การแปลงแผนยุทธศาสตร์ ระดับหน่วยงานสู่ตัวชี้วัดระดับบุคคล

Download Report

Transcript การแปลงแผนยุทธศาสตร์ ระดับหน่วยงานสู่ตัวชี้วัดระดับบุคคล

Slide 1

ชุดเครื่องมือการเรียนรู้ด้วยตนเองด้ านบริหารการศึกษา
(Self-Learning Toolkits)

การนาแผนยุทธศาสตร์ ส่ ูการปฏิบัติ
(Strategy Implementation)


Slide 2

หัวข้ อการนาเสนอ
1. แนวทางการนายุทธศาสตร์ ส่ ูการปฏิบัติ และความหมายของการ
กาหนดตัวชีว้ ัดระดับบุคคล (individual scorecard)
2. ทบทวนความรู้
3. การแปลงแผนยุทธศาสตร์ ระดับองค์ การสู่ระดับหน่ วยงาน
4. การแปลงแผนยุทธศาสตร์ ระดับองค์ การสู่ระดับตัวชีว้ ัดระดับ
บุคคล
5. ข้ อคิดในการนายุทธศาสตร์ ลงสู่การปฏิบัติ โดยใช้ การกาหนด
ตัวชีว้ ัดระดับบุคคล


Slide 3

วัตถุประสงค์ ของการฝึ กอบรม
1) ผู้เข้ าอบรมสามารถจัดทาตัวชี ้วัดระดับบุคคลของผู้บริ หาร ไปจนถึง
ระดับบุคคลที่สอดคล้ องกับตัวชี ้วัดระดับองค์การ
2) ผู้เข้ าอบรมสามารถใช้ เครื่ องมือต่างๆ เพื่อช่วยในการวิเคราะห์และ
แปลงยุทธศาสตร์ ระดับหน่วยงานสูต่ วั ชี ้วัดระดับบุคคล
3) ผู้เข้ าอบรมสามารถเรี ยนรู้ภาวะผู้นา (Leadership) ในการสนับสนุน
และขับเคลื่อนตัวชี ้วัดระดับบุคคล
4) ผู้เข้ าอบรมได้ แลกเปลี่ยนประสบการณ์ และแนวทางการแก้ ไขปั ญหา
การกาหนดตัวชี ้วัดระดับบุคคลกับผู้เข้ าร่วมอบรมท่านอื่นๆ


Slide 4

สถานศึกษามีแผนที่ยทุ ธศาสตร์
(strategy map)
แต่จะทาอย่างไรให้ บคุ ลากรปฏิบตั ิงานไปใน
ทิศทางเดียวกัน และขับเคลื่อนองค์การไปสู่
เป้าหมายได้ ???


Slide 5

1

ความหมายของการกาหนดตัวชีว้ ัดระดับบุคคล
การก าหนดตั ว ชี ว้ ั ด ระดั บ บุ ค คล หมายถึ ง การก าหนด
เป้าประสงค์และตัวชี ้วัดในการทางานของแต่ละบุคคล นาเสนอให้ เห็นการ
กาหนดตัวชี ว้ ัดระดับบุคคล บนพืน้ ฐานของการใช้ แผนที่ ยุทธศาสตร์ มี
เป้าหมายเพื่อการพัฒนาองค์การ (OD: Organization Development)
โดยมองอย่างเป็ นระบบ (systematic approach) และใช้ การบริ หารผล
การปฏิบตั ิงาน (Performance Management: PM) เป็ นแนวทางหลัก ทังนี
้ ้
เพื่อให้ การกาหนดตัวชี ้วัดเกิดความเชื่อมโยงและสอดคล้ องกัน ทังในระดั


องค์การ ระดับหน่วยงาน และระดับบุคคล


Slide 6

ภาพรวมการกาหนดตัวชี ้วัดระดับบุคคล


Slide 7

2

ทบทวนความรู้
ระบบประเมินผลการปฏิบัตงิ านระดับองค์ การ
(Performance Management System: PMS)


Slide 8

ลักษณะของตัวชีว้ ัดที่ดี
1) มีความสอดคล้ องกับ วิสยั ทัศน์ ภารกิจ และยุทธศาสตร์ ขององค์การ
2) ควรแสดงถึงสิง่ ที่มีความสาคัญเท่านัน้ ซึง่ ตัวชี ้วัดที่มีความสาคัญนัน้
จะมี 2 ลักษณะ
 ตัวชี ้วัดที่แสดงถึงผลการดาเนินงานที่สาคัญขององค์การ
 ตัวชี ้วัดที่ใช้ วดั กิจกรรมหรื องานที่มีความสาคัญ แต่อาจจะไม่คอ่ ย
ผิดพลาด แต่ถ้ากิจกรรมเหล่านี ้มีความผิดพลาดเมื่อไรจะ
ก่อให้ เกิดปั ญหาอย่างใหญ่หลวง
3) ประกอบด้ วยตัวชี ้วัดที่เป็ นเหตุ (Lead Indicators) และ ผล (Lag
Indicators


Slide 9

ลักษณะของตัวชีว้ ัดที่ดี
4) ประกอบด้ วยมิติหรื อมุมมองที่หลากหลาย เช่น ในการให้ บริการมิได้
วัดผลจากผล การสารวจกับผู้รับบริการเท่านัน้ แต่ควรรวมถึง
กระบวนการภายใน และการพัฒนาบุคลากรที่เกี่ยวข้ องด้ วย
5) ตัวชี ้วัดที่สร้ างขึ ้นจะต้ องมีบคุ คลหรื อหน่วยงานที่รับผิดชอบทุกตัวชี ้วัด
6) ตัวชี ้วัดที่สร้ างขึ ้นมา ควรเป็ นตัวชี ้วัดที่องค์การสามารถควบคุมได้
อย่างน้ อยร้ อยละ 80
7) เป็ นตัวชี ้วัดที่สามารถวัดได้ และเป็ นที่เข้ าใจของบุคคลทัว่ ไป
8) การแสดงผลของตัวชี ้วัดควรช่วยให้ ผ้ บู ริหารและบุคลากรสามารถ
ติดตามการเปลี่ยนแปลงต่างๆได้ ดี
9) ตัวชีวดั ที่ดีจะต้ องไม่ก่อให้ เกิดความขัดแย้ งภายในองค์การ


Slide 10

3

การแปลงแผนยุทธศาสตร์ ระดับองค์ การ
สู่ระดับหน่ วยงาน









Slide 11

ขัน้ ตอนการแปลงแผนยุทธศาสตร์ ระดับองค์ การ
สู่ระดับหน่ วยงาน


Slide 12

ตัวอย่ างการแปลงแผนยุทธศาสตร์ ระดับองค์ การ
สู่ระดับหน่ วยงาน
เป็ นผู้นาด้ านการประกันคุณภาพการศึกษาจน
นาสู่สถานศึกษาที่ได้ มาตรฐาน

การส่ งเสริมการบริหารและ
การจัดการเรี ยนการสอนด้ วย
หลักการประกันคุณภาพการศึกษา

การมุ่งเน้ นการพัฒนาครู และ
บุคลากรทางการศึกษาเพื่อ
การพัฒนาผู้เรี ยนให้ เต็มศักยภาพ


Slide 13

ตัวอย่ างการแปลงแผนยุทธศาสตร์ ระดับองค์ การ
สู่ระดับหน่ วยงาน
เป้าประสงค์
ตัวชีว้ ัด
1. มีการบริ หารที่ประกันคุณภาพตาม 1-1 ร้ อยละของงานที่บรรลุเป้าหมายตามแผนปฏิบตั ิก าร
หลัก การประกัน คุณ ภาพการศึ ก ษา ประจาปี ของสถานศึกษา
PDCA
1-2 ระดับความสาเร็ จของการจัดให้ มีระบบข้ อมูลและ
สารสนเทศที่เป็ นปั จจุบนั เพื่อการบริ หารสถานศึกษาและการ
พัฒนาการเรี ยนการสอน
1-3 ระดับความสาเร็ จของการนาข้ อมูลจากการประเมิน
ตนเองมาใช้ ในการวางแผนพัฒนาสถานศึกษาในปี ถดั ไป
1-4 ร้ อยละของการดาเนินการที่บรรลุมาตรฐานการศึกษาที่
กาหนด


Slide 14

ตัวอย่ าง (ต่ อ)
เป้าประสงค์
2.
มี ห ลัก สู ต รที่ ส อดคล้ องกั บ
สถานศึกษา
3. ครู และบุคลากรทางการศึกษามี
ความรู้ ความสามารถเหมาะสมกับงาน
ที่รับผิดชอบ

ตัวชีว้ ัด
1-5 จานวนหลักสูตรที่ได้ รับการวิเคราะห์และปรับปรุ งให้ เป็ น
ปั จจุบนั
1-6 ร้ อยละของครู และบุคลากรทางการศึกษาที่ได้ รับการ
พัฒนาไม่น้อยกว่า 20 ชัว่ โมงต่อคนต่อปี
1-7 ระดับความสาเร็ จในการนาผลการพัฒนาครูและบุคลากร
ทาง การศึกษามาใช้ ประโยชน์ในการพัฒนางานที่รับผิด ชอบ
ของแต่ละบุคคล
4. ผู้เรี ยนได้ รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง 1-8 ร้ อยละของผู้เรี ยนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนสูงขึน้ อย่าง
และเต็มตามศักยภาพ
ต่อเนื่อง
1-9 ร้ อยละของผู้เ รี ย นที่ มี ผ ลการทดสอบระดับ ชาติ สูง กว่ า
ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐาน
1-10 ร้ อยละของผู้เรี ยนที่ได้ รับการส่งเสริ มศักยภาพตามความถนัด


Slide 15

ตัวอย่ าง (ต่ อ)
เป้าประสงค์
5. การพัฒนาระบบบริ หารความรู้

ตัวชีว้ ัด
1-11 ร้ อยละของโครงการ/กิ จกรรมเพื่ อ การพัฒนา
คุณภาพที่เข้ าร่วมกับโรงเรี ยนในเครื อข่าย
1-12 ร้ อยละของกิจกรรมอบรมและพัฒนาที่เข้ าร่ วมกับ
สพท. และส่วนกลาง


Slide 16

ตัวอย่ าง (ต่ อ)
งานบริการวิชาการ (ระดับหน่ วยงาน) เป็ นหน่ วยงานหนึ่งภายใต้
โรงเรี ยน ก. (ระดับสถานศึกษา) ดูแลด้ านหลักสูตร การทาแผนงาน
วิชาการของสถานศึกษา และการประกันคุณภาพการศึกษา
ขัน้ ตอนที่ 1 ตังเป
้ ้ าหมายของหน่วยงาน
ขัน้ ตอนที่ 2 วินิจฉัยหน่วยงานและยืนยันบทบาท หน้ าที่งานของหน่วยงาน


Slide 17

ตัวอย่ าง (ต่ อ)
มีหน้ าที่หลักตามที่ระบุในรายละเอียดหน้ าที่งาน ดังนี้
1. ศึกษาและพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาให้ เป็ นปั จจุบนั สอดคล้ องกับความ
ต้ องการจาเป็ นของโรงเรี ยนตามกรอบหลักสูตรของประเทศ
2. จัดทาแผนงานวิชาการของสถานศึกษาเพื่อการพัฒนาคุณภาพการจัดการ
เรี ยนการสอนและพัฒนาผู้เรี ยน
3. เป็ นหน่วยงานกลางในการกาหนดแนวทางดาเนินงานของสถานศึกษาเพื่อ
การประกันคุณภาพการศึกษา


Slide 18

ตัวอย่ าง (ต่ อ)
ขัน้ ตอนที่ 3.1 กาหนดเป้าประสงค์ ของหน่ วยงานที่มีส่วนผลักดันเป้าประสงค์ ของ
สถานศึกษา


Slide 19

ตัวอย่ าง (ต่ อ)
ขัน้ ตอนที่ 3.2 กาหนดเป้าประสงค์ เพิ่มเติมในส่ วนของงานประจาที่ต้องพัฒนา
จากหน้ าที่ของงานวิชาการ เลือกว่าเป็ นเป้าประสงค์ที่งานวิชาการสนับสนุนให้ โรงเรี ยน ก. บรรลุ
เป้าหมาย พบว่าครอบคลุมความรับผิดชอบหลักตามหน้ าที่งาน จึงไม่ต้องตังเป
้ ้ าประสงค์เพิ่ม


Slide 20

ตัวอย่ าง (ต่ อ)
ขัน้ ตอนที่ 3.3 กาหนดตัวชีว้ ัดในแต่ ละเป้าประสงค์
เป้าประสงค์ ของงานวิชาการ
ตัวชีว้ ัดของงานวิชาการที่ดงึ มาจากระดับ โรงเรียน ก.
โรงเรียน ก.
1. มีการบริ หารที่ประกันคุณภาพตาม 1-1 ร้ อยละของงานที่ บรรลุเป้าหมายตามแผนปฏิบัติ การ
หลักการประกันคุณภาพการศึกษา
ประจาปี ของสถานศึกษา
PDCA
1-2 ระดับ ความส าเร็ จ ของการจัด ให้ มี ร ะบบข้ อ มูล และ
สารสนเทศที่เป็ นปั จจุบนั เพื่อการบริ หารสถานศึกษาและ
การพัฒนาการเรี ยนการสอน
1-3 ระดับความสาเร็จของการนาข้ อมูลจากการประเมินตนเอง
มาใช้ ในการวางแผนพัฒนาสถานศึกษาในปี ถดั ไป
1-4 ร้ อยละของการดาเนินการที่บรรลุมาตรฐานการศึกษาที่
กาหนด


Slide 21

ตัวอย่ าง (ต่ อ)
ขัน้ ตอนที่ 3.3 กาหนดตัวชีว้ ัดในแต่ ละเป้าประสงค์
ตัวชีว้ ัดของงานวิชาการที่ดงึ มาจากระดับ
โรงเรียน ก.
2. มีหลักสูตรที่สอดคล้ องกับสถานศึกษา
1-5 จานวนหลักสูตรที่ได้ รับการวิเคราะห์และ
ปรับปรุงให้ เป็ นปั จจุบนั
4. ผู้เรี ยนได้ รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่องและเต็ม 1-8 ร้ อยละของผู้เรี ยนที่มีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยน
ตามศักยภาพ
สูงขึ ้นอย่างต่อเนื่อง
1-9 ร้ อยละของผู้เรี ยนที่มีผลการทดสอบระดับชาติ
สูงกว่าค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐาน
1-10 ร้ อยละของผู้เรี ยนที่ได้ รับการส่งเสริ มศักยภาพ
ตามความถนัด
เป้าประสงค์ ของงานวิชาการ โรงเรียน ก.


Slide 22

ตัวอย่ าง (ต่ อ)
ขัน้ ตอนที่ 3.3 กาหนดตัวชีว้ ัดในแต่ ละเป้าประสงค์
เป้าประสงค์ ของงานวิชาการ โรงเรียน ก.
ตัวชีว้ ัดของงานวิชาการที่เพิ่มเติม
2. มีหลักสูตรที่สอดคล้ องกับสถานศึกษา
- ระดับความสาเร็จของการพัฒนาหลักสูตรโดย
กระบวนการมีสว่ นร่วม

ขัน้ ตอนที่ 4: การประเมินผลการปฏิบัตงิ านระดับหน่ วยงาน


Slide 23

ตารางทดสอบคุณภาพของตัวชีว้ ัดของเป้าประสงค์
การสร้ างความพึงพอใจให้ กับผู้รับบริการ

3
3
3
3

2
1
2
3

อัตราการ
กลับมาใช้
บริการซ้า
1
2
3
2

2

2

2

ระดับความพึง อัตรา
เกณฑ์ การประเมิน
พอใจ
ร้ องเรียน
ความพร้ อม
ความถูกต้ อง
ต้ นทุนการเก็บ้้ อมูล
ความชัดเจน
สะท้ อนผลการ
ดาเนินงาน


Slide 24

กิจกรรมที่ 1: การแปลงแผนยุทธศาสตร์ ระดับ
องค์ การสู่ระดับหน่ วยงาน
ขอให้ ผ้ เู ข้ าร่วมฝึ กอบรมแบ่งกลุม่ ย่อยกลุม่ ละ 5 - 7 คน
แต่ ละกลุ่มย่ อย แปลงแผนยุทธศาสตร์ ระดับองค์การ สูร่ ะดับ
หน่วยงาน จากกรณีศกึ ษาที่วิทยากรกาหนด
ผลลัพธ์ แผนยุทธศาสตร์ ระดับหน่วยงาน
ระยะเวลา 45 นาที


Slide 25

กิจกรรมที่ 1: การแปลงแผนยุทธศาสตร์ ระดับ
องค์ การสู่ระดับหน่ วยงาน
เป้าประสงค์

ตัวชีว้ ัดระดับหน่ วยงาน


Slide 26

4

การแปลงแผนยุทธศาสตร์ ระดับหน่ วยงาน
สู่ตวั ชีว้ ัดระดับบุคคล

กระบวนการแปลงแผนยุทธศาสตร์ ระดับหน่ วยงานสู่ตัวชีว้ ัดระดับบุคคล


Slide 27

ขัน้ ตอนการแปลงแผนยุทธศาสตร์ ระดับหน่ วยงาน
สู่ตัวชีว้ ัดระดับบุคคล


Slide 28

ลักษณะของตัวชีว้ ัดระดับบุคคล
ตัวชีว้ ัดลักษณะที่ 1 ตัวชีว้ ัดตัวเดียวกับตัวชีว้ ัดระดับหน่ วยงาน (Identical Measures)
ตัวชีว้ ัดลักษณะที่ 2 ตัวชีว้ ัดที่สนับสนุนตัวชีว้ ัดในระดับหน่ วยงาน (Contributory Measures)
ตัวชีว้ ัดลักษณะที่ 3 ตัวชีว้ ัดตามหน้ าที่งาน (Unit Specific Measures)
ตัวชีว้ ัดลักษณะที่ 4 ตัวชีว้ ัดมาตรฐาน (Common Measures)


Slide 29

ตัวอย่ างการแปลงแผนยุทธศาสตร์ ระดับองค์ การ
สู่ระดับบุคคล
้ั้นตอนที่ 1 กำหนดเป้ ำหมำยระดับบบบคคค
้ั้นตอนที่ 2 ยืนยันหน้ำที่งำนของบบคคค


Slide 30

ตัวอย่ าง (ต่ อ)
ขัน้ ตอนที่ 3.1 กาหนดเป้าประสงค์ ท่ ีบุคคลมีส่วนผลักดันเป้าประสงค์
ของหน่ วยงาน
จากการพิจารณาเป้าประสงค์ของงานวิชาการ โรงเรี ยน ก. พบว่าบุคลากรในส่วนงานวิชาการสนับสนุ น
เป้าประสงค์ของงานวิชาการ ทังสิ
้ ้น 3 เป้าประสงค์
1. มีการบริ หารที่ประกันคุณภาพตามหลักการประกันคุณภาพการศึกษา PDCA
2. มีหลักสูตรที่สอดคล้ องกับสถานศึกษา
3. ผู้เรี ยนได้ รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่องและเต็มตามศักยภาพ


Slide 31

ตัวอย่ าง (ต่ อ)
ขัน้ ตอนที่ 3.2 กาหนดเป้าประสงค์ เพิ่มเติมในส่ วนของงานประจาที่ต้องพัฒนา
รายละเอียดหน้ าที่ผ้ รู ั บผิดชอบ
ด้ านการเรี ยนการสอนและการพัฒนาผู้เรี ยน
• รวบรวมข้ อมูลพื ้นฐานและจัดทาสารสนเทศที่
เกี่ยวข้ องกับคุณภาพการจัดการเรี ยนการสอน
และคุณภาพผู้เรี ยน

จัดทำแผนงานวิชำกำรของ
สถำนศึกษำเพื่อกำรพัฒนำคคณภำพ
กำรจัดกำรเรี ยนกำรสอนแ ะพัฒนำ
ผูเ้ รี ยน
• กำกับบติดตำมกำรประเมินผ กำร
เรี ยน กำรสอน แ ะควบบคคมคคณภำพ
เครื่ องมือกำรทดสอบบให้ได้
มำตรฐำน


เป้าประสงค์ สนับสนุนงานวิชาการ
1. มีการบริหารที่ประกันคุณภาพตามหลักการ
ประกันคุณภาพการศึกษา PDCA
4. ผู้เรี ยนได้ รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่องและ
เต็มตามศักยภาพ

เป้าประสงค์ (ตามหน้ าที่งาน)

การจัดทารายงานภายในเวลาที่กาหนดและ
สามารถนาไปใช้ ประโยชน์ได้


Slide 32

ตัวอย่ าง (ต่ อ)
ขัน้ ตอนที่ 3.3 กาหนดเป้าประสงค์ เพิ่มเติมตามงานที่ได้ รับมอบหมายพิเศษ
รายละเอียดงานที่ได้ รับมอบหมายพิเศษ

เป้าประสงค์
(ตามงานที่ได้ รับมอบหมายพิเศษ)

กำรดำเนินโครงกำรอย่ำงมี
กำรดำเนินงำนโครงกำรพัฒนำระบบบบ
ประสิ ทธิภำพ
ฐำนข้อมู คอมพิวเตอร์เพื่อกำร
ขัประกั
น้ ตอนที
3.4 กาหนดตั
นคคณ่ ภำพกำรศึ
กษำ วชีว้ ัดในแต่ ละเป้าประสงค์


Slide 33

ขัน้ ตอนที่ 3.4 กาหนดตัวชีว้ ัดในแต่ ละเป้าประสงค์

ตัวอย่ าง (ต่ อ)

เป้าประสงค์ ของงานด้ านการประกันคุณภาพฯ
ตัวชีว้ ัดของงานวิชาการ
1. มีการบริหารที่ประกันคุณภาพตามหลักการ
1-1 ร้ อยละของงานที่บรรลุเป้าหมายตามแผนปฏิบตั ิการประจาปี
ประกันคุณภาพการศึกษา PDCA
ของสถานศึกษา
1-2 ระดับความสาเร็จของการจัดให้ มีระบบข้ อมูลและสารสนเทศที่
เป็ นปั จจุบนั เพื่อการบริ หารสถานศึกษาและการพัฒนาการเรี ยน
การสอน
1-3 ระดับความสาเร็ จของการนาข้ อมูลจากการประเมินตนเองมา
ใช้ ในการวางแผนพัฒนาสถานศึกษาในปี ถัดไป
1-4 ร้ อยละของการดาเนินการที่บรรลุมาตรฐานการศึกษาที่กาหนด
4. ผู้เรี ยนได้ รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่องและเต็มตาม 1-8 ร้ อยละของผู้เ รี ย นที่ มี ผ ลสัม ฤทธิ์ ท างการเรี ย นสูง ขึ น้ อย่ า ง
ศักยภาพ
ต่อเนื่อง
1-9 ร้ อยละของผู้เรี ยนที่มีผลการทดสอบระดับชาติสงู กว่ าค่าเฉลี่ย
คะแนนมาตรฐาน
1-10 ร้ อยละของผู้เรี ยนที่ได้ รับการส่งเสริมศักยภาพตามความถนัด


Slide 34

ตัวอย่ าง (ต่ อ)
ขัน้ ตอนที่ 3.4 กาหนดตัวชีว้ ัดในแต่ ละเป้าประสงค์
เป้าประสงค์ ของงานด้ านการประกันคุณภาพฯ
การจัดทารายงานภายในเวลาที่กาหนดและ
สามารถนาไปใช้ ประโยชน์ได้





การดาเนินโครงการอย่างมีประสิทธิภาพ



ตัวชีว้ ัดของงานวิชาการ (เพิ่มเติม)
ร้ อยละของจานวนครัง้ ในการจัดส่งรายงานภายในเวลาที่
กาหนด
ระดับความสาเร็จของการนาข้ อมูลจากรายงานไปใช้
ประโยชน์อย่างเป็ นรูปธรรม
ร้ อยละความสาเร็จในการดาเนินงานโครงการตามแผน


Slide 35

เครื่องมือที่ช่วยในการแปลงยุทธศาสตร์ ระดับ
หน่ วยงานสู่ตวั ชีว้ ัด
ตารางแสดงความรั บผิดชอบ (OS Matrix: Owner-Supporter Matrix)
หน่ วยงาน
เป้าประสงค์

ตัวชีว้ ัด

นาย ก.

นาย ข.

นาย ค.


Slide 36

เครื่องมือที่ช่วยในการแปลงยุทธศาสตร์ ระดับ
หน่ วยงานสู่ตวั ชีว้ ัด

งานบริหารวิชาการ จัดทาตารางแสดงความรับผิดชอบ เพื่อให้ ครูและบุคลากร
ในส่วนงานทราบว่าตนเกี่ยวข้ องกับเป้าประสงค์และตัวชี ้วัดใดของส่วนงาน ดังนี ้
เป้าประสงค์

มีการบริหารที่ประกันคุณภาพตามหลักการ
ประกันคุณภาพ
การศึกษา PDCA

ตัวชีว้ ัด








ร้ อยละของงานที่บรรลุเป้าหมายตามแผนปฏิบตั ิการ
ประจาปี ของสถานศึกษา
ระดับความสาเร็จของการจัดให้ มีระบบข้ อมูลและ
สารสนเทศที่เป็ นปั จจุบนั เพื่อการบริหารสถานศึกษาและการ
พัฒนาการเรี ยนการสอน
ระดับความสาเร็จของการนาข้ อมูลจากการประเมินตนเอง
มาใช้ ในการวางแผนพัฒนาสถานศึกษาในปี ถัดไป
ร้ อยละของการดาเนินการที่บรรลุมาตรฐานการศึกษาที่
กาหนด

ด้ านหลักสูตร

การเรี ยน
ด้ านประกันฯ
การสอนฯ

S

S

O

O

O

O

O

O

O

O

O

O


Slide 37

เครื่องมือที่ช่วยในการแปลงยุทธศาสตร์ ระดับ
หน่ วยงานสู่ตวั ชีว้ ัด
เป้าประสงค์

มีหลักสูตรที่สอดคล้ อง
กับสถานศึกษา

ตัวชีว้ ัด




ผู้เรี ยนได้ รับการพัฒนา
อย่างต่อเนื่องและ
เต็มตามศักยภาพ







การพัฒนาระบบบริหาร
ความรู้



จานวนหลักสูตรที่ได้ รับการวิเคราะห์และปรับปรุงให้ เป็ น
ปั จจุบนั
ระดับความสาเร็จของการพัฒนาหลักสูตรโดย
กระบวนการมีสว่ นร่วม
ร้ อยละของผู้เรี ยนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนสูงขึ ้นอย่าง
ต่อเนื่อง
ร้ อยละของผู้เรี ยนที่มีผลการทดสอบระดับชาติสงู กว่า
ค่าเฉลี่ยคะแนนมาตรฐาน
ร้ อยละของผู้เรี ยนที่ได้ รับการส่งเสริมศักยภาพตามความ
ถนัด
ร้ อยละของครูและบุคลากรทางการศึกษาที่ได้ รับการ
พัฒนา ไม่น้อยกว่า 20 ชัว่ โมงต่อคนต่อปี

ด้ าน
หลักสูตร
O

การเรี ยน ด้ านประกัน
การสอนฯ

S

O

S

S

O

S

O

O

S

S

S
O


Slide 38

กิจกรรมที่ 2: การแปลงแผนยุทธศาสตร์
ระดับหน่ วยงานสู่ตวั ชีว้ ัดระดับบุคคล
ขอให้ ผ้ เู ข้ าร่วมฝึ กอบรมแบ่งกลุม่ ย่อยกลุม่ ละ 5 - 7 คน
แต่ ละกลุ่มย่ อย แปลงแผนยุทธศาสตร์ ระดับหน่วยงานสูร่ ะดับบุคคล
จากกรณีศกึ ษาที่วิทยากรกาหนด
ผลลัพธ์ ตัวชีว้ ัดระดับบุคคล
ระยะเวลา 45 นาที


Slide 39

กิจกรรมที่ 2: การแปลงแผนยุทธศาสตร์
ระดับหน่ วยงานสู่ตวั ชีว้ ัดระดับบุคคล
ประเด็นยุทธศาสตร์

ตัวชีว้ ัดระดับหน่ วยงาน

ตัวชีว้ ัดระดับบุคคล


Slide 40

5

ข้ อคิดในการกาหนดตัวชีว้ ัดระดับบุคคล

ภาวะผู้นาที่สนับสนุนและขับคลื่อนตัวชีว้ ัดระดับบุคคล
 การกาหนดกรอบในการปฏิบัตงิ าน ผู้นาควรปฏิบตั ิตามแนวทางดังนี ้
แนวทางที่ 1: ประกาศพันธกิจขององค์การอย่างชัดเจน
แนวทางที่ 2: ระบุสาเหตุที่ทาให้ องค์การมีผลการปฏิบตั ิงานไม่ดี
แนวทางที่ 3: กาหนดเป้าหมายการปฏิบตั ิงานที่ชดั เจน
แนวทางที่ 4: ทาความเข้ าใจกับความเชื่อมโยงระหว่างเป้าหมายและพันธกิจขององค์การ
 การปรั บปรุ งผลการปฏิบัตงิ าน ผู้นาควรปฏิบตั ิตามแนวทางดังนี ้
แนวทางที่ 5: ติดตามความก้ าวหน้ าในการปรับปรุงผลการปฏิบตั ิงานอย่างจริงจัง
แนวทางที่ 6: สนับสนุนทรัพยากรในการปรับปรุงผลการปฏิบตั ิงาน
แนวทางที่ 7: สร้ างขวัญกาลังใจจากชัยชนะเล็กๆ
แนวทางที่ 8: สร้ างโอกาสสาหรับความรู้สกึ ภาคภูมิใจต่อตนเองและเพื่อนร่วมงาน


Slide 41

ข้ อคิดในการกาหนดตัวชีว้ ัดระดับบุคคล
ภาวะผู้นาที่สนับสนุนและขับคลื่อนตัวชีว้ ัดระดับบุคคล
การเรี ยนรู้ ในการส่ งเสริมผลการปฏิบัตงิ าน ผู้นาควรปฏิบตั ิตามแนวทาง
ดังนี ้
แนวทางที่ 9: ตรวจสอบความเปลี่ยนแปลงและความสาเร็จของพันธกิจ
แนวทางที่ 10: วิเคราะห์ข้อมูลตัวชี ้วัด
แนวทางที่ 11: ปรับพันธกิจ เป้าหมาย หลักการ การติดตามและรายงาน
แผนการสนับสนุนทรัพยากร การกระตุ้นจูงใจ การให้ รางวัล และ
การวิเคราะห์


Slide 42

ข้ อคิดในการกาหนดตัวชีว้ ัดระดับบุคคล
1. ปั ญหาและอุปสรรคในการแปลงยุทธศาสตร์ ระดับองค์ การสู่ตัวชีว้ ัด
ระดับบุคคล
• การที่บคุ คลมุง่ เน้ นไปที่ตวั ชี ้วัดที่ตนรับผิดชอบมากเกินไป
• การจัดทาระบบตัวชี ้วัดในทุกระดับนันยากที

่จะมีความสมบูรณ์ และถูกต้ องได้
ทังหมดในครั

ง้ แรกที่ทา
2. โรคตัวชีว้ ัดผลการปฏิบัตงิ าน (KPI Disorder)
• ถ้ าตัวชี ้วัดมีเป้าหมายที่ยากเกินกว่าจะทาได้ ก็เกิดอาการ “เซ็ง” หรื อ
“แทรกแซง”
• ถ้ าตัวชี ้วัดมีเป้าหมายที่ง่ายเกินไป กรณีที่ผ้ บู งั คับบัญชากาหนดเป้าหมายที่
ง่ายเกินไป ผู้บงั คับบัญชาเองก็จะต้ องรับ “กรรม” ที่จะเกิดขึ ้นในอนาคต


Slide 43

ข้ อคิดในการกาหนดตัวชีว้ ัดระดับบุคคล
3.



4.






ปั จจัยสู่ความสาเร็จในการนาระบบประเมินระดับบุคคลมาใช้
ความเข้ าใจ
ทัศนคติในการนาตัวชี ้วัดมาใช้
การสนับสนุนและรับเป็ นเจ้ าภาพ
การนาตัวชีว้ ัดระดับบุคคลไปใช้ ประโยชน์ ในองค์ การ
สนับสนุนผลการปฏิบตั ิงานระดับองค์การ (Organization Performance)
การประเมินผลการปฏิบตั ิงานบุคลากร (Performance Appraisal)
การฝึ กอบรมและพัฒนาบุคลากร (Training and Development)
การจ่ายค่าตอบแทน (Compensation)
การพัฒนาสายอาชีพ(Career Development)


Slide 44

กิจกรรมที่ 3: แลกเปลี่ยนประสบการณ์
การกาหนดตัวชีว้ ัดระดับบุคคลในองค์ การของท่ าน
ขอให้ ผ้ เู ข้ ารับการอบรมแบ่งกลุม่ ย่อยกลุม่ ละ 5 - 7 คน
แต่ ละกลุ่มย่ อย แลกเปลี่ยนประสบการณ์ ปั ญหา อุปสรรค และ
วิธีการแก้ ไขปั ญหาในการกาหนดตัวชี ้วัดระดับบุคคลในองค์การของท่าน
(ระดับสถานศึกษา/หน่วยงาน)
ตัวแทนกลุ่มย่ อย นาเสนอ 3 ปั ญหาสาคัญและแนวทางการแก้ ไข
ปั ญหาที่ประสบความสาเร็จหน้ าห้ องฝึ กอบรม
วิทยากร สรุปปั ญหาและแนวทางการแก้ ไขปั ญหาในการกาหนด
ตัวชี ้วัดระดับองค์การของผู้เข้ าร่วมฝึ กอบรม


Slide 45

กิจกรรมที่ 3: แลกเปลี่ยนประสบการณ์
การกาหนดตัวชีว้ ัดระดับบุคคลในองค์ การของท่ าน
ปั ญหา/อุปสรรค

กลุ่มที่........
แนวทางการแก้ ปัญหา


Slide 46

ถาม - ตอบ