปแบบการ
ประเมินผลโครงการ
โดยยึดเป้าหมาย
โดยยึดวัตถุประสงค์
รูปแบบการ
ประเมินผล
โดยไม่ยดึ
วัตถุประสงค์
โดยยึดการตัดสินใจ
รู ปแบบซิฟ
(CIPP Model)
Stufflebeam’s CIPP Model
รูปแบบซิฟ
Stufflebeam’s CIPP Model
(CIPP Model)
-ไม่ยดึ วัตถุประสงค์
(Goal – Free)
-ประเมินผลครอบคลุม
ปั จจัย 4 ด้ าน
รู ปแบบซิฟ (CIPP Model)
Stufflebeam’s CIPP Model
1.การประเมินบริบท (Context Evaluation , C)
2.การประเมินปั จจัยป้อน (Input Evaluation , I )
3.การประเมินกระบวนการ (Process Evaluation , P)
4.การประเมินผลผลิต (Product Evaluation , P)
รู ปแบบของเบ็นเน็ต
(Bennett’s Model)
-การประเมินผลเชิงประจักษ์ (Evidence Model)
-ไม่ ยดึ วัตถุประสงค์
-เป็ นการประเมินความสาเร็จของโครงการ 7 ด้ าน
•
•
•
•
•
•
•
1.ปั จจัยป้อน
2.กิจกรรม
3.การมีส่วนร่ วม
4.ปฏิกิริยาตอบสนอง
5.การเปลี่ยนแปลงความรู้ ทัศนคติ และความหวัง
6.การเปลี่ยนแปลงวิธีการปฏิบัติ
7.ผลลัพธ์ สุดท้ ายและผลได้ (Outcome and Result)
แบบการทดลอง (Experimental Design) มีกลุ่มทดลอง
(Treatment) และกลุ่มควบคุม (Control Group)
• มีความสมบูรณ์ที่สดุ
• มีความถูกต้ องแม่นยาสูง
• สามารถอธิบายเชิงเหตุ-ผล
• สรุปอ้ างอิงทัว่ ไปได้ (Generalize)
1.แบบการประเมินผลก่อน – หลัง (Pretest – Posttest Design)
ช่ วงเวลา
1 (ก่ อน)
กลุ่มทดลอง
กลุ่มควบคุมไม่ จริง
R O
R O
2 หลัง
X
O
O
2.แบบการประเมินผลเฉพาะหลังโครงการ
3.แบบอนุกรมเวลาที่มีการควบคุมจริง
แบบกึ่งทดลอง (Quasi Experimental Design)
1.แบบการประเมินเฉพาะหลังที่ควบคุมไม่ จริง
กลุ่มทดลอง
กลุ่มควบคุมไม่ จริง
ช่ วงเวลา
1 (หลัง)
X
O1
O1
แบบกึ่งทดลอง (Quasi Experimental Design)
2.แบบการประเมินก่ อนและหลังที่ควบคุมไม่ จริง
3.แบบการประเมินก่ อนและหลังหลายช่ วงเวลาที่ควบคุมไม่ จริง
แบบไม่ มีการทดลอง (Non Experimental Design)
1.แบบการประเมินผลเฉพาะหลัง 1 กลุ่ม
ช่ วงเวลา
1 (หลัง)
กลุ่มที่ได้ รับโครงการ
X
O
แบบไม่ มีการทดลอง (Non Experimental Design)
2.แบบการประเมินผลก่ อนและหลัง
ช่ วงเวลา
1 (ก่ อน)
กลุ่มที่ได้ รับโครงการ
O
1 (หลัง)
X
O
แบบไม่ มีการทดลอง (Non Experimental Design)
3. แบบประเมินผลก่ อนและหลังหลายช่ วงเวลา
ช่ วงเวลา
1 2 3
กลุ่มที่ได้ รับโครงการ
4 5 6
O O O X O O O
บทบาทของผู้ประเมินผลโครงการ (Evaluator Role)
1.แสวงหาองค์ ความรู้ท่ เี ป็ นนวัตกรรม
2.ทาการประเมินโครงการที่ได้ รับมอบหมาย
3.เป็ นผู้ส่ ือสารผลการประเมิน
4.เป็ นคนกลางระหว่ างนักวิจัยประยุกต์ กับฝ่ ายบริหาร
5.เป็ นที่ปฏิสัมพันธ์ กับผู้มีส่วนได้ ส่วนเสีย
6.เป็ นผู้ให้ คาปรึกษา
7.เป็ นผู้ให้ การศึกษา
8.เป็ นผู้อานวยความสะดวก
9.เป็ นหุ้นส่ วนการพัฒนา
10.เป็ นผู้ให้ แสงสว่ าง
ประเภทของผู้ประเมินผลโครงการ
1. ผู้ประเมินผลภายใน (Internal Evaluator)
ข้ อดี
ข้ อเสีย
• เป็ นผู้ค้ ุนเคยกับบริหารของ
โครงการ
• มีความเข้ าใจช่ องทางการสื่อสาร
• สามารถจัดเตรี ยมการประเมินผล
ให้ สอดคล้ องกับผู้ดาเนินโครงการ
• มีความคุ้นเคยกับรายละเอียด
โครงการ
• มีความสนใจและตระหนักต่ อ
ความสาเร็จของโครงการ
• เสียค่ าใช้ จ่ายน้ อย
• อาจมีอคติกับคณะดาเนินโครงการ
• อาจเป็ นผู้มีภาระงานอื่นๆ มาก
• อาจไม่ มีทกั ษะและความเชี่ยวชาญ
ในการประเมินผล
• อาจไม่ ให้ ความสนใจผลลัพธ์ ของ
โครงการอย่ างแท้ จริง
• อาจไม่ ให้ ความสนใจต่ อผลลัพธ์
ด้ านลบโดยไม่ คาดหวัง
2. ผู้ประเมินผลภายนอก (External Evaluator)
ข้ อดี
ข้ อเสีย
• อาจมีสมรรถนะในการประเมินผล
มาก
• นาความเป็ นวัตถุวสิ ัย (Objectivity)
จากภายนอกมาใช้ โดยไม่ มีอคติ
• อาจมีความสนใจในผลลัพธ์ ของ
โครงการมาก
• ให้ ความสาคัญต่ อการประเมินผล
• รั กษาชื่อเสียง เกียรติ และศักดิ์ศรี
ของคณะ และสถาบันของผู้
ประเมิน
• อาจใช้ เวลาในกากรทาความเข้ าใจ
และความต้ องการในการ
ประเมินผลนาน
• ขาดความสัมพันธ์ กับการดาเนิน
โครงการและขาดความสัมพันธ์ กับ
ผู้ดาเนินโครงการ
กระบวนการประเมินผลโครงการ
การประเมินผลโครงการควรกาหนดไว้ ใน “การเตรี ยมโครงการล่วงหน้ า”
ความมุง่ หมายการประเมินโครงการเพื่อความโปร่งใส ตรวจสอบได้ และมี
ความรับผิดชอบ
ต้ องมีการวางแผนและกระบวนการประเมินผลอย่างเป็ นระบบระเบียบแบบ
แผน
มีการระเมินโครงการประเมินผลหรื อ “การประเมินอภิมาน”
ขัน้ ตอนการวางแผนประเมินผลโครงการ
1. การกาหนดข้ อคาถาม (ต้ องการทราบเรื่ องอะไร?)
2. การกาหนดวัตถุประสงค์ (สอดคล้ องกับวัตถุประสงค์ โครงการ)
3. การกาหนดประเภทการประเมินผล (ประเมินก่ อน – หลัง)
4. การกาหนดวิธีการประเมินผล (ระเบียบวิธีการวิจัย)
5. การจัดทาโครงการประเมินผลโครงการ (ข้ อเสนอโครงการ)
การจัดทาข้ อเสนอโครงการประเมินโครงการ
1. ชื่อโครงการ
6. ระยะเวลาการ
ประเมินผล
2. ชื่อผู้ประเมินผล
หรื อชื่อหน่วยงาน
5.ระเบียบวิธีการ
ประเมินผล
3. หลักการและ
เหตุผล
4. วัตถุประสงค์
7. งบประมาณ
• เป็ นการประเมินคุณความดี
“เป็ นการประเมิน
ข้ อดี ความดีเลิศ (merit)
การประเมินผล
• เป็ นการประเมินคุณค่า
โครงการ เป็ นการ
(worth)
ประเมินเหนือการ
•
อาจมี
ก
ารประเมิ
น
อภิ
ม
านการ
ประเมิน
ประเมนผลโครงการ 1-3 ครัง้
1. การประเมิน
อภิมานก่ อนมี
การประเมิน
2. การประเมิน
อภิมานระหว่ าง
ดาเนินการ
ประเมิน
3. การประเมิน
อภิมานหลังการ
ดาเนินโครงการ
ประชากรและกลุ่มตัวอย่ างของการประเมินผล
ประชากร (Population)
หมายถึงหน่ วยที่จะศึกษา
ข้ อมูลทัง้ หมดซึ่งอยู่ในแต่ ละ
ท้ องที่ของโครงการ
กลุ่มตัวอย่ าง (Sample)
หมายถึง กลุ่มย่ อยส่ วนหนึ่ง
ของประชากรที่เราต้ องการ
ศึกษาข้ อมูล
ความสัมพันธ์ ของกลุ่มตัวอย่ างกับประชากร
เทคนิคการเลือกตัวอย่ าง
ประชากร
กลุ่มตัวอย่ าง
สถิตพิ รรณนา
สถิตอิ นุมาน
อนุมานประชากร
ทัง้ หมดเป็ นตัวอย่ าง
ศึกษาและผลการศึกษา
สรุ ปผลการศึกษา/
การประเมินผล
เทคนิคการเลือกกลุ่มตัวอย่ างแบบความน่ าจะเป็ น
(Probability Sampling)
2. การเลือกกลุ่ม
ตัวอย่ างแบบมี
ระบบ (Systemic
3. การเลือกกลุ่ม
ตัวอย่ างแบบแบ่ ง
ชัน้ (Stratified
Sampling)
Sampling)
1. การเลือกกลุ่ม
ตัวอย่ างแบบเชิงเดียว
(Simple Random
Sampling) จัดสลาก
ใช้ ตารางสุ่ม
4. การเลือกกลุ่ม
ตัวอย่ างแบบเกาะ
กลุ่ม (Cluster
Sampling)
เทคนิคการ
เลือกกลุ่ม
ตัวอย่ างแบบ
ความน่ าจะ
เป็ น
5. การเลือกลุ่ม
ตัวอย่ างแบบ
หลายชัน้ (Multistage Sampling)
เทคนิคการเลือกกลุ่มตัวอย่ างแบบไม่ มีความน่ าจะเป็ น
(Non-Probability Sampling)
2.
3. การเลือกกลุ่ม
(Quota Sampling)
Sampling)
การเลือกกลุ่ม
ตัวอย่ างแบบ
กาหนดจานวน
1. การเลือกกลุ่ม
ตัวอย่ างแบบบังเอิญ
(Accidental
Sampling)
ตัวอย่ างแบบ
เจาะจง(Purposive
เทคนิคการเลือก
กลุ่มตัวอย่ าง
แบบไม่ มีความ
น่ าจะเป็ น
4. การเลือกกลุ่ม
ตัวอย่ างแบบการ
จับคู่อย่ างมีระบบ
(Systematic
Matching Sampling)
เกณฑ์ การกาหนดขนาดกลุ่มตัวอย่ าง
1. ลักษณะของ
ประชากร
6. เครื่ องมือเก็บ
ข้ อมูล
2. ขนาดของ
ประชากร
5. ทรั พยากร
3. แบบของการ
ประเมินผล
4. ความเที่ยง
หลักการกาหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่ าง
1.การพิจารณาจากขนาดของประชากร
2.การคานวณจากสูตร เช่ น Taro Yamane
3.การใช้ ตาราง เช่ น ของ Taro Yamane และ Krejcie และ
Morgan
เครื่ องมือประเมินผลโครงการ
เครื่องมือประเมินผลโครงการ “เป็ นมาตรสาหรับวัดทัศนคติท่ เี ป็ น
ท่ าที หรือความรู้สึกของคนต่ อสิ่งต่ างๆ หรือโครงการ”
เมื่อสร้ างเครื่องมือแล้ วควรทดสอบความเชื่อถือได้ ของเครื่ องมือ
ก่ อนนาไปใช้
เทคนิคการวัดทัศนคติของลิเกิร์ต
มากทีส่ ุ ด
น้ อยทีส่ ุ ด
ข้ อความเชิงบวก
5
4
3
2
1
ข้ อความเชิงลบ
1
2
3
4
5
มากทีส่ ุ ด
น้ อยทีส่ ุ ด
เกณฑ์ การประเมิน ของ Best
1.00 - 1.50 = น้ อยที่สุด/ไม่ เห็นด้ วยอย่ างยิ่ง/ไม่ พอใจอย่ างยิ่ง
1.51 - 2.50 = น้ อย/ไม่ เห็นด้ วย/ไม่ พอใจ
2.51 - 3.50 = ปานกลาง/ไม่ แน่ ใจ/ไม่ มีความคิดเห็น
3.51 - 4.50 = มาก/เห็นด้ วยมาก/พอใจมาก
4.51 - 5.00 = มากที่สุด/เห็นด้ วยอย่ างยิ่ง/พอใจอย่ างยิ่ง
การกรอก
แบบสอบถาม
• มีคาแนะนาการใช้
แบบสอบถามจัดทา
ให้ สวยงาม คาถาม
สัน้ กะทัดรั ด ไม่ ยาว
มาก ใช้ เวลาตอบ
น้ อย
ประเภทคาถาม
• แบบเปิ ดหรื อ
ปลายเปิ ดและคาถาม
แบบปิ ด เช่ น คาถาม
เลือกตอบเพียง
คาตอบเดียว
เลือกตอบหลาย
คาตอบและคาถาม
จัดลาดับความสาคัญ
โครงสร้ างของ
แบบสอบถาม
• มีคาชีแ้ จงข้ อมูล
ส่ วนตัวส่ วนของ
ผู้ตอบและชุด
คาถามเกี่ยวกับ
ความคิดเห็นต่ อ
โครงการ
กระบวนการสร้ างแบบสอบถาม
1. ตรวจสอบ
ข้ อมูลที่ต้องการ
6. การทดสอบ
คุณภาพ
แบบสอบถาม
7.การบรรณาธิกร
แบบสอบถาม
2. การเขียนชุด
คาถาม
3. การเลือก
ประเภทของ
คาถาม
5. การตรวจ
แบบสอบถาม
4. การจัดทาร่ าง
แบบสอบถาม
การเก็บข้ อมูลประเมินผลโครงการ
ข้ อมูล (Data) หมายถึง
ข้ อเท็จจริงของสิ่งที่เราศึกษา
สาหรับค้ นหาคาตอบการ
ประเมินผลโครงการและการ
อภิปรายผลการประเมิน
การเก็บข้ อมูล (Data
Collection) เป็ นกระบวนการ
แสวงหาข้ อมูลที่ตอบสนอง
วัตถุประสงค์ การประเมินผล
โครงการ
ประเภทของข้ อมูล
1. ข้ อมูลปฐมภูมิ (Primary Data) เป็ นข้ อมูลที่นักประเมินผล
โครงการเก็บจากแหล่ งแรก ยังไม่ ได้ ผ่านการสังเคราะห์ เป็ นเอกสาร
ตาราหรื อผลงานวิจัย เช่ น การใช้ แบบสอบถามเก็บข้ อมูลจากกลุ่ม
ตัวอย่ างโดยตรง
2. ข้ อมูลทุตยิ ภูมิ (Secondary Data) เป็ นข้ อมูลสารสนเทศที่ได้
รวบรวมไว้ ในรู ปของวารสาร ตารา รายงานการประเมินผลโครงการ
เป็ นต้ น
ระดับของข้ อมูล
1. ข้ อมูลเชิงคุณภาพ
(Qualitative Data)
หรือข้ อมูลเชิง
คุณลักษณะ ไม่ เป็ น
ตัวเลขไม่ เป็ นจานวน
ที่เป็ นความถี่
• ข้ อมูลแบบมาตรานามบัญญัติ
(Nominal Seale) เช่ น เพศ ศาสนา
อาชีพ
• ข้ อมูลแบบมาตราเรียงลาดับ (Ordinal
Seale) อาทิ ลาดับความสวย ตาแหน่ ง
เช่ น ร้ อยโท ร้ อยเอก
ระดับของข้ อมูล
2. ข้ อมูลเชิงปริมาณ
(Quantitative Data)
• ข้ อมูลแบบมาตราอันตรภาค (Interval
Seale) จัดแบ่ งเป็ นช่ วงวัดได้ แน่ นอน
เช่ น คะแนนสอบ มาตรวัดทัศคติ
“ไม่ มีค่าเป็ นศูนย์ สมบูรณ์ ”
• ข้ อมูลแบบมาตราอัตราส่ วน (Ratio
Seale) เหมือนแบบมาตราอัตราภาค
“แต่ มีความเป็ นศูนย์ สมบูรณ์ ”
เช่ น ความสูง นา้ หนัก อายุ
1. การใช้
แบบสอบถาม
2. การสัมภาษณ์
4. กลุ่มสนทนา
3. การสังเกต
การเลือกสถิติ
วิเคราะห์ ข้อมูล
การเตรี ยมข้ อมูล
การนาเสนอข้ อมูล
การวิเคราะห์ ข้อมูล
นิยมคอมพิวเตอร์
และโปรแกรม
สาเร็จรู ปโดย
จะต้ องดาเนินการ
ดังนี ้
การแปลความ
ข้ อมูล
- ตรวจสอบข้ อมูล บรรณาธิกรข้ อมูลและแยกข้ อมูล
- การลงรหัส ทาสมุดลงรหัส และลงรหัส
- การบันทึกข้ อมูลในคอมพิวเตอร์
การวิเคราะห์ ข้อมูลด้ วยสถิตพ
ิ รรณนา
- การวัดแนวโน้ มสู่ส่วนกลาง
คือ ค่ าเฉลี่ย มัธยฐาน ฐานนิยม
- การวัดการกระจาย เช่ น พิสัย
ค่ าเบี่ยงเบนควอร์ ไทล์
ค่ าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ
สหสัมพันธ์
การวิเคราะห์ ข้อมูลด้ วยสถิตอิ นุมาน
- สถิตอิ งิ พารามิเตอร์ (Parametric
Statistics, เป็ นการทดสอบความ
แตกต่ างของกลุ่มตัวอย่ าง ได้ แก่
สถิติ t-test , Z-test , F-test
(ANOVA) (ข้ อมูลเป็ นค่ าเฉลี่ย)
- สถิตไิ ม่ องิ พารา (Non-parametric
Statistics) เป็ นการทดสอบว่ าตัว
แปร 2 ตัวเป็ นอิสระจากกันและกัน
หรื อไม่ เช่ น การทดสอบด้ วย
ไคสแควร์ (ข้ อมูลเป็ นความถี่)
การนาเสนอข้ อมูล
การนาเสนอข้ อมูลมีหลักการดังต่ อไปนี ้
1.เรี ยงลาดับการ
นาเสนอข้ อมูลให้
สอดคล้ องกับ
วัตถุประสงค์
การประเมินผล
โครงการ
2.นาเสนอข้ อมูลให้ 3.เลือกรู ปแบบการ 4.นาเสนอข้ อมูลให้
ถูกต้ องตามผลการ นาเสนอข้ อมูลที่
ชัดเจนและ
น่ าสนใจ และ
วิเคราะห์ ข้อมูล
กะทัดรัด
สอดคล้ องกับ
ประเภทข้ อมูล เช่ น
แผนภาพ กราฟ
ตาราง แผนภูมิ
การแปลความข้ อมูล
การแปลความข้ อมูล “เป็ นการแปลงความหมาย
จากภาษาคณิตศาสตร์ ภาษาสถิติ ที่เป็ นค่ าของข้ อมูลหรือ
ตัวเลข เขียนบรรยายเป็ นภาษาไทย (ภาษาหนังสือ) ในเชิง
ร้ อยแก้ วด้ วยภาษาไทย ที่คนทั่วไปอ่ านแล้ วเข้ าใจได้ ”
หลักการแปลความข้ อมูล
1. ความเที่ยง
2. ความเด่ นของข้ อมูล
3. ความสอดคล้ องกับมาตรวัด
4. การนาเสนอค่ าสถิตทิ ่ ีเหมาะสม
5. การหลีกเลี่ยงความคิดเห็นส่ วนตัว
6. การใช้ ภาษาไทยให้ ราบรื่ นสละสลวย
Thank You!