โครงการยกระดับคุณภาพผูบ้ ริหารสถานศึกษาและครูทงั ้ ระบบ ตามแผนปฏิบตั ิ การไทยเข้มแข็ง ปี งบประมาณ 2553 การควบคุม การวัดประเมินและการจัดการความรู้ โดย  ศ.ดร.ศิริชยั กาญจนวาสี  ชุตินันท์ จันทรเสนานนท์  ภิรดี วัชรสินธุ์

Download Report

Transcript โครงการยกระดับคุณภาพผูบ้ ริหารสถานศึกษาและครูทงั ้ ระบบ ตามแผนปฏิบตั ิ การไทยเข้มแข็ง ปี งบประมาณ 2553 การควบคุม การวัดประเมินและการจัดการความรู้ โดย  ศ.ดร.ศิริชยั กาญจนวาสี  ชุตินันท์ จันทรเสนานนท์  ภิรดี วัชรสินธุ์

โครงการยกระดับคุณภาพผูบ้ ริหารสถานศึกษาและครูทงั ้ ระบบ
ตามแผนปฏิบตั ิ การไทยเข้มแข็ง ปี งบประมาณ 2553
การควบคุม การวัดประเมินและการจัดการความรู้
โดย
 ศ.ดร.ศิริชยั กาญจนวาสี
 ชุตินันท์ จันทรเสนานนท์
 ภิรดี วัชรสินธุ์
อ.ดร.เปรมปรีด์ิ หมู่วเิ ศษ
คณะครุสาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏลาปาง
การควบคุม การวัดประเมินและการจัดการความรู้
ประวัติการศึกษา
ปริญญาตรี....สั ตวแพทยศาสตรบัณฑิต
จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย
ปริญญาโท....รัฐศาสตร์ มหาบัณฑิต
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ประกาศนียบัตรวิชาชีพครู
มหาวิทยาลัยสุ โขทัยธรรมาธิราช
ปริญญาเอก...การศึกษาดุษฎีบัณฑิต
(การบริหารการศึกษา)
มหาวิทยาลัยบูรพา
ประวัติการทางาน
พนักงานเทคนิคและขาย ยาสั ตว์
ผู้จดั การฝ่ ายขาย ยาสั ตว์
ผู้อานวยการโรงเรียนเถินเทคโนโลยีพณิชยการ
ปัจจุบัน.....พนักงานมหาวิทยาลัยราชภัฏลาปาง
ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายวิจยั
www.prempri.com
การควบคุม การวัดประเมินและการจัดการความรู้
Recall
Understanding Ability Wanting to
Learning Gap
Greg Light and Roy Cox (2001)
Doing
Changing
เป็ นไปได้ ท้าทาย
รูว้ ิธีการ(เส้นทาง)
สัญญากับตนเองว่าต้องทา
ทบทวนเล็กน้อยกับสิ่ งที่ผา่ นมา
การควบคุม การวัดประเมิน และการจัดการความรู้
การควบคุม
แผนงาน
การปฏิบตั ิ
ความสามารถในการแข่ งขัน
การจัดการความรู ้
การวัดและประเมิน
สารสนเทศ
ทาไมต้องการควบคุม
ความรู้พืน้ ฐานเกี่ยวกับการควบคุม
การควบคุม (Controlling) คือ การจัดการดาเนินงานให้เป็ นไป
ตามทิศทางทีไ่ ด้วางแผนไว้
การดาเนินงาน
การควบคุม
การแก้ไข
การกากับ
วัตถุประสงค์
ของการดาเนินงาน

การควบคุม (Input, Process, Output)
การวางแผน
การบริหาร
โรงเรียน
การควบคุม
การนา
ภาพกระบวนการจัดการที่เป็ นพลวัต
 ความสาคัญของการควบคุม
การควบคุมช่วยให้โรงเรียนดาเนินงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
และประสิทธิผล เนื่องด้วยเหตุผลหลายประการ ดังต่อไปนี้ (พัชสิร ี
ชมพูคา, 2552)
 การควบคุมช่วยป้องกันการสะสมความผิดพลาด
 การควบคุมช่วยปรับเพือ่ การเปลีย่ นแปลงและความไม่แน่นอน
 การควบคุมช่วยลดต้นทุน เพิม่ ประสิทธิผลหรือทาให้มมี ูลค่าเพิม่ ขึน้
 การควบคุมช่วยลดความซับซ้อนของการดาเนินงานในโรงเรียน
 การควบคุมช่วยให้เกิดนวัตกรรม

ระดับการควบคุม
การควบคุม
ระดับกลยุทธ์
ผูบ้ ริหารระดับสูง
การควบคุมระดับกลวิธี
ผูบ้ ริหารระดับกลาง
การควบคุมระดับปฏิบตั ิ การ
ผูบ้ ริหารระดับต้น
ภาพระดับการควบคุม
ที่มา: ดัดแปลงจาก พัชสิรี ชมพูคา, 2552

ระดับการควบคุม
สิ่งนาเข้า
กระบวนการ
ผลลัพธ์
การควบคุมสิ่งนาเข้า
(feedforward control)
การควบคุมการดาเนินงาน
(concurrent control)
การควบคุมผลลัพธ์
(feedback control)
ย้อนกลับ
การควบคุม การวัด และประเมินในองค์กรทางการศึกษา
ขั้นตอนการควบคุม
ประเภทของการควบคุม
เทคนิคการควบคุมทางด้านการบริ หาร
เทคนิคการควบคุมทางด้านการบริ หาร
MBO
TQM
Balance score card (BSC)
Benchmarking
กรณี ศึกษา
ความรู้พืน้ ฐานเกี่ยวกับการวัดและการประเมิน

ความหมายเกี่ยวกับการวัดและประเมิน
 การวัด (measurement)
 การวัด = การกาหนดตัวเลขให้แก่สงิ่ ต่างๆ อย่างมีกฎเกณฑ์
 เครื่องมือที่ใช้วดั เช่น
- แบบสอบ
- แบบสังเกต
- แบบตรวจสอบรายการ
- แบบบันทึก
 การวัดทีด่ ตี อ้ งมีเครือ่ งมือวัดทีม่ คี ุณภาพ
ความรู้พืน้ ฐานเกี่ยวกับการวัดและการประเมิน

ความหมายเกี่ยวกับการวัดและประเมิน
 การประเมิน (evaluation)
 การประเมิน = การตัดสินคุณค่า (คุณภาพ) ของสิง่ ทีถ่ ูกวัดโดย
เปรียบเทียบกับเกณฑ์หรือมาตรฐาน
 การประเมินที่ดีต้องยุติธรรม
- ผลการวัดต้องถูกต้อง
- เกณฑ์/มาตรฐานทีใ่ ช้ตดั สินต้องเป็ นทีย่ อมรับ
การประเมินน้ าหนักตามเกณฑ์ส่วนสูง
การประเมินน้ าหนักตามเกณฑ์ส่วนสูง (นิยมใช้กบั ผูใ้ หญ่ อายุเกิน 20
ปี ) เป็ นการเปรี ยบเทียบน้ าหนักกับส่ วนสูง ว่าคนที่มีส่วนสูงในระดับ
ต่างๆ ควรจะมีน้ าหนักเท่าใดจึงจะเหมาะสม ไม่เป็ นคนผอมหรื ออ้วน
เกินไป ใช้ค่าดัชนีมวลกาย (Body mass index : BMI) ในการประเมิน
มากกว่า โดยมีสูตรจานวน

ความแตกต่างระหว่างการวัด (measurement) และการประเมิน
(evaluation)
 การวัด (measurement) เป็ นการกาหนดขนาด ปริมาณ จานวน
หรือระดับของสิง่ ต่างๆ โดยมีมาตรวัดหรือหน่ วยในการวัด การวัด
นัน้ มีความสาคัญในการดาเนินการขององค์การอย่างมาก เนื่ องจาก
ผูบ้ ริหารใช้การวัดตามตัวชีว้ ดั (indicator) เพื่อติดตามความก้าวหน้า
ในการปรับปรุงผลงานของหน่วยงานต่างๆ

ความแตกต่างระหว่างการวัด (measurement) และการประเมิน
(evaluation)
 การประเมิน (evaluation) เป็ นการใช้ดุลยพินิจตามเกณฑ์
หรือมาตรฐานหรือค่านิยมในการพิจารณาตัดสินคุณค่าของ
สิง่ ใดสิง่ ในกรณีทผ่ี ลการประเมินไม่บรรลุผลสาเร็จตามตัว
บ่งชีแ้ ละเกณฑ์ทก่ี าหนด ผูบ้ ริหารจะต้นหาสาเหตุเพือ่
ปรับปรุงแก้ไขต่อไป
 การวัด
 การวัดทาให้องค์การรู้ถึงสถานะของตนเองว่าอยู่ ณ จุด
ไหน หรือสถานการณ์ในขณะนัน้ เป็ นอย่างไร
 การพัฒ นาองค์ก ารหรือ การเปลี่ย นแปลงต่ า งๆ ภายใน
องค์การจะต้องทาการวัดผลประเมิน และปรับปรุง
 ถ้ า สิ่ ง ใดที่ ไ ด้ ร ั บ ความสนใจหรื อ มี ก ารวั ด หรื อ การ
ประเมินผล ผูท้ ด่ี าเนินกิจกรรมนัน้ จะต้องรับ ผิดชอบต่อ
การปรับปรุงเปลีย่ นแปลงไปสูส่ งิ่ ทีด่ กี ว่า
 การประเมิน
 บทบาทของการประเมิน
 ช่วงเวลาของการประเมิน
 ผูท้ าการประเมินผล
 สิง่ ทีถ่ กู ประเมิน
บทบาทของการประเมิน

- การประเมินความก้าวหน้ า (formative evaluation)
เป็ นการประเมินทีม่ จี ุดมุ่งหมายเพื่อให้ขอ้ มู ลย้อนกลับ
(feedback) เพือ่ การปรับปรุงและพัฒนา
- การประเมินผลสรุป (summative evaluation) เป็ น
การประเมิน หลัง จากที่ก ารด าเนิ น งานสิ้น สุ ด ลงแล้ว
เพือ่ ตัดสินผลว่าประสบความสาเร็จเพียงใด
กลับ

ช่วงเวลาของการประเมิน
- การประเมินก่อนการดาเนินงาน
- การประเมินระหว่างปฏิบตั งิ าน
- การประเมินหลังสิน้ สุดการดาเนินงาน

ผูท้ าการประเมินผล
- การประเมิ น ผลโดยบุ ค ลากรในหน่ วยงานหรื อ
ผูเ้ กีย่ วข้องกับหน่ วยงาน เรียกว่า การประเมินภายใน
(internal evaluation)
- การประเมิน ผลโดยบุ ค ลากรภายนอกที่ไ ม่ ไ ด้ม ีส่ว น
เกี่ยวข้องกับหน่ วยงานหรือสิง่ ทีถ่ ูกประเมิน แต่มคี วาม
ชานาญวิชาชีพของการประเมิน เรียกว่าการประเมิน
ภายนอก (external evaluation)

สิง่ ทีถ่ กู ประเมิน
- การประเมินความต้องการจาเป็ น (need assessment)
- การประเมินปจั จัยนาเข้า (input evaluation)
- การประเมินกระบวนการ (process evaluation)
- การประเมินผลผลิต (product evaluation)
- การประเมินผลกระทบ (impact evaluation)
ความรูเ้ กี่ยวกับการควบคุม การวัดประเมินจะนามาประยุกต์ใช้
เพื่อปรับปรุงระบบการบริหารสถานศึกษาได้อย่างไร?
 การสร้างวิสย
ั ทัศน์ (vision)
 การกาหนดพันธกิจ (mission)
 จุดมุ่งหมาย (goals)
 วัตถุประสงค์ (objectives
 การกาหนดเป้ าหมาย (targets)
 การดาเนินงาน (operation)

การประยุกต์ใช้สาหรับการประกันคุณภาพ
การประเมินผลภายใน (internal evaluation)
คือ กระบวนการประเมินผลการดาเนินงานของ
หน่วยงานทีก่ ระทาโดยบุคลากรในหน่วยงานหรือผูท้ ่ี
เกีย่ วข้องอย่างต่อเนื่อง เพือ่ ให้ได้ขอ้ มูลทีใ่ ช้ในการ
ปรับปรุงพัฒนากาดาเนินงานให้บรรลุเป้าหมาย
ตามทีก่ าหนด

การประเมินผลภายนอก (external
evaluation) คือ
กระบวนการตรวจสอบคุณภาพการดาเนินงานของ
หน่วยงานซึง่ กระทาโดยกลุ่มบุคคลทีเ่ ป็ นนักประเมินโดย
อาชีพ เพือ่ ให้ได้ขอ้ มูลเกีย่ วกับคุณค่าของหน่วยงาน ซึง่
เป็ นประโยชน์ต่อการปรับปรุงการทางานและเป็ น
หลักประกันคุณภาพการดาเนินงานของหน่วยงานว่าได้
มาตรฐานหรือไม่เพียงใด
 บทบาทของการประเมินในสถานศึกษา
 ขัน้ ตอนการประเมินผลภายใน
วงจรการทางานแบบ PDCA
การวางแผนการทางาน (plan)
การลงมือปฏิบตั งิ าน (do)
การตรวจสอบผลการปฏิบตั งิ าน (check) และ
การแก้ไขปรับปรุงการทางาน (act)
ซึ่งในขัน้ ตอนการตรวจสอบการทางาน (check) นี้ก็
ยังมีวงจรการทางานทีเ่ ป็ นแบบ PDCA คือ มีการวาง
แผนการประเมิน การลงมือ ท าการประเมิน การ
ตรวจสอบผลการประเมิน และการแก้ไขปรับปรุงผล
การด าเนิ น งานหลั ง จากรู้ ผ ลการประเมิ น ว่ า มี
จุดบกพร่องในเรือ่ งใด

บทบาทของการประเมินในสถานศึกษา
 มาตรฐานของการประเมินผลภายใน
 มาตรฐานด้านประโยชน์ จากการประเมิน
(utility standard)
 มาตรฐานด้านความเป็ นไปได้ (feasibility standard)
 มาตรฐานด้านความเหมาะสม (propriety standard)
 มาตรฐานด้านความถูกต้อง (accuracy
standard)
ความรู้พืน้ ฐานเกี่ยวกับการจัดการความรู้
(Knowledge Management: KM)
แนวคิดเบือ้ งต้นเกี่ยวกับการจัดการความรู้
นิยามการจัดการความรู้
กระบวนการจัดการความรู้ (Knowledge Management Process)
เครื่องมือการจัดการความรู้ (Knowledge Management Tools)
ความสัมพันธ์ของการจัดการความรู้ (KM)กับองค์การแห่งการเรียนรู้ (LO)
"ถ้าคนสองคนที่มีเงินคนละ 1 รู ปี เมื่อนาเงินมาแลก
กัน กลับบ้านเขาก็จะมีเงินคนละ 1 รู ปี หากคนสองคน
ที่มีความรู้คนละเรื่ อง และนาความรู้มาแลกกัน เมื่อ
กลับบ้านเขาทั้งสองจะมีความรู้คนละ 2 เรื่ อง"
นางอินทิรา คานธี อดีตนายกรัฐมนตรี อินเดีย
บางคนบอกว่า เหลือน้ าครึ่ งแก้ว
บางคนบอกว่าอีกครึ่ งแก้วจะเต็ม
มุมมองปัญหา บางคนมองปัญหา
เป็ นปัญหา แต่.....
บางคนมองว่าเป็ นโอกาส
ถ้าต้องการเปลี่ยนแปลงตนเองเล็กน้อย ให้ทางานตามพฤติกรรม
ถ้าต้องการเปลี่ยนแปลงที่ยงิ่ ใหญ่ ต้องทางานตามวิสยั ทัศน์
ความรู้พืน้ ฐานเกี่ยวกับการจัดการการความรู้
การจัดการความรู้
• รวบรวมองค์ความรู้ (Tacit + Explicit)
• พัฒนาให้เป็ นระบบ (สังเคราะห์ มี
กิจกรรมรองรับ)
• ให้ทุกคนเข้าถึง (เปิดช่องทางถ่ายทอด/
แลกเปลีย่ น/ แบ่งปนั )
•นาไปใช้ปฏิบตั เิ พิม่ ขีดความสามารถของ
องค์กร (ประสิทธิผลและประสิทธิภาพ)

แนวคิดเบือ้ งต้นเกี่ยวกับการจัดการความรู้
ความเป็ นมา
การจัดการความรู้ (KM) เป็ นสิง่ ที่มมี านานนับร้อยๆ ปี ตัง้ แต่ก ารถ่ายทอด
ความรูแ้ ละภูมปิ ญั ญาจากคนรุ่นหนึ่งสู่รุ่นต่อไปหลายชัวอายุ
่ คน โดยใช้วธิ ธี รรมชาติ
เช่น พูดคุย สังสอน
่
จดจา สังเกต ซึง่ ในปจั จุบนั ความรู้ได้กลายเป็ นกุญแจสาคัญสู่
ความสาเร็จ และเป็ นทรัพยากรที่มีคณ
ุ ค่าเกินกว่าที่ จะปล่อยให้เกิดขึน้ เองตาม
ธรรมชาติ ดังนัน้ การจัดการความรูแ้ บบวิธธี รรมชาติอย่างเดียวอาจก้าวตามโลกไม่
ทัน โรงเรียนจึงควรมีการจัดการความรู้อย่างเป็ นระบบซึ่งจะทาให้การค้ นหา สร้าง
รวบรวม จัดเก็บ เผยแพร่ แบ่งปนั และใช้ความรู้ ขับเคลื่อนไปได้อย่างรวดเร็วและ
ต่อเนื่อง เพือ่ ช่วยให้โรงเรียนสามารถทาให้บุคลากรได้ใช้ความรูท้ ่ตี อ้ งการได้อย่างเกิด
ประโยชน์สงู สุด
 แนวคิดเบือ
้ งต้นเกี่ยวกับการจัดการความรู้
 องค์ประกอบของการจัดการความรู้ คือ คน เทคโนโลยี และ
กระบวนการความรู้ (knowledge process)
 คน เป็ น ส่ ว นที่ส าคัญ ที่สุ ด คือ เป็ น แหล่ ง ความรู้ และเป็ น ผู้น า
ความรูไ้ ปใช้ให้เกิดประโยชน์
 เทคโนโลยี เป็ นเครื่องมือที่ช่วยค้นหา จัดเก็บ แลกเปลี่ ยน และ
นาความรูไ้ ปใช้ได้งา่ ยและรวดเร็วขึน้
 กระบวนการความรู้ เป็ นการบริห ารจัดการเพื่อนาความรู้ จ าก
แหล่งความรูไ้ ปใช้เพือ่ ให้เกิดการปรับปรุงและนวัตกรรม

แนวคิดเบือ้ งต้นเกี่ยวกับการจัดการความรู้
 เป้ าหมายและจุดประสงค์ในการจัดการความรู้
เป้าหมายและจุดประสงค์ในของสถานศึกษา ควรเป็ นเป้าหมาย
เพื่อพัฒนาโรงเรียนให้บรรลุเป้ าหมายที่กาหนดไว้
ตามวิสยั ทัศน์ / กลยุทธ์ ทีก่ าหนดไว้
 กระบวนการจัดการความรู้ (Knowledge Management Process)
1. การค้นหาความรู้
(Knowledge
Identification)
2. การสร้างและ
แสวงหาความรู้
7. การเรียนรู้
(Learning)
6. การแบ่งปัน
แลกเปลี่ยนความรู้
(Knowledge Creation
and Acquisition)
กระบวนการจัดการความรู้
(Knowledge Management Processes)
(Knowledge Sharing)
3. การจัดความรู้
ให้เป็ นระบบ
(Knowledge Organization)
5. การเข้าถึงความรู้
(Knowledge Access)
4. การประมวลและ
กลันกรองความรู
่
้
(Knowledge Codification
and Refinement)

แนวคิดเบือ้ งต้นเกี่ยวกับการจัดการความรู้
 นิยามศัพท์
ความรู้
(Knowledge)
สารสนเทศ
(Information)
ข้อมูล (Data)
ภาพปิรามิดแสดงลาดับขัน้ ความรู้
ทีม่ า : จิรประภา อัครบวร, 2552
ความรู้ที่ชดั แจ้ง
(Explicit Knowledge)
 การจาแนกความรู้
(1)
(2)
อธิบายได้
แต่ไม่อยากอธิบาย
ความรู้ที่ฝังอยู่ในคน
(Tacit Knowledge)
อธิบายได้
แต่ยงั ไม่ถกู นาไปบันทึก
(3)
อธิบายไม่ได้
ภาพแสดงการจาแนกความรู้
ทีม่ า: จิรประภา อัครบวร, 2552 อ้างอิงจาก เอกสารประกอบการบรรยาย
เรือ่ งพืน้ ฐานการจัดการความรูส้ ถาบันเพิม่ ผลผลิตแห่งชาติ
 เครื่องมือการจัดการความรู้ (Knowledge Management Tools)




ชุมชนนักปฏิบตั ิ (Community of Practice: CoP)
เรื่องเล่าเร้าพลัง (storytelling)
การทบทวนหลังปฏิบตั ิ งาน (After Action Review: AAR)
การถอดบทเรียน (Lesson Learned Debriefings)
หน่ วยงานไหน
ไม่ เปลีย่ นจากต่ างคนต่ างทา
ต่ างหน่ วยต่ างทา ไม่ ช่วยเหลือเกือ้ กูลกัน
ไม่ เรียนรู้ ไม่ แลกเปลีย่ นแบ่ งปันความรู้
หน่ วยงานนั้น
ก็จะตกต่า จนอยู่ไม่ ได้
เกิดการเปลีย่ นแปลงรุนแรง
ที่ยากลาบากกว่ า
การเปลีย่ นแปลงแบบพัฒนา
เอกสารการอบรม Km ของ อ.JJ
ผู้บริหารระดับสู งต้ องเอาจริงเอาจังและ
เชื่อมั่นในคุณค่ าของ KM
จุดทีส่ าคัญคือ ใช้ KM ภายใต้ ความ
รับผิดชอบของเราเอง ภายใน
หน่ วยงานของเราไม่ เน้ นการควบคุม
สั่ งการ แต่ เน้ นแลกเปลีย่ นเรียนรู้
ถ้ าเราไม่ อยู่ในฐานะทีจ่ ะ
เปลีย่ นแปลงภาพใหญ่ ได้
เราก็เปลีย่ นทีต่ ัวเราเองก่อน
เปลีย่ นในหน่ วยงานที่เรา
รับผิดชอบก่อน
ต่ อเมื่อมีโอกาส จึงค่ อย
ร่ วมกับภาคีแนวร่ วมอืน่ ๆ
ดาเนินการเปลีย่ นแปลงภาพใหญ่
ความสัมพันธ์ของการจัดการความรู้ (KM) กับองค์การแห่งการเรียนรู้ (LO)
ในการสร้า งองค์การแห่ง การเรีย นรู้ จึงเป็ น การที่จะท าให้ ค นใน
องค์การเรียนรูป้ จั จัยต่างๆ ทัง้ จากภายในและภายนอก เพื่อนามาใช้พฒ
ั นา
ตนเอง และการด าเนิ น งานขององค์ก าร ทัง้ นี้ ก ารที่ค นและองค์ก ารจ ะ
สามารถเรีย นรู้เ พื่อ พัฒ นาได้อ ย่า งมีป ระสิท ธิภ าพนัน้ ต้อ งมี ก ารจัด การ
ความรูค้ วบคู่กนั ไปเสมอ ซึง่ ก็คอื “การมีกระบวนการในการนาความรู้ที ่
มี อ ยู่ห รื อ เรี ย นรู้ม าใช้ ใ ห้ เ กิ ด ประโยชน์ สูง สุด ต่ อ องค์ก าร โดยผ่า น
กระบวนการต่ า งๆ เช่ น การสร้ า ง รวบรวม แลกเปลี ย่ น และใช้
ความรู้”
ความรู้พืน้ ฐานเกี่ยวกับการจัดการการความรู้
 ความสัมพันธ์ของการจัดการความรู้ (KM) กับองค์การแห่งการเรียนรู้ (LO)
สร้างวิสยั ทัศน์ ร่วม
(Shared Vision)
มุ่งมันสู
่ ่ความเป็ นเลิศ
(Personal Mastery)
แบบแผนความคิด
(Mental Model)
องค์การแห่งการเรียนรู้
(Learning Organization: LO)
คิดเชิงระบบ
(System Thinking)
เรียนรู้เป็ นทีม
(Team Learning)
ภาพหลัก 5 ประการสู่องค์การแห่งการเรียนรู้
ทีม่ า : ดัดแปลงจาก The Fifth Discipline โดย Peter Senge (1990) อ้างอิงจากจิรประภา อัครบวร ,2552)
วินัย ห้ า ประการขององค์ การแห่ งการเรียนรู้
การเป็ นบุคคลทีร่ อบรู้ (Personal Mastery)
“สิ่ งที่ตอ้ งการคืออะไร และสิ่ งที่มีคืออะไร”
เมื่อแรกเกิดมนุษย์มี เซลล์สมองประมาณ หนึ่งแสนล้านเซลล์
มีจุดเชื่อม(Synap) ที่ไม่จากัด
การมีแบบแผนความคิด (Mental Models)
ความคิด ความเข้าใจที่ซ่อนอยูใ่ นตัวบุคคลที่มีต่อหน่วยงาน ต่อ
องค์การและต่อบริ บทรอบๆตัว และมีอิทธิพลอย่างยิง่ ต่อการ
แสดงออกทางพฤติกรรม
การมีวสิ ั ยทัศน์ ร่วม (Shared Vision)
การกระตุ้นให้ แต่ ละคนมีวิสัยทัศน์ ส่วนบุคคลโดยการสร้ าง
บรรยากาศและกระตุ้นให้ เกิดการริ เริ่ มสร้ างสรรค์
การพัฒนาวิสัยทัศน์ ส่วนบุคคลให้ เป็ นวิสัยทัศน์ ร่วมกันขององค์ การ
สร้ างทัศนคติต่อวิสัยทัศน์ ในระดับความผูกพันให้ มากที่สุด
เพื่อให้ เกิดพฤติกรรมที่สนับสนุนโดยไม่ ต้องมีการควบคุม
การสนับสนุนวิสัยทัศน์ เชิ งบวก
การเรียนรู้ ร่วมกันเป็ นทีม (Team Learning)
ความคิดร่ วมกันของกลุ่ม(Group Thinking)
กระตุน้ ให้กลุ่มมีการสนทนา (Dialogue)
การอภิปราย (Discussion)
การคิดอย่ างเป็ นระบบ (Systems Thinking)
เปลี่ยนการมองสิ่ งต่างๆแบบแยกส่ วนมาเป็ นการมองให้
เห็นภาพรวม
เปลี่ยนการมองมนุษย์วา่ เป็ นคนเฉื่ อยไร้ประโยชน์ มาเป็ นผู้
มีความกระตือรื อร้นในการมีส่วนร่ วมกับการเปลี่ยนแปลงที่
เป็ นจริ ง
เปลี่ยนจากการตั้งรับในปัจจุบนั ไปเป็ นการสร้างสรรค์ใน
อนาคต
Causal – loop Diagrams
การจัดการความรู้: ทฤษฎีส่กู ารปฏิบตั ิ
การจัดทาแผนการจัดการความรู้
เราต้องมีความรู้เรื่องอะไร
เรามีความรู้เรื่องนัน้ หรือยัง
1.การบ่งชี้ความรู้
(Knowledge Identification)
ความรู้อยู่ที่ใครอยู่ในรูปแบบอะไร
จะเอามาเก็บรวมกันได้อย่างไร
2.การสร้างและแสวงหาความรู้
(Knowledge Creation and Acquisition)
จะแบ่งประเภทหัวข้ออย่างไร
3.การจัดความรู้ให้เป็ นระบบ
(Knowledge Organization)
จะทาให้เข้าใจง่ายและสมบูรณ์ อย่างไร
4. การประมวลและกลันกรองความรู
่
้
(Knowledge Codification and Refinement)
เรานาความรู้มาใช้งานได้ง่ายหรือไม่
5.การเข้าถึงความรู้ (Knowledge Access)
มีการแบ่งปันคามรู้ให้กนั หรือไม่
6.การแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้
(Knowledge Sharing)
ความรู้นัน้ ทาให้เกิ ดประโยชน์ กบั องค์การ
หรือไม่ทาให้องค์การดีขึน้ หรือไม่
7.การเรียนรู้ (Learning)
ภาพกระบวนการจัดการความรู้ (Knowledge Management Process)
การจัดการความรู้: ทฤษฎีส่กู ารปฏิบตั ิ
 กรณี ศึกษาการจัดการความรู้ในองค์การทางการศึกษา
กรณี ศึกษา การจัดการความรู้
ของโรงเรียนเพลินพัฒนา
กรุงเทพมหานคร
กรณี ศึกษา รูปแบบการจัดการ
ความรู้ของโรงเรียนวัดศิวาราม
สานักงานเขตพืน้ ที่การศึกษา
พระนครศรีอยุธยา เขต 1
กรณี ศึกษา
 โรงเรียนอ่าวลึกประชาสรรค์
 โรงเรียนเมืองสุราษฎร์ธานี
 โรงเรียนพิษณุโลกพิทยาคม
ให้ผเู ้ ข้าร่ วมอบรม ทาใบงานที่ ๒
สรุปบทเรียน
การควบคุม เป็ น กระบวนการที่ผู้บ ริห ารสถานศึก ษาติด ตามก ากับ ว่า
องค์การ และบุคลากรปฏิบตั งิ านตามแผนทีจ่ ะช่วยบรรลุเป้าหมายขององค์การได้อย่าง
มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลหรือไม่ อย่างไร โดยการควบคุมสามารถแบ่งออกได้
เป็ น 3 ระดับ คือ ระดับ ปฏิบ ัติก าร ระดับ กลวิธี และระดับ กลยุ ท ธ์ ซึ่ง มีร ะบบการ
ควบคุมตัง้ แต่ การควบคุมสิง่ นาเข้า การควบคุมการดาเนินงาน และการควบคุมผลลัพธ์
โดยมีขนั ้ ตอนในการควบคุม 4 ขัน้ ตอน ได้แก่ การกาหนดมาตรฐาน การวัดผลการ
ปฏิบตั งิ าน การเปรียบเทียบ และผลการเปรียบเทียบ ซึง่ การควบคุมทีม่ ปี ระสิทธิผลต้อง
คานึงถึงการเชื่อมโยงเข้ากับการวางแผน การรวบรวมข้อมูลในการจัดการทีเ่ พียงพอ

สรุปบทเรียน
 การวัดประเมิน เป็ นกระบวนการที่ใช้ในการตรวจสอบคุณภาพของการ
ปฏิบตั งิ านขององค์การ โดยการวัดทาให้ได้ขอ้ มูลเชิงปริมาณเพื่อแสดงสถานภาพของ
การปฏิบตั งิ าน ผลการดาเนินงานในเบือ้ งต้น การประเมินมีทงั ้ การประเมินภายในและ
การประเมิ น ภายนอก ซึ่ง การประเมิน จะช่ ว ยตัด สิน คุ ณ ค่ า หรือ คุ ณ ภาพของการ
ดาเนินงานในด้านประสิทธิภาพและประสิทธิผล
ฝากให้จาและนาไปใช้
การควบคุม: การติดตามกากับตามแผน/วัตถุประสงค์
 การวัด: การรวบรวมข้อมูลเชิงปริมาณตามตัวชีว้ ด
ั
 การประเมิน: การตัดสินคุณค่าด้านประสิทธิผล/ประสิทธิภาพ
 การจัดการความรู้ : การพัฒนาองค์ความรู้ มีการเก็บรักษา/
ถ่ายทอด / แบ่งปนั นาไปใช้จนเกิดผลดีต่อองค์การ

ฝากให้จาและนาไปใช้

การควบคุม
เพือ่ ให้การควบคุมเกิดประสิทธิผลต่อโรงเรียนมากทีส่ ดุ จึงจาเป็ นต้อง
มีความเข้าใจเกีย่ วกับลักษณะของการควบคุมทีม่ ปี ระสิทธิผล ดังต่อไปนี้
 เชื่อมโยงเข้ากับการวางแผน
 นามาซึง่ ข้อมูลในการจัดการเพียงพอ
 ได้รบั การยอมรับ
 มีความยืดหยุน่
 ใช้หลายแนวทาง
ฝากให้จาและนาไปใช้

การควบคุม
อุปสรรคที่ทาให้ระบบการควบคุมไม่ประสบผลสาเร็จ





ทาการควบคุมมากเกินไป
เปิดโอกาสให้บุคลากรมีสว่ นร่วมน้อยเกินไป
มุง่ ให้เกิดผลการดาเนินงานมากเกินไป
มุง่ เน้นงานทางด้านเอกสารมากเกินไป
มุง่ เน้นในแนวความคิดเพียงเรือ่ งหนึ่งเรือ่ งใดมากเกินไป
ฝากให้จาและนาไปใช้

การวัด
หน้าทีข่ องผูบ้ ริหารสถานศึกษาทีจ่ ะต้องเก็บรวบรวมข้อมูลเชิงปริม าณทีแ่ สดงถึง
ผลสาเร็จในการบริหารโรงเรียน หลุมพรางทีเ่ กิดขึน้ บ่อยทีส่ ุดในการสร้างระบบการวัด
ก็คอื การละเลยวัตถุประสงค์ท่แี ท้จริงของการบริหารโรงเรียน การละเลยสิ่ งเหล่านี้
อาจทาให้ความพยายามในการระบุและปรับปรุงการเพิม่ ผลผลิตของโรงเรียน รวมทัง้
ข้อได้เปรียบในการแข่งขันของโรงเรียนลดลง จนในทีส่ ดุ การวัดจะกลายเป็ นเพียงการ
ทาแบบฝึ กหัดทางตัวเลขเท่านัน้ เพือ่ ไม่ให้กรณีเช่นนี้เกิดขึน้ ผู้ บริหารต้องระวังปจั จัย
ทีแ่ ยกขาดจากกันไม่ได้ 2 ประการ ซึง่ ได้แก่
(1) การเอาจริงเอาจังของคณะผูบ้ ริหารโรงเรียน (ในแง่ของเวลา เงิน และความเป็ นผูน้ า)
(2) การทางานเป็ นทีม
ฝากให้จาและนาไปใช้

การวัด
ปจั จัยสองอย่างนี้มคี วามสาคัญ ต่อทีมงานฝา่ ยแผนทีท่ าการวัดผลสาเร็จ
ขององค์กรเท่านัน้ หากแต่ยงั สาคัญต่อการแปลงข้อมูลข่าวสารดั งกล่าวให้
องค์การสามารถพัฒนาความก้าวหน้าตามวิสยั ทัศน์ของโรงเรียนอย่างแท้จริง
ด้วยอีกด้วย
ฝากให้จาและนาไปใช้
 การประเมิน
ประโยชน์ ของการประเมินผล
 ทาให้ได้ขอ้ มูลทีช่ ว่ ยในการปรับปรุงการดาเนินงานให้เป็ นไปในทิศทางทีต่ อ้ งการ
 ทาให้ทราบผลการปฏิบตั ิ งานว่าบรรลุผลตามเป้าหมายทีว่ างไว้มากน้อยเพียงใด
 ทาให้ได้ขอ้ มูลที่ช่วยในการวางแผนหรือพัฒนาปรับปรุงการดาเนินงานให้มคี ุณภาพ
ตามเป้าหมายทีก่ าหนดมากยิง่ ขึน้
 ทาให้ได้ขอ้ มูลทีช่ ว่ ยในการตัดสินอนาคตของโครงการ หน่ วยงาน หรือการดาเนินงาน
ในกิจกรรมต่างๆของสถานศึกษา
ฝากให้จาและนาไปใช้
 การประเมิน
ปัจจัยสู่ความสาเร็จในการนาระบบประเมินมาใช้




ความเข้าใจ
ทัศนคติในการนาตัวชีว้ ดั มาใช้
การสนับสนุนและรับเป็ นเจ้าภาพ
ความยุตธิ รรมโดยทัวหน้
่ า
ฝากให้จาและนาไปใช้
 การจัดการความรู้
 นิยามของ “ความรู”้ มีค่ามากน้อยตามแต่ประสบการณ์แห่งการเรียนรู้ทต่ี ่างกัน
และประสบการณ์ ท่หี ลากหลายก็สร้างสรรค์ความรู้ได้หลายรูปแบบ ทานอง
เดียวกันการจัดการความรูก้ ส็ ามารถนาไปใช้เพือ่ เป้าประสงค์ทแ่ี ตกต่างกันไปใน
แต่ละองค์การ
 ประสบการณ์จากกรณีศกึ ษาหรือจากองค์การต่าง ๆ เป็ นประสบการณ์ในการ
เรียนรูแ้ ละการจัดการความรูท้ ม่ี คี ่า แต่เราจะเรียนรู้ ทาความเข้าใจและนาไปต่อ
ยอดในการพัฒนาองค์การได้อย่างเหมาะสมหรือไม่ สิง่ นี้เป็ นเรื่องทีท่ ้าทาย
และอยากฝากไว้ให้ช่วยดาเนินการต่อไปจนบรรลุผลสาเร็จ
เว็บไซต์
ที่น่าสนใจ