การศึกษาตามอัธยาศัย (Informal Education)

Download Report

Transcript การศึกษาตามอัธยาศัย (Informal Education)

การศึกษาตามอัธยาศัย
(INFORMAL EDUCATION)
พงค์แสนชัย อิสระไพจิตร์
การศึกษาตามอัธยาศัย
(Informal Education)
ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.วรรัตน์ อภินนั ท์กูล
การศึกษาตามอัธยาศัย หรืออาจเรียกว่า
การศึกษาธรรมดาวิสยั
การศึกษาธรรมชาติวิสยั การเรียนรูต้ ามวิถชี ีวิต
การเรียนรูแ้ บบที่อบุ ตั ขิ ้ นึ โดยบังเอิญ
(วิศนีศลิ ตระกูล และอมรา ปฐภิญโญบูรณ์, 2544)
ต่างประเทศการศึกษาตามอัธยาศัยในชือ่ ที่คุน้ เคย เช่น ที่สก็อต
แลนด์อธิบายการศึกษาตามอัธยาศัย ว่าเป็ น การศึกษาชุมชน
(Community education)
เยอรมนี
กระบวนการเรียนรูท้ างสังคม
(Social pedagogy)
ฝรัง่ เศสใช้การแสดงการ
เลียนแบบว่าเป็ นการศึกษาตามอัธยาศัยเรียกว่า
การแสดงแบบจาลอง
(Animation)
การศึกษาเพือ่ พื้นฟูสขุ ภาพ
(Health or Rehabilitation education)
ก็จดั ว่าเป็ นอีกรูปแบบหนึง่ ของการศึกษาตาม
อัธยาศัยเช่นกัน
(ทองอยู่ แก้วไทรฮะ, 2544)
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542
และที่แก้ไขเพิม่ เติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 ได้ให้
ความหมายของการศึกษาตามอัธยาศัยว่า เป็ นการศึกษา
ที่ให้ผูเ้ รียนได้เรียนรูด้ ว้ ยตนเองตามความสนใจ
ศักยภาพ ความพร้อม และโอกาส โดยศึกษาจากบุคคล
ประสบการณ์ สังคม สภาพแวดล้อม สือ่ หรือแหล่ง
ความรูอ้ น่ื ๆ
พระราชบัญญัตสิ ง่ เสริมการศึกษานอกระบบและ
การศึกษาตามอัธยาศัย พ.ศ. 2551 ได้ให้
ความหมายของการศึกษาตามอัธยาศัยดังนี้ กิจกรรม
การเรียนรูใ้ นวิถีชวี ติ ประจาวันของบุคคล ซึง่ บุคคล
สามารถเลือกทีจ่ ะเรียนรูไ้ ด้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวติ
ตามความสนใจ ความต้องการ โอกาส ความพร้อม
และศักยภาพในการเรียนรูข้ องแต่ละบุคคล
Evan (1981) กล่าวว่า การศึกษา
ตามอัธยาศัย หมายถึง ผลของการเรียนรู ้
อันเกิดจากสถานการณ์ทผ่ี เู ้ รียน หรือแหล่ง
ความรูอ้ ย่างใดอย่างหนึ่ง มีเจตจานงเพื่อ
ส่งเสริมการเรียนรู ้ แต่ไม่ใช่ทงั้ สองปั จจัยเกิด
ตรงกัน
Coombs (1985) กล่าวว่า การศึกษาตามอัธยาศัย
หมายถึง กระบวนการศึกษาตลอดชีวิต ที่ทุกคนได้รบั และสะสม
ความรู ้ ทักษะ เจตคติ และการรูแ้ จ้งจากประสบการณ์ประจาวัน และ
การสัมผัสกับสิง่ แวดล้อม ทัง้ ที่บา้ น ที่ทางาน และที่เล่น จาก
ตัวอย่าง และเจตคติของสมาชิกครอบครัวและเพือ่ น จากการ
เดินทาง การอ่านหนังสือพิมพ์และหนังสืออืน่ หรือโดยการฟั งวิทยุ
หรือการดูภาพยนตร์ หรือโทรทัศน์ ตามปกติแล้วการศึกษาตาม
อัธยาศัยไม่มีการจัด ไม่มีระบบ และบางครัง้ ไม่ได้ตงั้ ใจ แต่มีส่วน
เกีย่ วข้องกับการเรียนรูไ้ ปตลอดชีวิตของแต่ละคนอยู่อย่างมาก
แม้แต่ผูท้ ่ีมีการศึกษาในโรงเรียนมาแล้วก็ตาม
Hideyoshi (1990) ให้ความหมายไว้ว่า การศึกษา
ตามอัธยาศัย คือ กระบวนการที่มนุษย์ได้รบั การถ่ายทอด และสัง่ สม
ความรู ้ ทักษะ เจตคติ ความคิด จากประสบการณ์ในชีวิตประจาวัน
และสิง่ แวดล้อมตลอดชีวิต เป็ นการศึกษาที่ไม่มีองค์กร ไม่มีระบบ
ไม่มีจุดมุ่งหมาย ไม่ตงั้ ใจ และเรือ่ งที่ได้รบั การถ่ายทอดก็เป็ นเรือ่ งที่
เกีย่ วกับวิถชี วี ิตในสังคม ตัวอย่างเช่น การเรียนรูใ้ นครอบครัว ในที่
ทางาน สถานที่ท่องเที่ยว การเรียนรูจ้ ากแบบอย่างและทัศนคติใน
ครอบครัวหรือเพือ่ น การเรียนรูจ้ ากการอ่านหนังสือพิมพ์
หนังสือพิมพ์ และจากการท่องเที่ยว ตลอดจนการเรียนรูโ้ ดยฟั งวิทยุ
ดูภาพยนตร์และโทรทัศน์ เป็ นต้น
องค์ประกอบของการศึกษาตามอัธยาศัย
1. แนวคิดและปรัชญา : การศึกษา
ตามอัธยาศัยเป็ นการศึกษาที่สง่ เสริม
สนับสนุนและให้โอกาสในการเรียนรูใ้ น
วิถชี วี ิตของบุคคลตัง้ แต่เกิดจนตาย
2. ความมุ่งหมาย : การศึกษาตามอัธยาศัยมีได้
หลายเป้าหมายและหลายวัตถุประสงค์ โดย
เป้าหมายหลักเพือ่ ส่งเสริมพัฒนาตนเองอย่าง
ต่อเนือ่ ง และเพือ่ ตอบสนองความพึงพอใจและ
นันทนาการของบุคคลแต่ละคนมากกว่าการเพิม่ พูน
ความรูเ้ ชิงวิชาการ
3. หลักสูตร : การศึกษาตามอัธยาศัยไม่มีหลักสูตร
แต่เป็ นลักษณะการเรียนรูผ้ ่านการจัดกิจกรรม สือ่
และเพือ่ ส่งเสริมการเรียนรู ้
4. ผูเ้ รียน/ผูร้ บั บริการ : ผูเ้ รียนของการศึกษาตาม
อัธยาศัย คือ บุคคลทุกคน ซึง่ มีความหลากหลาย
ครอบคลุมทุกเพศ ทุกวัย ทุกระดับการศึกษา ทุกพื้นที่
โดยไม่มีการจาแนกสถานภาพทางสังคม
5. ผูส้ อน : ผูเ้ รียนของการศึกษาตามอัธยาศัย คือ
บุคคลทุกคนที่มีศกั ยภาพส่งเสริมให้ผูเ้ รียนอยาก
เรียนรู ้
6. ความรู ้ : การศึกษาตามอัธยาศัยทาให้เกิดความรู ้
ด้วยการเรียนรูต้ ามความต้องการและความสนใจของ
ผูเ้ รียน
7. วิธีการเรียนรู ้ : การศึกษาตามอัธยาศัยมีวิธีการ
เรียนรูท้ ่ีหลากหลาย มีหลายรูปแบบ ไม่มีแบบแผน
แน่นอน ไม่มีรปู แบบแน่นอน
8. ระยะเวลา : การศึกษาตามอัธยาศัยสามารถเกิด
ได้ตลอดเวลาและตลอดชีวิตของผูเ้ รียน
9. วุฒิการศึกษา : การศึกษาตามอัธยาศัยไม่มี
วุฒิบตั ร แต่บางกิจกรรมอาจมีเกียรติบตั ร
10. กิจกรรมการเรียนรู ้ : กิจกรรมการเรียนรูต้ าม
การศึกษาตามอัธยาศัยเป็ นไปตามวิถชี ีวิตของผูเ้ รียน
11. สือ่ การเรียนรู ้ : ลักษณะสือ่ การศึกษาตาม
อัธยาศัยมีความหลากหลายตามที่ผูเ้ รียนต้องการ
12. การประเมินผล : การศึกษาตามอัธยาศัยเป็ น
การประเมินความก้าวหน้าของผูเ้ รียนด้วยตัวผูเ้ รียน
เอง จึงไม่มีการประเมินผลที่ชดั เจน แต่บางกิจกรรม
มีการประเมินผลเพือ่ ให้ผลย้อนกลับต่อผูร้ บั บริการ
(ความพึงพอใจ)
สรุป
การศึกษาตามอัธยาศัย จึงเป็ นกิจกรรมการเรียนรูใ้ นวิถี
ชีวิตประจาวันของบุคคล เพือ่ เพิม่ พูนความรู ้ ทักษะ และ
พัฒนาคุณภาพชีวิต ซึง่ บุคคลสามารถเลือกที่จะเรียนรูด้ ว้ ย
ตนเองได้อย่างต่อเนือ่ งตลอดชีวิต ตามความสนใจ ความ
ต้องการ โอกาส ความพร้อม และศักยภาพในการเรียนรูข้ อง
แต่ละบุคคล โดยศึกษาจากบุคคล ครอบครัว ชุมชน
ประสบการณ์ สังคม สภาพแวดล้อม สือ่ หรือแหล่งความรู ้
อืน่
บรรณานุกรม
กระทรวงศึกษาธิการ. พระราชบัญญัตสิ ง่ เสริมการศึกษาระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พ.ศ.
2551. กรุงเทพฯ : กระทรวงศึกษาธิการ, 2551.
ทองอยู่ แก้วไทรฮะ. ระบบการศึกษา ใน ปรัชญาและหลักการศึกษานอกระบบโรงเรียน หน่วยที่ 1 - 5.
นนทบุรี : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2544.
พนม พงษ์ไพบูลย์ “เข้าใจคาว่าการศึกษาตามอัธยาศัย จากคนทางานทีไ่ ม่ได้ง่ายอย่างทีค่ ดิ กับ ชัยยศ อิม่
สุวรรณ์” วารสารการศึกษานอกโรงเรียน ปี ที่ 4 ฉบับที่ 4 (มกราคม 2544) หน้า 7
วิศนีศิลตระกูล และอมรา ปฐภิญโญบูรณ์. การศึกษาตามอัธยาศัย : จากแนวคิดการเรียนรูต้ ลอดชีวติ สู่
แนวปฏิบตั .ิ กรุงเทพฯ : ศูนย์สง่ เสริมการศึกษาตามอัธยาศัย กรมการศึกษานอกโรงเรียน,
2544.
สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ. พระราชบัญญัตกิ ารศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.
2542 และทีแ่ ก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545. กรุงเทพฯ : พริกหวานกราฟฟิ ค,
254
ตัวอย่างกิจกรรม
















ท้องฟ้ าจาลอง
ศูนย์วิทยาศาสตร์
รถโมบายเคลือนที่
ห้องสมุดประชาชน , บ้านหนังสืออัจฉริยะ
กศน.ตาบล
แหล่งเรียนรู ้
หุ่นกระบอก
นิทรรศการเคลือ่ นที่
กิจกรรมสาธิต เช่น ถุงหอมการบูร ดอกไม้หอม
บิงโก เกมส์เศรษฐี มายากล
ปั้ นหุ่นปูนปาสเตอร์
โมเดลจาลอง
สือ่ การเรียนรูอ้ เิ ลคทรอนิค
กศ.ทางไกลผ่านดาวเทียม
โหราศาสตร์
ฯลฯ
ใบงาน
-
-
ให้ผูเ้ ข้ารับการอบรมแบ่งกลุม่ ๆละ 10 คน
ระดมพลังสมองออกแบบกิจกรรมการเรียนรูก้ ารศึกษาตามอัธยาศัย 1 กิจกรรม (กิจกรรม
ส่งเสริมรักการอ่าน)
นาเสนอแลกเปลี่ยนเรียนรูก้ ลุม่ ละ 5 นาที
แนวทางการจัดกิจกรรมส่ งเสริมการอ่ าน
ประกวดเรี ยงความ
ตอบปั ญหาจากอินเตอร์ เนท
นิทรรศการวันสาคัญ
นิทรรศการหนังสื อน่าอ่าน
ประกวดเล่านิทานพื้นบ้าน
ห้องสมุดเคลื่อนที่
ค่านิยม 12 ประการ ประกวดภาพระบายสี
ผลิตและกระจายสื่ อ
หนังสื อที่อยากแนะนาให้เพื่อนอ่าน
อาหารสมองลองชิม
โฮมเทียรเตอร์
Tutor Channel
จิตรกรน้อย
ตระกร้าความรู ้สู่ชุมชน
2 เมษายน วันรักการอ่าน
มุมหนังสื ออ่านฝันให้เป็ นจริ ง
วันสุ นทรภู่
8 ก.ย. วันที่ระลึกสากลแห่งการรู ้หนังสื อ
ICT ส่ งเสริ มการอ่าน
การใช้และสื บค้นข้อมูลทางอินเตอร์เนท
การสร้างและใช้ E-Book
