กระบวนการพยาบาล - มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี

Download Report

Transcript กระบวนการพยาบาล - มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี

กระบวนการพยาบาล
NURSING PROCESS
ดร. จันทร์ ทิรา เจียรณัย
สานักวิชาพยาบาลศาสตร์
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
เป้ าหมาย
• ผู้ป่วยปลอดภัย
• ผู้ป่วยพึงพอใจ
Commitment
พยาบาลแต่ ละคนจะให้ การพยาบาลทีท่ าให้ ผู้ป่วย
ปลอดภัยและพึงพอใจ
ทาอย่ างไร?
ใช้ สูตรสาเร็จวิชาชีพ
กระบวนการพยาบาล
วัตถุประสงค์
•
•
•
•
บอกความหมายของกระบวนการพยาบาลไดถู
้ กตอง
้
บอกความสาคัญของกระบวนการพยาบาลตอวิ
่ ชาชีพ
พยาบาลไดถู
้ กตอง
้
บอกประโยชนของกระบวนการพยาบาลต
อ
่
์
ผู้รับบริการ พยาบาลและวิชาชีพพยาบาลไดถู
้ กต้อง
อธิบายคุณลักษณะของกระบวนการพยาบาลทีท
่ าให้
การพยาบาลมีเอกลักษณที
่ ตกตางไปจากวิ
ชาชีพ
่
์ แ
อืน
่ ได้
วัตถุประสงค์
• อธิบายขัน
้ ตอนของกระบวนการพยาบาลไดถู
้ กตอง
้
ดังนี้
• จาแนกชนิดของขอมู
ถู
้ ลและยกตัวอยางประกอบได
่
้ กต้อง
• บอกส่วนประกอบของประวัตส
ิ ุขภาพตางๆ
ไดถู
่
้ กตอง
้
• อธิบายรูปแบบและโครงสรางของข
อวิ
ิ ฉัยการพยาบาล
้
้ นจ
ไดถู
้ กตอง
้
• อธิบายหลักการกาหนดขอวิ
ิ ฉัยการพยาบาลได้
้ นจ
• วิเคราะหข
ิ ฉัยการพยาบาลไดถู
้ ลและตัง้ ขอวิ
้ นจ
้ กตอง
้
์ อมู
สั มพันธกั
์ น
วัตถุประสงค์
• บอกขั้นตอนการวางแผนการพยาบาลได้ถกู ต้อง
• อธิบายและจัดลาดับความสาคัญของปัญหาได้
• กาหนดเป้ าหมาย เกณฑ์ประเมินผลการพยาบาลและกิจกรรมการพยาบาล
ได้สอดคล้องกับข้อวินิจฉัยการพยาบาล
• บอกขั้นตอนการปฏิบตั ิการพยาบาลได้
• บอกแนวทางการประเมินผลการพยาบาลได้
• ประยุกต์ใช้กระบวนการพยาบาลในการวางแผนการพยาบาลแก่
บุคคล ครอบครัวและชุมชนได้
แนวคิด
• ความหมาย ความสาคัญและขั้นตอนของกระบวนการพยาบาล
กระบวนการพยาบาลเป็ นเครื่ องมือที่สาคัญของพยาบาลใน
ปฏิบตั ิการพยาบาลเพื่อช่วยให้ผรู ้ ับบริ การได้บริ การที่มีคุณภาพ เป็ น
สิ่ งที่แสดงถึงการนาความรู ้ทางทฤษฎีไปสู่การปฏิบตั ิ มีความเป็ น
สากล มีความเป็ นพลวัตร ต่อเนื่องและสัมพันธ์กนั และต้องใช้
กระบวนการทางปัญญาในทุกๆ ขั้นตอน ซึ่ง ประกอบด้วย 5
ขั้นตอน คือ การประเมินภาวะสุ ขภาพ การวินิจฉัยการพยาบาล การ
วางแผนการพยาบาล การปฏิบตั ิการพยาบาลและการประเมินผล
ทางการพยาบาล
ความหมาย
กระบวนการพยาบาล
เป็ นการสารวจภาวะสุ ขภาพอนามัย
ของผู้รับบริการอย่ างมีระบบระเบียบ
ชี้บ่งความต้ องการพืน้ ฐาน
ของผู้รับบริการและกาหนดวิธีการปฏิบัติ
เพือ่ สนองความต้ องการ
กระบวนการพยาบาลจึงเป็ นกระบวนการทางาน
อย่ างมีเป้าหมาย
(ฟาริดา อิบราฮิม, 2541)
ความหมาย
กระบวนการพยาบาล เป็ นวิธีการ 5 ขั้นตอนที่เป็ นระบบระเบียบ
ในการดูแลผู้รับบริการ อันหมายถึง บุคคล ครอบครัวและชุ มชน
โดยเน้ นการบรรลุความต้ องการของผู้รับบริการ
อย่ างมีประสิ ทธิภาพและคุ้มค่ า
(Alfaro - Lefevre , 2002 )
ความหมาย
• กระบวนการพยาบาลเป็ นขั้นตอนของกิจกรรมที่กาหนดขึ้นเพื่อให้
บรรลุเป้ าหมายทางการพยาบาลที่ตอ้ งการจะดารงภาวะสุ ขภาพดีของ
ผูร้ ับบริ การ ถ้าผูร้ ับบริ การป่ วยก็จะให้การดูแลที่มีคุณภาพเพื่อให้
ผูร้ ับบริ การกลับสู่สภาพสุ ขภาพดี แต่ถา้ ให้กลับสู่ สภาวะสุ ขภาพดีไม่
สาเร็ จก็ให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีที่สุดตามศักยภาพของผูร้ ับบริ การแต่ละ
คนเท่าที่เขาจะเป็ นไปได้ Yura and Walsh (1983)
ความหมาย
• กระบวนการพยาบาลไว้วา่ เป็ นกระบวนการที่พยาบาลวิชาชีพใช้ใน
การแก้ปัญหาสุ ขภาพของผูร้ ับบริ การอย่างเป็ นระบบและมีข้นั ตอนที่
ต่อเนื่องตามหลักวิทยาศาสตร์ ซึ่งประกอบด้วยการประเมินสุ ขภาพ
การวินิจฉัยปัญหา การวางแผนแก้ปัญหา การนาแผนไปปฏิบตั ิและ
การประเมินผลการปฏิบตั ิการใช้กระบวนการพยาบาลเป็ นแนวทาง
ในการปฏิบตั ิการพยาบาลซึ่งจะช่วยให้ผรู ้ ับบริ การได้รับการดูแล
อย่างมีคุณภาพและเป็ นการแสดงออกถึงความเป็ นเอกลักษณ์และ
ความเป็ นวิชาชีพของการพยาบาล พรศิริ พันธศรี (2552)
สรุ ป
กระบวนการที่พยาบาลใช้เป็ นเครื่ องมือในการดูแลผูร้ ับบริ การ
ครอบครัวและชุมชนโดยมีข้นั ตอนตามหลักวิทยาศาสตร์ แสดงให้
เห็นความเป็ นวิชาชีพภายใต้ความเชื่อ ความรู ้จากศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง
ซึ่งประกอบด้วย การประเมินภาวะสุ ขภาพ การวินิจฉัยการพยาบาล
การวางแผนการพยาบาล การปฏิบตั ิการพยาบาลและการประเมินผล
ลัพธ์ทางการพยาบาล เพื่อส่ งเสริ มสุ ขภาพในผูท้ ี่สุขภาพดี ป้ องกันและ
แก้ไขหรื อบรรเทาปัญหาสุ ขภาพให้ผทู ้ ี่มีปัญหาสุ ขภาพหรื อมี
แนวโน้มจะเกิดปัญหาขึ้น ในการดารงภาวะสุ ขภาพ
ความสาคัญของกระบวนการพยาบาล
ต่ อวิชาชีพพยาบาล
• กระบวนการพยาบาลเป็ นเครื่ องมือที่สาคัญสาหรับพยาบาลในการ
ค้นหาปัญหาและความต้องการของผูร้ ับบริ การ และเป็ นสิ่ งที่แสดง
ถึงการนาความรู ้ทางทฤษฎีไปสู่การปฏิบตั ิ กระบวนการพยาบาลจึง
เป็ นการจัดระบบระเบียบการให้บริ การทางการพยาบาล ในอเมริ กา
ได้ให้ความสาคัญกับกระบวนการพยาบาลโดยนามาใช้ในการสอบ
เพื่อขึ้นทะเบียนประกอบวิชาชีพการพยาบาล (Register nurse: RN)
คนในวิชาชีพพยาบาล
ความรู้ คู่ คุณธรรม
• ภูมิค้ ุมกันวิชาชีพพยาบาล
• ภูมิคุ้มกันคนในวิชาชีพพยาบาล
ความสาคัญของกระบวนการพยาบาล
ต่ อวิชาชีพพยาบาล
• ข้อวินิจฉัยการพยาบาลทาให้พยาบาลสามารถตัดสิ นใจให้การพยาบาล
อย่างเฉพาะเจาะจงได้ และทาให้การสื่ อสารระหว่างบุคลากรในทีม
สุ ขภาพที่ดีส่งเสริ มให้เกิดการดูแลผูร้ ับบริ การอย่างมีประสิ ทธิภาพ
• สาหรับในประเทศไทยได้มีประกาศตราพระราชบัญญัติวิชาชีพ
พยาบาลขึ้นหลังการแก้ไขรัฐธรรมนูญปี พ.ศ.2540 ซึ่งประกาศให้
พยาบาลวิชาชีพในประเทศไทยใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแล
ผูร้ ับบริ การเพื่อให้บริ การพยาบาลที่มีคุณภาพและสามารถประกัน
คุณภาพการพยาบาลได้ (พรศิริ พันธศรี , 2552)
ความสาคัญของกระบวนการพยาบาลต่ อวิชาชีพ
การรับรองคุณภาพมาตรฐาน HA
กับ
มาตรฐานสภาการพยาบาล
มาตรฐาน HA : สภาการพยาบาล
มาตรฐานการพยาบาลและการผดุงครรภ์
พ.ศ.2544
ข้ อ 3 มาตรฐานการปฏิบัติการพยาบาล
ฯ เป็ นการปฏิบัตทิ มี่ ีเป้าหมายหลักเพือ่ ให้
ผู้รับบริการมีภาวะสุ ขภาพทีด่ ที สี่ ุ ดตาม
ศักยภาพของแต่ ละบุคคล ปัญหาสุ ขภาพ และ
ปัญหาที่เกีย่ วข้ องได้ รับการแก้ไขโดยพยาบาล
ฯ ต้ องปฏิบัติตามมาตรฐานการปฏิบัติการ
พยาบาลฯ 5 มาตรฐานดังนี้
มาตรฐาน HA
มาตรฐาน HA : สภาการพยาบาล
มาตรฐานการพยาบาลและการผดุง
ครรภ์ พ.ศ.2544
มาตรฐานที่ 1 การใช้ กระบวนการ
พยาบาลในการปฏิบัติการพยาบาลฯ
ต้ องใช้ กระบวนการพยาบาลแก่
ผู้รับบริการอย่ างเป็ นองค์ รวมทั้งใน
ระดับบุคคล กลุ่มบุคคล ครอบครัว และ
ชุ มชน ตามศาสตร์ และศิลปะการ
พยาบาลในด้ านการส่ งเสริมสุ ขภาพ
การป้ องกันโรค การรักษาพยาบาล และ
การฟื้ นฟูสภาพ โดยผู้รับบริการมีส่วน
ร่ วมอย่างเหมาะสม และมีการประสาน
ความร่ วมมือในทีมการพยาบาลและ
ทีมสหสาขาวิชา
มาตรฐาน HA
NUR.3 (2) พยาบาลวิชาชีพทุกคนมี
ความรู้ ความสามารถในการปฏิบัติงาน
เชิงวิชาชีพเป็ นอย่างดี ใช้ กระบวนการ
พยาบาลเป็ นแนวทางในการปฏิบัติงาน
GEN.8.1 มีการทางานร่ วมกันเป็ นทีม
ระหว่ างสาขาวิชาชีพต่ างๆ
มาตรฐาน HA : สภาการพยาบาล
มาตรฐานการพยาบาลและการผดุง
ครรภ์ พ.ศ.2544
มาตรฐานที่ 2 การรักษาสิ ทธิผ้ ปู ่ วย
จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ
ยึดหลักคุณธรรม จริยธรรม และ
จรรยาบรรณวิชาชีพในการปฏิบัติการ
พยาบาลฯ รวมทั้งการปฏิบัตเิ พือ่
ปกป้องและรักษาไว้ ซึ่งสิ ทธิที่เกีย่ วข้ อง
กับสุ ขภาพและการรักษาพยาบาลของ
ผู้รับบริการ
มาตรฐาน HA
ETH.1 เจ้ าหน้ าทีท่ ุกคนของ
โรงพยาบาลตระหนักและเคารพในสิ ทธิ
ของผู้ป่วยทุกคน โดยไม่ คานึงถึงอายุ
เพศ เชื้อชาติ ศาสนา
มาตรฐาน HA : สภาการพยาบาล
มาตรฐานการพยาบาลและการผดุง
ครรภ์ พ.ศ.2544
มาตรฐานที่ 3 การพัฒนาคุณภาพการ
ปฏิบัติการพยาบาลฯ
ปฏิบัติการพยาบาลฯ บนพืน้ ฐาน
ของศาสตร์ ทางการพยาบาลและศาสตร์
ทีเ่ กีย่ วข้ องทีท่ นั สมัย โดยยึด
ผู้รับบริการเป็ นศูนย์ กลาง มีการ
ทบทวน ประเมินกระบวนการการดูแล
ผู้รับบริการอย่ างเป็ นระบบ มีการนา
ความรู้ จากการวิจัยมาประยุกต์ ใช้ ในการ
ปฏิบัติ เพือ่ พัฒนาคุณภาพการ
ปฏิบัติการพยาบาลฯ อย่างต่ อเนื่อง
มาตรฐาน HA
GEN.8 มีระบบงาน/กระบวนการ
ให้ บริการทีม่ ีประสิ ทธิภาพตาม
มาตรฐานวิชาชีพ และตอบสนองความ
ต้ องการของผู้ป่วยแต่ ละราย
NUR.7 มีกจิ กรรมติดตามประเมินและ
พัฒนาคุณภาพของบริการพยาบาล โดย
การทางานเป็ นทีม และมีการพัฒนา
อย่างต่ อเนื่อง
GEN.9.3 มีการนามาตรฐานแห่ ง
วิชาชีพ และความรู้ ทมี่ หี ลักฐานทาง
วิทยาศาสตร์ (evidence-based) เข้ า
มาร่ วมเป็ นพืน้ ฐานสาหรับกิจกรรม
คุณภาพ
มาตรฐาน HA : สภาการพยาบาล
มาตรฐานการพยาบาลและการผดุง
ครรภ์ พ.ศ.2544
มาตรฐานที่ 4 การจัดการ การดูแล
ต่ อเนื่อง
ให้ ผ้ รู ับบริการได้ รับการดูแลที่
สอดคล้ องกับภาวะสุ ขภาพอย่ าง
ต่ อเนื่อง โดยมีการวางแผนร่ วมกับทีม
สุ ขภาพ ผู้รับบริการ และ/หรือ
ผู้เกีย่ วข้ อง เพือ่ พัฒนาศักยภาพของ
ผู้รับบริการในการดูแลตนเอง และ
สามารถใช้ แหล่ งประโยชน์ ในการดูแล
ตนเองอย่างเหมาะสม
มาตรฐาน HA
GEN.8.7 มีกระบวนการที่จะช่ วยให้
ผู้ป่วยกลับไปใช้ ชีวติ ปกติกบั ครอบครัว
ได้ เร็วทีส่ ุ ด
มาตรฐาน HA : สภาการพยาบาล
มาตรฐานการพยาบาลและการผดุง
ครรภ์ พ.ศ.2544
มาตรฐานที่ 5 การบันทึกและรายงาน
บันทึกและรายงานการพยาบาลฯ ให้
ครอบคลุมการดูแลผู้รับบริการตาม
กระบวนการพยาบาล โดยครบถ้ วน
ถูกต้ องตามความเป็ นจริง ชัดเจน
กะทัดรัด มีความต่ อเนื่องและสามารถ
ใช้ เพือ่ ประเมินคุณภาพบริการพยาบาล
ฯ ได้ ดงั ต่ อไปนี้
มาตรฐาน HA
GEN.8.6 มีการบันทึกข้ อมูลผู้ป่วย
ปัญหาของผู้ป่วย แผนการดูแลรักษา
การปฏิบัติตามแผน และผลลัพธ์ ที่
เกิดขึน้ เพือ่ ให้ เกิดการสื่ อสารที่ดี
ระหว่ างทีมงานผู้ให้ บริการและเกิด
ความต่ อเนื่องในการดูแลรักษา
ประโยชน์ ของกระบวนการพยาบาล
ความสาคัญของกระบวนการพยาบาล
• ผู้รับบริการ
• พยาบาล
• วิชาชีพพยาบาล
ผู้รับบริการ
• ตอบสนองความต้ องการของผู้รับบริการเฉพาะราย
• ส่ งเสริมให้ ผู้รับบริการมีส่วนร่ วมในการดูแลตนเองรวมถึง
การส่ งเสริมสุ ขภาพป้องกัน หรือแก้ ไขปัญหา
• ได้ รับการดูแลอย่ างต่ อเนื่อง
• ช่วยป้ องกันการละเลยการพยาบาลและการพยาบาลซ้ าซ้อน
• เกิดความพึงพอใจ
พยาบาล
• ช่วยให้พยาบาลมีความพึงพอใจในงาน อันเนื่องมาจากการปฏิบตั ิ
พยาบาลเป็ นระบบ
• ช่วยให้พยาบาลเกิดการเรี ยนรู ้อย่างต่อเนื่อง ในการค้นคว้า และ
พัฒนาตนเองทั้งด้านความรู ้และทักษะการปฏิบตั ิการพยาบาล
โดยเฉพาะทักษะในการคิดอย่างมีวิจารณญาณ (Critical thinking)
ใช้ความรู ้ความสามารถอย่างเป็ นวิทยาศาสตร์ในการแก้ไขปัญหา
• ช่วยเพิ่มความมัน่ ใจในตนเองในการปฏิบตั ิภารกิจทางการพยาบาล
โดยมีการรวบรวมข้อมูล ตัดสิ นในทางการพยาบาล
พยาบาล
• ช่วยให้พยาบาลสามารถวางแผนและมอบหมายงานให้แก่ทีมการ
พยาบาลเพื่อดูแลผูร้ ับบริ การเฉพาะรายได้อย่างเหมาะสมกับ
สถานการณ์การเจ็บป่ วยของผูร้ ับบริ การ
• ช่วยให้พยาบาลใช้เป็ นแนวทางในการสร้างมาตรฐานในการ
ปฏิบตั ิการพยาบาลที่เป็ นแนวปฏิบตั ิที่ดี (Best practice)
วิชาชีพ
•
•
•
•
ช่วยส่ งเสริ มการทางานร่ วมกันเป็ นทีม
เพิ่มคุณค่าการพยาบาล / วิชาชีพ
สร้างมาตรฐาน/เอกลักษณ์ของวิชาชีพ
ช่วยส่ งเสริ มให้มีการพัฒนาการวิจยั ทางการพยาบาลมากขึ้นซึ่งทาให้
วิชาชีพพยาบาลมีความก้าวหน้าและเป็ นแนวทางในการพัฒนา
มาตรฐานการพยาบาลในด้านต่างๆ ต่อไป
คุณลักษณะของกระบวนการพยาบาล
• เป็ นพลวัตรและวงจร (Dynamic and Cyclic)
• ผูร้ ับบริ การเป็ นศูนย์กลาง (Client – center)
• มีการวางแผนและกาหนดเป้ าหมายที่ชดั เจน (Planned and
goal directed)
• เป็ นสากล (Universally application) และมีความยืดหยุน่
(Flexibility)
• เป็ นกระบวนการทางปัญญา (Cognitive process)
ปฏิสัมพันธ์ ระหว่ างพยาบาลและผู้ป่วยหรือผู้รับบริการ
โดยผ่ านกระบวนการพยาบาล
การประเมิน การกาหนดปัญหา/ข้ อวินิจฉัยทางการพยาบาล การวางแผนการพยาบาล
การให้ การพยาบาลตามแผน การประเมินผลการปฏิบัติพยาบาล
The Heart of Nursing Process Expertise
Knowledge
( what to,
why to)
Skills
( how to )
Nursing
Process
Expertise
Caring
( willing to,
able to )
ดร. ยุวดี เกตสั มพันธ์
เปรียบเทียบกระบวนการพยาบาลและกระบวนการแพทย์
กระบวนการพยาบาล
กระบวนการแพทย์
• พิจารณาการตอบสนองทั้งด้ าน
ร่ างกายและจิตใจของผู้ป่วย/
ครอบครัวทีเ่ ป็ นผลจากการ
ทางานของระบบในร่ างกายหรือ
อวัยวะ
• เน้ นการสอนผู้ป่วยรายบุคคล
หรือรายกลุ่มเพือ่ ให้ ผู้ป่วย
สามารถมีกจิ กรรมใน
ชีวติ ประจาวันได้ ด้วยตัวเอง
• พิจารณาการทางานของระบบใน
ร่ างกายหรืออวัยวะ
• เน้ นการสอนทีเ่ กีย่ วกับโรคและ
การรักษา
เปรียบเทียบกระบวนการพยาบาลและกระบวนการแพทย์
กระบวนการพยาบาล
กระบวนการแพทย์
• ปรึกษาแพทย์ เพือ่ ให้ การรักษา
โรค
• ปรึกษาพยาบาลในการวาง
แผนการดูแลเพือ่ ให้ ผู้ป่วยมี
กิจกรรมในชีวติ ประจาวันได้
• มักเกีย่ วข้ องกับผู้ป่วยเฉพาะราย
บางครั้งทีจ่ ะเกีย่ วข้ องกับญาติ/
ผู้ดูแล
• มักเกีย่ วข้ องกับตัวผู้ป่วยทั้ง
รายบุคคล ครอบครัว ผู้ดูแล และ
ญาติ
เปรียบเทียบกระบวนการพยาบาลและกระบวนการแพทย์
กระบวนการพยาบาล
กระบวนการแพทย์
• อธิบายการตอบสนองของ
ผู้รับบริการต่ อโรค
• อธิบายกระบวนการเฉพาะโรค
• เน้ นปัจเจกบุคคล
• เน้ นทีพ่ ยาธิสภาพของโรค
• เปลีย่ นแปลงได้ เมื่อการ
ตอบสนองของผู้รับบริการ
เปลีย่ น
• ไม่ เปลีย่ นแปลงคงอยู่เช่ นนี้
จนกว่ าจะหายเจ็บป่ วย
เปรียบเทียบกระบวนการพยาบาลและกระบวนการแพทย์
กระบวนการพยาบาล
กระบวนการแพทย์
• นาไปสู่ กจิ กรรมการพยาบาลที่
เป็ นอิสระทั้งการวางแผน การ
ปฏิบตั ิและการประเมินผล
• นาไปสู่ การรักษา ซึ่งบางกิจกรรม
มีพยาบาลช่ วยทา
• ยังไม่ มีการจัดระบบ หมวดหมู่ที่
ยอมรับกันโดยทัว่ ไป แต่ กาลังอยู่
ในระหว่ างการพัฒนาระบบ
ดังกล่ าว
• มีการจัดระบบ หมวดหมู่ทชี่ ัดเจน
เป็ นทีย่ อมรับโดยทัว่ ไปในกลุ่ม
วิชาชีพเดียวกัน
ความสั มพันธ์ ของกระบวนการ 5 ขั้นตอน
Assessment
เป็ นขั้นตอนแรกของกระบวนการพยาบาลที่สาคัญ
เพือ่ เก็บรวบรวมข้ อมูลอย่ างมีระบบ ในการค้ นหา
ปัญหาและความต้ องการของผู้รับบริการ
ชนิดของข้ อมูล
• ข้อมูลอัตนัย (subjective data): เป็ นข้อมูลที่ได้จากการ
บอกเล่าของผูร้ ับบริ การหรื อบุคคลที่เกี่ยวข้อง
• ข้อมูลปรนัย (objective data): เป็ นข้อมูลที่ได้จากการ
สังเกต การตรวจร่ างกาย ผลการตรวจทางห้องทดลอง รวมทั้งการ
บันทึกต่างๆ ของทีมสุ ขภาพ
แหล่ งข้ อมูล
•แหล่งข้ อมูลปฐมภูมิ
•แหล่งข้ อมูลทุตยิ ภูมิ
ตัวอย่ างข้ อมูลอัตนัยและข้ อมูลปรนัย
(Subjective data)
(Objective data)
-
-
-
-
40
160
BMI = 15.63
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
750
8
50 – 100 cell/HPF
38.3
100 / 60 mmHg
3
30
/
70 / 80
/
ขั้นตอนในการประเมินสภาพ
• การเก็บรวบรวมข้ อมูล (Data Collection)
• การจัดระบบข้ อมูล (Data Organization)
• การบันทึกข้ อมูล (Data Recording)
การเก็บรวบรวมข้ อมูล (Data Collection)
•
•
•
•
การสั งเกต
การสั มภาษณ์ (การซักประวัติสุขภาพ)
การตรวจร่ างกาย
การตรวจทางห้ องปฏิบัติการ / รายงานผู้ป่วย
การจัดระบบข้ อมูล
• ขึ้นอยูก่ บั กรอบแนวคิดหรื อทฤษฎีการพยาบาลที่
พยาบาลใช้เป็ นแนวทางในการปฏิบตั ิ
การวินิจฉัยการพยาบาล (Nursing Diagnosis)
“เป็ นการกาหนดข้ อความทีแ่ สดงถึงภาวะสุ ขภาพ หรือ
การตอบสนองต่ อการเปลีย่ นแปลงภาวะสุ ขภาพ
ของผู้รับบริการทั้งด้ านร่ างกาย และจิตใจ สั งคม และ
จิตวิญญาณ ทั้งทีเ่ ป็ นอยู่ในปัจจุบัน หรือกาลังจะเกิดขึน้
จากการวิเคราะห์ ข้อมูลทีเ่ ก็บรวบรวมได้ จากผู้รับบริการ
ให้ แนวทางในการปฏิบัตกิ จิ กรรมการพยาบาล
ซึ่งเป็ นกิจกรรมที่พยาบาลสามารถ
ทาได้ ตามกฎหมาย”
การวินิจฉัยการพยาบาล (Nursing Diagnosis)
“เป็ นการตัดสิ นใจทางคลินิกเกีย่ วกับ
การตอบสนองของบุคคล ครอบครัว หรือชุมชน
การตอบสนองต่ อปัญหาสุ ขภาพ และกระบวนการ
ของชีวติ ที่เกิดขึน้ หรืออาจเกิดขึน้
ซึ่งให้ แนวทางในการปฏิบัตกิ จิ กรรมการพยาบาล
เพือ่ ให้ บรรลุผลการพยาบาลทีพ่ ยาบาล
รับผิดชอบ”
( NANDA , 2003 )
การกาหนดข้ อวินิจฉัยทางการพยาบาล
• เป็ นการหาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะสุ ขภาพกับปัจจัยที่เกี่ยวข้อง
กับภาวะสุ ขภาพ
• เป็ นกระบวนการที่สาคัญ เพราะทาให้พยาบาลทราบแนวทางในการ
ให้การพยาบาลเพื่อแก้ไข หรื อส่ งเสริ มภาวะสุ ขภาพนั้น
• การกาหนดข้อวินิจฉัยการพยาบาลมีได้หลายรู ปแบบอาจใช้
วิจารณญาณกาหนด โดยพิจารณาความเกี่ยวข้องกับข้อวินิจฉัยทางการ
พยาบาล
• อาจใช้ NANDA’list (Nanda definition and classification 2009-2011,
www.nanda.org)
ความแตกต่างระหว่างการวินิจฉัยการพยาบาล
และการวินิจฉัยของแพทย์
1.
1.
2.
2.
–
3.
3.
4.
4.
5.
5.
–
ประโยชน์ และความสาคัญ
•
•
•
•
•
ทาให้การบริ การพยาบาลมีประสิ ทธิภาพ และมีความเป็ นมาตรฐาน
ทาให้เห็นบทบาทอิสระของพยาบาลวิชาชีพได้ชดั เจนขึ้น
ใช้เป็ นหลักฐานในการให้การพยาบาล
ใช้เป็ นสื่ อกลางในการติดต่อสื่ อสารระหว่างทีมการพยาบาล
เป็ นข้อมูลสาหรับการประกันคุณภาพและมาตรฐานการพยาบาล
การวินิจฉัยการพยาบาล
การเก็บรวบรวมข้ อมูล
การจัดระบบข้ อมูล
การบันทึกข้ อมูล
ตีความ
แปลความ
สรุปความ
กาหนดภาวะ
สุ ขภาพ
กาหนดปัญหา
การวินิจฉัยการพยาบาล
การดาเนินการเกีย่ วกับข้ อมูล
จัดหมวดหมู่
กลุ่มอาการ
อาการแสดง
วิเคราะห์
ข้ อมูล
แปลข้ อมูล
เปรียบเทียบ
กับมาตรฐาน
ปกติวสิ ั ย
ตัวอย่ าง
ข้ อมูล
ภาวะปกติ(ทฤษฎี )
การแปลความข้ อมูล
- นน.ลด 5 กก.ใน 1เดือน
- อาเจียนเป็ นเศษอาหาร
ทุกครั้งหลังทานอาหาร
- เยือ่ บุตา เล็บ ซีด
- Lab. Alb = 2.0
- นน.ลดไม่ เกิน 0.5 กก./W
- อาหารมีการย่อย/ดูดซึม
หลังรับประทานอาหาร
- เยือ่ บุตา เล็บ สี ชมพู
- Alb = 3.5 - 4.5
- นน. ตัวลดผิดปกติ
- มีความผิดปกติเกีย่ วกับ
การย่อย/ดูดซึม
- มีภาวะซีด
- ขาดโปรตีน
ได้ รับสารอาหารไม่ เพียงพอเนื่องจากการย่ อยและการดูดซึมผิดปกติ
ตัวอย่ าง
ข้ อมูล
ภาวะปกติ(ทฤษฎี )
การแปลความข้ อมูล
- นอนนิ่งท่ าเดียวนาน ๆ - เปลีย่ นท่ านอนได้
- เคลือ่ นไหวร่ างกายซีก บ่ อยครั้ง
ซ้ ายไม่ ได้
- เคลือ่ นไหวร่ างกายได้ ดี
- เริ่มมีรอยแดงบริเวณก้น
กบ
- มีความผิดปกติเกีย่ วกับ
การเคลือ่ นไหวร่ างกาย
- เริ่มมีการเปลีย่ นแปลง
ของผิวหนังบริเวณก้ น
กบ
มีแผลกดทับ ระดับ 1 เนื่องจากเคลือ่ นไหวร่ างกายได้ น้อย
การกาหนดภาวะสุ ขภาพ
• สุ ขภาพดี / ไม่ มปี ัญหาสุ ขภาพ
• สุ ขภาพไม่ ดี / มีปัญหาสุ ขภาพ
• Possible Problem (อาจเกิด)
• Potential Problem (เสี่ ยงต่ อการเกิด)
• Actual Problem (เกิดขึน้ แล้ ว)
การกาหนดข้ อวินิจฉัยทางการพยาบาลตาม
ลักษณะของข้ อมูล (NANDA)
• Actual Diagnoses: มีขอ้ มูลหลักฐานแสดงอาการ อาการแสดง
ชัดเจน
• Risk/Potential Diagnosis: ปัญหาที่ยงั ไม่ปรากฏอาการ แต่มีขอ้ มูล
สนับสนุนและปัจจัยเกี่ยวข้องกับตัวผูป้ ่ วยว่าจะเกิดขึ้น ถ้าพยาบาล
ไม่ระมัดระวัง ป้ องกัน หรื อแก้ไข
• Possible Diagnosis: ปัญหาที่คิดว่าน่าจะเกิดขึ้นตามวิจารณญาณจาก
ประสบการณ์และความรู ้ทางการพยาบาล แต่ยงั ไม่มีขอ้ มูล
สนับสนุนเพียงพอ
สุ ขภาพดี / ไม่ มปี ัญหาสุ ขภาพ
ตัวอย่ าง
•
•
•
•
รับประทานอาหารครบ 5 หมู่ ทุกวัน
ออกกาลังกายสม่าเสมอ
ร่ างกายแข็งแรง สดชื่น
ไม่ เคยเจ็บป่ วยด้ วยโรคร้ ายแรง
สุ ขภาพดีเนื่องจากสนใจดูแลตนเอง
สุ ขภาพดี / ไม่ มปี ัญหาสุ ขภาพ
ตัวอย่ าง
• มารดาหลังคลอด 20 วัน
• ทาความสะอาดหัวนมและเต้ านมตนเอง
ก่ อนและหลังให้ นมบุตร
• เลีย้ งทารกด้ วยนมแม่ ต้งั แต่ หลังคลอด
มารดามีความรู้ และสามารถปฏิบัตติ นในการให้ นมบุตร
สุ ขภาพไม่ ดี / มีปัญหาสุ ขภาพ
ตัวอย่ าง
• ได้ รับการผ่ าตัดไส้ ติ่งมา 1 วัน
• บอกวิธีเกีย่ วกับการดูแลบาดแผลไม่ ได้
• ผู้ป่วยบอกว่ าไม่ เคยผ่ าตัดมาก่ อน
อาจเกิดการติดเชื้อทีแ่ ผลผ่ าตัดเนื่องจากขาดความรู้ ฯ
สุ ขภาพไม่ ดี / มีปัญหาสุ ขภาพ
ตัวอย่ าง
• ได้ รับการผ่ าตัดไส้ ติ่งมา 3 วัน
• มีส่ิ งคัดหลัง่ ซึมเปื้ อนบริเวณแผล
เสี่ ยงต่ อเกิดการติดเชื้อบริเวณแผลผ่ าตัด
เนื่องจากมีสิ่งคัดหลังซึมเปื้ อนบริเวณแผลตลอดเวลา
สุ ขภาพไม่ ดี / มีปัญหาสุ ขภาพ
ตัวอย่ าง
•
•
•
•
•
•
ได้ รับการผ่ าตัดไส้ ติ่งมา 5 วัน
แผลผ่ าตัดแยก มีกลิน่ เหม็น
พบหนองไหลซึมจากแผล
มีไข้ T=38.5 องศาเซลเซียส
ผลการตรวจเลือดพบ WBC=25,000cells/cu.mm3
ใช้ มือสั มผัสแผลบ่ อยครั้งและแผลโดนนา้
มีการติดเชื้อที่แผลผ่ าตัด
เนื่องจากใช้ มือสั มผัสแผลบ่ อยครั้ง และแผลโดนนา้
รูปแบบของข้ อวินิจฉัยการพยาบาล
ข้ อความส่ วนเดียว
ONE - PART STATEMENT
แสดงบทบาทมารดาเหมาะสม
ข้ อความสองส่ วน
TWO - PART STATEMENT
PROMBLEM + ETIOLOGY
ความทนทานในการทากิจกรรมลดลงเนื่องจาก
ปริมาณเลือดที่ออกจากหัวใจฯลดลง
ข้ อความสามส่ วน
( PES FORMAT )
PROMBLEM + ETIOLOGY + SYMTOMS & SIGNS
ความทนทานในการทากิจกรรมลดลงเนื่องจาก
ปริมาณเลือดที่ออกจากหัวใจฯลดลงสั มพันธ์ กบั หัวใจเต้ นผิดจังหวะ
แนวทางในการเขียนข้ อวินิจฉัยการพยาบาล
• ใช้ ข้อความทีเ่ ป็ นผลการตอบสนองต่ อภาวะสุ ขภาพ
ไม่ ใช่ ความต้ องการรักษา
X ต้ องการสารอาหารเพิม่ ขึน้ เนื่องจาก…
 ได้ รับสารอาหารไม่ เพียงพอ เนื่องจาก…
X ต้องการดูดเสมหะเนื่องจากมีเสมหะมาก
 มีโอกาสได้รับออกซิเจนไม่เพียงพอเนื่องจากมีเสมหะคัง่ ใน
ปอด
แนวทางในการเขียนข้ อวินิจฉัยการพยาบาล
• ใช้ เนื่องจากเชื่อมข้ อความทั้งสองส่ วน ของข้ อวินิจฉัยฯ
• ใช้ ข้อความทีไ่ ม่ เสี่ ยงต่ อความผิดทางกฎหมาย
X มีภาวะพร่ อง O2 เนื่องจาก ทางเดินหายใจอุดกั้น
 มีภาวะพร่ อง O2 เนื่องจาก มีความบกพร่ องในการทาทางเดิน
หายใจให้ โล่ง
X อาจเกิดแผลกดทับที่กน้ กบเนื่องจากนอนท่าเดียวนานๆ
X อาจเกิดแผลกดทับที่กน้ กบเนื่องจากไม่ได้พลิกตะแคงตัว
อาจเกิดแผลกดทับที่กน้ กบเนื่องจากเคลื่อนไหวร่ างกายได้
น้อย
แนวทางในการเขียนข้ อวินิจฉัยการพยาบาล
• หลีกเลีย่ งการเขียนโดยการตัดสิ นคุณค่ าใช้ ค่านิยมหรือมาตรฐาน
ของตัวพยาบาล
X อนามัยส่ วนบุคคลไม่ ดี เนื่องจากขีเ้ กียจ
 อนามัยส่ วนบุคคลไม่ ดี เนื่องจากอยู่ในภาวะหมดหวัง
แนวทางในการเขียนข้ อวินิจฉัยการพยาบาล
• หลีกเลีย่ งการสลับข้ อความ
X ปริมาณเลือดออกจากหัวใจลดลง เนื่องจากความทนต่ อ
กิจกรรมลดลง
 ความทนต่ อกิจกรรมลดลง เนื่องจากปริมาณเลือดออกจาก
หัวใจลดลง
อยูใ่ นภาวะได้รับสิ่ งกระตุน้ มากเกินไป เนื่องจากนอน
หลับไม่เพียงพอ
 แบบแผนการนอนหลับถูกรบกวน เนื่องจากมีสิ่งกระตุน้
มากเกินไป
X
แนวทางในการเขียนข้ อวินิจฉัยการพยาบาล
• ไม่ ใช้ อาการและอาการแสดงเป็ นส่ วนแรกของข้ อวินิจฉัยฯ
X กระสั บกระส่ าย เนื่องจากสิ่ งแวดล้ อมเปลีย่ นแปลง
 ปรับตัวไม่ ได้ เนื่องจากสิ่ งแวดล้ อมเปลีย่ นแปลง
แนวทางในการเขียนข้ อวินิจฉัยการพยาบาล
• ข้ อความทั้งสองส่ วนต้ องไม่ ใช่ สิ่งเดียวกัน
X รับประทานอาหารไม่ ได้ เนื่องจากมีปัญหาในการ
รับประทาน
 รับประทานอาหารไม่ ได้ เนื่องจากมีแผลในปาก
แนวทางในการเขียนข้ อวินิจฉัยการพยาบาล
• ข้ อความทั้งสองส่ วนเป็ นสิ่ งที่พยาบาลสามารถแก้ ไข
เปลีย่ นแปลงได้
X ซึมเศร้ าเนื่องจากสามีเสี ยชีวติ
 ซึมเศร้ าเนื่องจากขาดความมั่นคงในชีวติ
ช่ วยกันวิเคราะห์
ตัวอย่ าง
• ไม่ หายใจ ต้ องใช้ เครื่องช่ วย
หายใจ
• รับประทานอาหารไม่ ได้ ต้ อง
ให้ อาหารทางสายยาง
• มีโอกาส/เกิดภาวะเนือ้ เยื่อ
พร่ อง O2 เนื่องจาก……….
• มีโอกาส/เกิดภาวะทุพ
โภชนาการ (ไม่ สมดุลกรดด่ าง) เนื่องจาก มีความ
บกพร่ องในการเคีย้ ว/กลืน
ช่ วยกันวิเคราะห์
ตัวอย่ าง
• มีภาวะนา้ ท่ วมปอดเนื่องจาก มีการ
เปลีย่ นแปลงของระบบไหลเวียน
เลือดในปอด
• เหนื่อยอ่อนเพลีย เนื่องจาก
รับประทานอาหารไม่ ได้
• มีโอกาส/เกิดภาวะเนือ้ เยือ่ พร่ อง
O2 เนื่องจาก มีการเปลีย่ นแปลง
ของระบบไหลเวียนเลือดในปอด
สั มพันธ์ กบั หัวใจล้มเหลว
• มีโอกาส/เกิดภาวะทุพโภชนาการ
(ไม่ สมดุลกรด-ด่ าง) เนื่องจาก
ได้ รับสารอาหารและนา้ ไม่ เพียงพอ
แนวทางในการเขียนข้ อวินิจฉัยการพยาบาล
• ไม่ ใช้ การวินิจฉัยโรคในข้ อวินิจฉัยการพยาบาล
• ข้ อความควรชัดเจน สั้ น กระทัดรัด
• อาจใช้ สั มพันธ์ กบั /ร่ วมกับ (Related to/ Associated
with)
ความถูกต้ องของข้ อวินิจฉัยการพยาบาล
• เป็ นปัญหาสุ ขภาพจริง โดยตรวจสอบว่ ามีข้อมูลสนับสนุน
ครบถ้ วนถูกต้ อง
• มีความชัดเจน มองเห็นแนวทางในการปฏิบัติการพยาบาล
• ก่ อให้ เกิดความเข้ าใจตรงกันในทีมพยาบาล
• ไม่ เกิดผลลบทางกฎหมาย
• สามารถปฏิบัตไิ ด้ ภายในขอบเขตของวิชาชีพ
การวางแผนการพยาบาล (Planning)
“การพยาบาลที่ไม่มีแผนเปรี ยบเสมือนการค้นหาดินแดน
โดยไม่มีแผนที่หรื อเครื่ องกาหนดทิศทางอื่นๆ
ทาให้งานที่เสี่ ยงอันตรายนั้นขาดจุดหมายปลายทาง
ที่แน่นอน”
Bower (1972 อ้างถึงโดย ฟาริ ดา อิบราฮิม, 2541)
ชนิดของการวางแผนการพยาบาล
•
•
•
การวางแผนการพยาบาลเมื่อเริ่มรับผู้รับบริการ (Initial
planning)
การวางแผนการพยาบาลระหว่ างการดูแล (Ongoing
planning)
การวางแผนเพือ่ จาหน่ าย (Discharge planning)
องค์ ประกอบของแผนการพยาบาล
•
•
•
ปัญหาหรือข้ อวินิจฉัยการพยาบาล (Problem or nursing
diagnosis)
เป้าหมายการพยาบาลและเกณฑ์ ประเมินผล (Goal &
nursing outcome)
กิจกรรมการพยาบาล (Intervention)
ขั้นตอนการวางแผนการพยาบาล (Planning)
• การจัดลาดับความสาคัญของปัญหา
• การกาหนดจุดมุ่งหมายทางการพยาบาลและเกณฑ์ การ
ประเมินผล
• การกาหนดกิจกรรมการพยาบาล
• การเขียนแผนการพยาบาล
การจัดลาดับความสาคัญของปัญหา
•
•
•
•
•
ตามความรุนแรงของปัญหา
แนวคิดความต้ องการพืน้ ฐานของมาสโลว์
ความต้ องการของผู้รับบริการ
ประเพณี ค่ านิยม ความเชื่อของผู้รับบริการและครอบครัว
ภาวะเศรษฐกิจ ทรัพยากร บุคลากร และเวลา
การกาหนดจุดมุ่งหมายทางการพยาบาล
และเกณฑ์ การประเมินผล
• จดุ ม่ งุ หมายการพยาบาล เป็ นการแสดงความคาดหมาย
พฤติกรรมของผู้รับบริการทีเ่ ปลีย่ นแปลงไป ที่แสดงถึง
ความสาเร็จในการแก้ ปัญหาของผู้รับบริการ
• เกณฑ์ การประเมินผล เป็ นการกาหนดพฤติกรรมของ
ผู้รับบริการทีส่ ามารถวัดได้ สั งเกตได้ และบ่ งชี้ถึงผลที่
คาดหวังตามจุดมุ่งหมายทางการพยาบาล
จุดมุ่งหมายการพยาบาลเขียนได้ 2 ลักษณะ
• จุดมุ่งหมายระยะสั้ น
• จุดมุ่งหมายระยะยาว
ตัวอย่ าง
วินิจฉัยการพยาบาล จุดมุ่งหมายระยะยาว จุดมุ่งหมายระยะสั้ น
การเคลือ่ นไหวร่ างกาย
บกพร่ อง เนื่องจากแขน
ขาซีกซ้ ายอ่อนแรง
พัฒนาความสามารถ
การเคลือ่ นไหวร่ างกาย
จนใกล้เคียงกับสภาพ
เดิมมากทีส่ ุ ด ภายใน
6 เดือน
พัฒนาความสามารถ
การเคลือ่ นไหวโดยใช้
กล้ามเนือ้ มัดใหญ่ ได้
ก่อนการจาหน่ าย
โครงสร้ างของเกณฑ์ การประเมินผล
• พฤติกรรมผู้รับบริการ
• เกณฑ์ ที่คาดหวัง (วัดได้ )
• ระยะเวลา
• เงื่อนไข
แนวทางในการเขียนเกณฑ์ การประเมินผล
• มีความสมเหตุสมผลในด้านความสามารถของผูร้ ับบริ การ
• เป็ นพฤติกรรมที่ผรู ้ ับบริ การสามารถสังเกตหรื อวัดได้ หลีกเลี่ยงการ
ใช้คาว่า ดี ปกติ เพียงพอ
• เขียนเกณฑ์การประเมินผลในรู ปพฤติกรรมของผูร้ ับบริ การ ไม่ใช่
กิจกรรมการพยาบาล
• สั้น มีความเฉพาะเจาะจง และระยะเวลาที่จะบรรลุเกณฑ์ที่คาดหวัง
ตัวอย่ าง
พฤติกรรม
ผู้รับบริการ
ถ่ายปั สสาวะ
เกณฑ์ ทคี่ าดหวัง
อย่างน้อย 200 ซี ซี
ระยะเวลา
ภายใน 6 ชัว่ โมง
เงือ่ นไข
หลังการเอาสาย
สวนปัสสาวะออก
ตัวอย่ าง
• จุดมุ่งหมายทางการพยาบาล: รับประทานอาหารได้มากขึ้น โดยไม่
มีการสาลักก่อนจาหน่าย
• เกณฑ์การประเมินผล:
•
•
•
รับประทานอาหารครบ 3 มื้อ มื้อละ15-20 คา
น้ าหนักเพิม่ ขึ้น 200 กรัม ภายใน 1 สัปดาห์
ไม่มีอาการสาลักขณะรับประทานอาหาร ตลอดระยะเวลาที่อยู่
โรงพยาบาล
• ไม่มีอาการคลื่นไส้อาเจียนหลังรับประทานอาหารทุกมื้อ
การกาหนดกิจกรรมการพยาบาล
เป็ นการกาหนดเทคนิกหรือวิธีการปฏิบัติการพยาบาล
เฉพาะทีพ่ ยาบาลหรือสมาชิกอืน่ ในทีมสุ ขภาพจะต้ อง
ปฏิบัตเิ พือ่ ช่ วยให้ ผ้ ูรับบริการบรรลุตามจุดมุ่งหมาย
การพยาบาลหรือเกณฑ์ การประเมิน
หลักการกาหนดกิจกรรมการพยาบาล
•
•
•
•
•
มีความเฉพาะเจาะจง ไม่คลุมเครื อ กะทัดรัด
คิดถึงความเป็ นปัจเจกบุคคลของผูร้ ับบริ การ
ควรเป็ นกิจกรรมที่สามารถปฏิบตั ิได้จริ ง
เขียนในรู ปพฤติกรรมการพยาบาล ไม่ใช่พฤติกรรมของผูร้ ับบริ การ
เป็ นกิจกรรมที่ไม่ขดั แย้งกับแผนการรักษาของแพทย์
การปฏิบัติการพยาบาล (Implement)
เป็ นขั้นตอนในการนาแผนการพยาบาลทีว่ างไว้
มาปฏิบัตจิ ริงกับผู้ป่วย รวมทั้งบันทึกการดูแล
ทีใ่ ห้ กบั ผู้ป่วย และผลของการปฏิบัตกิ ารพยาบาล
หรือการตอบสนองของผู้ป่วย
ชนิดของกิจกรรมการพยาบาล
• กิจกรรมการพยาบาลอิสระ (Independent)
• กิจกรรมการพยาบาลที่ไม่เป็ นอิสระ (Dependent)
• กิจกรรมการพยาบาลกึ่งอิสระ (Interdependent)
แนวทางปฏิบัติ
•
•
•
•
•
การช่ วยเหลือหรือกระทาแทน
การกระตุ้นหรือสนับสนุน
การสอน
การให้ คาปรึกษา
การส่ งต่ อ
การประเมินผล (Evaluation)
เป็ นขั้นตอนของการประเมินคุณภาพ และประสิ ทธิภาพ
ของกิจกรรมการพยาบาลทีใ่ ห้ แก่ ผ้ ูรับบริการ
หรือการตรวจสอบคุณภาพ
ของกิจกรรมการพยาบาลทีม่ ตี ่ อ
ความสาเร็จในการแก้ ปัญหาของผู้รับบริการ
การประเมินผลการพยาบาล
• การประเมินผลขณะปฏิบัตกิ ารพยาบาล (Formation
Evaluation)
• การประเมินผลเมื่อสิ้นสุ ดการพยาบาล (Summative
Evaluation)
ขั้นตอนการประเมินผลการพยาบาล
• บันทึกการตอบสนองของผู้รับบริการต่ อการปฏิบตั กิ าร
พยาบาล
• การประเมินผลสั มฤทธิ์ของการปฏิบัตกิ ารพยาบาล
• ตรวจสอบ / ทบทวนแผนการพยาบาลซ้า
บันทึกการตอบสนองของผู้รับบริการ
ต่ อการปฏิบัติการพยาบาล
ตัวอย่ าง
ข้ อมูลปรนัย : ผู้ป่วยสามารถลุกยืนข้ างเตียง และเดิน
ไปห้ องนา้ ยังคงอ่ อนเพลีย หายใจเร็วขึน้ จาก 20 ครั้ง/นาที
เป็ น 26 ครั้ง/นาที ชีพจรเพิม่ จาก 70 ครั้ง/นาที เป็ น 90 ครั้ง/
นาที หลังจากลุกเดินครั้งแรกหลังผ่าตัด
การประเมินผลสั มฤทธิ์ของการปฏิบัติการพยาบาล
ตัดสิ นว่ าวินิจฉัยการพยาบาลนั้นสิ้นสุ ดหรือยังไม่ สิ้นสุ ด
เพือ่ เป็ นแนวทางในการให้ บริการพยาบาล
การประเมินผลสั มฤทธิ์ของการปฏิบัติการพยาบาล
ตัดสิ นว่ าได้ รับผลสาเร็จ ตามจุดมุ่งหมายทางการพยาบาลหรือไม่
สิ่ งทีป่ ระเมิน คือ พฤติกรรมการแสดงออกของผู้ป่วย
ตัวอย่ าง
ผู้ป่วยสุ ขสบายและหลับพักผ่ อนได้
เป็ นเวลา 3 ชั่วโมง หลังจากได้ รับ
การเช็ดตัวให้
การเขียนข้ อความการประเมินผลสั มฤทธิ์
แบ่ งเป็ น 2 ส่ วนโดยเปรียบเทียบกับเกณฑ์ การประเมินผล
กับพฤติกรรมของผู้รับบริการทีแ่ สดงออกมา
ภายหลังการพยาบาล
ตัวอย่ าง
จุดมุ่งหมาย / เกณฑ์ การประเมิน
- ผู้ป่วยสามารถเดินได้ ท้งั ไป และ
กลับในระยะทางตลอดความยาว
ของหอผู้ป่วย ภายใน 1 วัน
การประเมินผล
- ผู้ป่วยสามารถเดินได้ ตามระยะ
ทางตลอดความยาวของหอผู้ป่วย
โดยไม่ เหนื่อยมาก (บรรลุ)
- ผู้ป่วยสามารถเดินไปได้ แต่ เดิน
กลับไม่ ได้ เพราะเหนื่อยมาก
(แนวโน้ มบรรลุ)
ปัญหาและอุปสรรคของการใช้
กระบวนการพยาบาล
ปัญหาและอุปสรรค
• ไม่ ได้ ใช้ ทุกขั้นตอนของกระบวนการพยาบาล
• ไม่ ได้ ใช้ ทุกครั้งทีใ่ ห้ การพยาบาล
• ความไม่ ชัดเจนในแต่ ละขั้นตอนของกระบวนการพยาบาล:
การวินิจฉัยการพยาบาลและการวางแผน
• ความไม่ ครอบคลุมของการบันทึก ทั้งเชิงปริมาณและ
คุณภาพ
ปัญหาและอุปสรรค
• ไม่ มีเวลา / เจ้ าหน้ าที่ไม่ เพียงพอ
• ทัศนคติต่อการใช้ กระบวนการพยาบาล
• ขาดปัจจัยสนับสนุนการนากระบวนการพยาบาลไปใช้ เช่ น
แบบฟอร์ ม / หนังสื อ / การมอบหมายงาน (functional) /
การนิเทศติดตาม / ผู้ให้ คาปรึกษา
ถ้ าเขียนอย่ างมีคุณภาพ ใช้ เวลามาก
ความท้ าทายของวิชาชีพพยาบาล
• ใช้ กระบวนการพยาบาลในการปฏิบัติพยาบาล
• บันทึก สะท้ อนกระบวนการพยาบาลให้ เห็นเป็ น
รูปธรรม
ทักษะที่จาเป็ นในกระบวนการพยาบาล
•
•
•
•
•
•
•
Critical thinking
Decision making
Communication
Creative thinking
Clinical Reasoning
Physical Examination / Observation
Technical skill
การสร้ าง
พยาบาลยุคใหม่
บนเส้ นทาง
ที่ท้าทาย
มองปัจจุบัน คาดการณ์ อนาคต
• คนไทยจะมีปัญหาสุ ขภาพเพิ่มมากขึ้น
• คนไทยจะพึ่งบริ การทางด้านสาธารณสุ ขเพิม่ มาก
ขึ้นหลายเท่า
• โรคแปลก ๆ ใหม่ ๆ จะเกิดขึ้น ยากต่อการวินิจฉัย
• คนไทยจะคาดหวังต่อบริ การด้านการพยาบาล
สูงขึ้น
มองปัจจุบัน คาดการณ์ อนาคต
มองอนาคต เพือ่ กาหนดปัจจุบัน
• บทบาท Internet ทางด้านการพยาบาลที่เพิ่มสู งขึ้น
• ผลกระทบของกฎหมายต่อการปฏิบตั ิหน้าที่ของพยาบาล
รุ่ นใหม่
• ยุคสมัยของการตรวจสอบ (Audit)
• มาตรฐาน (Standard) วิชาชีพ, โรงพยาบาล
บันทึกทางการพยาบาล
หลักฐานการปฏิบัติการพยาบาล
If you didn’t record it, you didn’t do it.