ทฤษฎีความรับผิดทางอาญากับการพยายามกระทำความผิด

Download Report

Transcript ทฤษฎีความรับผิดทางอาญากับการพยายามกระทำความผิด

หลักและทฤษฎีกฎหมายอาญา
เรื่อง
ทฤษฎีความรับผิดทางอาญากับการพยายามกระทาความผิด
โดย
รองศาสตราจารย์อจั ฉรียา ชูตินันทน์
1
สัปดาห์ที่3 ครัง้ ที่3
“ทฤษฎีความรับผิดทางอาญากับการพยายามกระทาความผิด”
2
“ การพยายามกระทาความผิด”
เป็ นการกระทาที่สมควรลงโทษหรือไม่
- เป็ นการกระทาที่เป็ นอันตรายต่อคุณธรรมทางกฎหมายหรือไม่
-
กรณี ศึกษา
- ใช้ปืนยิงในที่ที่ผเู้ สียอยู่ประจา แต่ขณะยิงผูเ้ สียหาย
ได้ลุกไปที่อื่น
- ขว้างระเบิดใส่ผเู้ สียหายโดยตัง้ ใจฆ่า แต่ลกู ระเบิด
ยังไม่ระเบิดเนื่ องจากยังไม่ถอดสลัก
- กระสุนปื นทาเองความเร็วตา่ ไม่อาจทาอันตราย
ถึงแก่ความตายได้
- นุดีเข้าใจว่าตนตัง้ ครรภ์จึงทาแท้งโดยใช้ยาขับเลือด
3
กรณี ศึกษา
- กอไก่ตงั ้ ใจฆ่าขอไข่เพราะยิงไม่แม่น ขอไข่จึงไม่ตาย
- เขียวต้องการฆ่าขาวจึงยิงไปที่ศพขาวโดยไม่รวู้ ่าขาวตาย
- ใช้ปืนไม่มีกระสุนยิงคนโดยเข้าใจผิดว่ามีกระสุน
- สินขโมยกระเป๋าสตางค์แสง ซึ่งแท้จริงเป็ นของสินเอง
- ใช้ปืนมีกาลังน้ อยมากยิงผูอ้ ื่น จึงไม่สามารถทาให้ตายได้
- ใช้ปืนยิงผูเ้ สียหายแต่บงั เอิญกระสุนด้านอาจเป็ น
เพราะกระสุนเสื่อมคุณภาพ
- ใช้วตั ถุที่ไม่มีพิษใส่อาหารเพื่อจะฆ่าคน
- ใช้ปืนแก๊ปที่ไม่มีแก๊ปยิงผูอ้ ื่น
4
การพยายามกระทาความผิดตามประมวลกฎหมายอาญาของไทย
มี 3 ประเภท คือ
1) การพยายามกระทาความผิดโดยแท้
กฎหมายลงโทษสองในสามส่วนของความผิดสาเร็จ
2) การพยายามกระทาความผิดที่ไม่สามารถบรรลุผลได้อย่างแน่ แท้
กฎหมายลงโทษไม่เกินกึง่ หนึ่งของความผิดสาเร็จ
3) การพยายามกระทาความผิดที่ผกู้ ระทาความผิดได้ยบั ยัง้ หรือ
กลับใจ ไม่ให้การกระทานัน้ บรรลุผล
กฎหมายไม่ลงโทษ
5
ทฤษฎีความรับผิดทางอาญาที่นามาวินิจฉัยการพยายามกระทาความผิด
ในระยะแรก
นักนิตศิ าสตร์ยดึ ถือทฤษฎีภาวะวิสยั (Objective Theory)
- ปฏิเสธ “การพยายามกระทาความผิดที่เป็ นไปไม่ได้โดยแน่ แท้”
- การพยายามที่ไม่เป็ นการกระทาที่เป็ นอันตรายใดๆต่อวัตถุหรือสิ่งที่ม่งุ หมาย
กระทาต่อหรือไม่เป็ นการกระทบต่อคุณธรรมทางกฎหมาย
ในระยะหลัง นักนิตศิ าสตร์เปลีย่ นมายึดถือทฤษฎีอตั วิสยั (Subjective Theory)
ผูก้ ระทามีเจตจานงมุ่งประกอบอาชญากรรม จึงสมควรต้องลงโทษ
(กรณี มาตรา80 และมาตรา81 มีเจตนาจานงเหมือนกัน)
6
ทฤษฎีความรับผิดทางอาญาที่นามาวินิจฉัยการพยายามกระทาความผิด
ระบบกฎหมายเยอรมัน
1) การพยายามกระทาความผิด
- “ทฤษฎีความเป็ นอันตรายของการกระทานัน้ ”
(The Criterion of Danger Rule)
- การกระทาต้องเป็ นอันตรายโดยตรงต่อผลประโยชน์
ต่างๆ ซึ่งกฎหมายให้การรับรองและคุ้มครอง
7
2) การพยายามกระทาความผิดที่เป็ นไปไม่ได้โดยแน่ แท้
- “ทฤษฎีอตั วิสยั ”(Subjective Theory) แนวคิดนี้ ยึดถือจิตใจเป็ นใหญ่
- การพยายามกระทาความผิดด้วยวิธีการที่ ไม่เหมาะสม
จะต้องถูกลงโทษ
- ไม่คานึ งถึงอันตรายที่จะเกิดขึน้ จริงอันเป็ นผลจาก การ
พยายามกระทาความผิดนัน้
ศาลเยอรมัน ไม่ลงโทษการพยายามกระทาความผิดด้วยความงมงาย
(Superstitious)
8
ทฤษฎีความรับผิดทางอาญาที่นามาวินิจฉัยการพยายามกระทาความผิด
ระบบกฎหมายฝรังเศส
่
มีแนวความเห็นที่ยงั แตกต่างกันอยู่มาก
ความเห็นแรก แบ่ง 3 ทฤษฎี
1) ทฤษฎีที่พิจารณาจากการกระทาเป็ นหลัก (Objective Theory)
ทฤษฎีเห็นว่า การจะลงโทษ นัน้ การกระทาของผูก้ ระทาได้ก่อให้เกิด ผลกระทบกับสังคมหรือไม่
2) ทฤษฎีที่พิจารณาจากตัวผูก้ ระทาเป็ นหลัก (Subjective Theory)
ทฤษฎีนี้ เห็นว่าแม้การกระทาไม่ก่อให้เกิดความสงบฯและไม่อาจสาเร็จลงได้
แสดงเจตนาที่จะกระทาการใดที่เป็ นอันตรายต่อสังคม
3) ทฤษฎีผสม(Mix Theory)
แบ่งแยกความไม่สามารถบรรลุผลได้อย่างแน่ แท้ออกเป็ น 2 ประเภท
3.1)ความไม่สามารถบรรลุผลได้โดยเด็ดขาด : วัตถุที่ม่งุ หมายกระทาต่อซึ่งเป็ น
องค์ประกอบความผิดไม่มีอยู่
3.2)ความไม่สามารถบรรลุผลได้โดยไม่เด็ดขาด:ไม่สามารถบรรลุผลได้
เนื่ องจากมีเหตุบงั เอิญ
9
2. ความเห็นที่สอง แบ่งแยกเป็ น 2 ทฤษฎี
1) ทฤษฎีที่ถือการกระทาเป็ นใหญ่ (Objective Theory)
- ทฤษฎีน้ถี อื การกระทาของผูก
้ ระทาเป็นสาคัญ การกระทาทีไ่ ม่สามารถบรรลุผลได้
โดยแน่แท้ จะถือว่าเป็ นการลงมือกระทาหรือพยายามก็ไม่ได้
- ทฤษฎีนี้ ไม่ลงโทษการกระทาที่ไม่อาจเป็ นความผิดสาเร็จได้เลย
2) ทฤษฎีที่ถือจิตใจเป็ นใหญ่ (Subjective Theory)
- ทฤษฎีน้ีถอื เจตนาของผูก
้ ระทาเป็นสาคัญ
- ผูก้ ระทามีเจตนาร้ายและมีสภาพเป็ นภัยต่อสังคม
- ทฤษฎีน้ี ลงโทษการกระทาทีไ่ ม่อาจเป็ นความผิดสาเร็จได้ทุกกรณี
10
3. ความเห็นที่สาม
1) ทฤษฎีการกระทาที่ไม่สามารถบรรลุผลโดยเด็ดขาดซึ่งไม่ต้องรับโทษ
การไม่สามารถบรรลุผล
- เพราะวัตถุที่ม่งุ หมายกระทาต่อนัน้ ไม่มีอยู่เลย
- เพราะปัจจัยที่ใช้ในการกระทาความผิดมีอยู่แต่ไม่อาจทาให้เกิดผลได้เลย
2) ทฤษฎีการกระทาที่ไม่สามารถบรรลุผลโดยบังเอิญซึ่งต้องรับโทษ
การไม่สามารถบรรลุผล
- เพราะวัตถุที่ม่งุ หมายกระทาต่อมีอยู่แต่ไม่อยู่ในที่ที่ผ้กู ระทาเข้าใจ
- เพราะปัจจัยที่ใช้ในการกระทาผิดอาจทาให้ผลสาเร็จได้ แต่ผก้ ู ระทาใช้ไม่
เป็ นหรือไม่ชานาญ
11
ความเห็นที่สี่
แนววินิจฉัยของศาลฝรังเศส
่
ยึดถือตามทฤษฎีอตั วิสยั (Subjective Theory)
-ต้องการลงโทษผูม้ ีเจตนาชัวร้
่ าย แม้เป็ นความผิด
ที่ไม่สามารถ บรรลุผลสาเร็จได้เลย
- คดีแปร์เดอร์โร ศาลฎีกาฝรังเศสลงโทษผู
่
ก้ ระทาที่มีเจตนาฆ่าคน
แต่ไปกระทาต่อศพโดยที่ตนไม่ร้วู ่าตายแล้ว
ในความผิดฐานพยายามฆ่า
(กรณี ยิงศพ จึงไม่ใช่การขาดองค์ประกอบความผิดของกฎหมายฝรังเศส)
่
- ศาลฐานพยายามทาแท้งหญิงที่เข้าใจผิดว่าตนตัง้ ครรภ์ หรือใช้
วัสดุที่ไม่สามารถทาแท้งได้อย่างแน่ แท้
12
ทฤษฎีความรับผิดทางอาญาที่นามาวินิจฉัยการพยายามกระทาความผิด
ในระบบจารีตประเพณี
ทฤษฎีที่นามาการวินิจฉัยการพยายามกระทาความผิด
“ทฤษฎีความใกล้ชิดต่อผลสาเร็จ” (The Proximity Rule)
1) Actus reus พิจารณาในส่วนภาวะวิสยั (Objective)
2) Mens rea พิจารณาในส่วนอัตวิสยั (Subjective)
- จะลงโทษบุคคลได้ตอ้ งปรากฏว่าต้องมีทงั ้ Actus reus และ Mens rea และจะต้อง
เกิดขึน้ ในเวลาเดียวกัน
- ข้อเท็จจริงไม่ครบโครงสร้างในส่วน “Actus reus” แม้จะมีการกระทา แต่การกระทานัน้ ไม่ผดิ
แล้วก็ไม่ตอ้ งพิจารณาในส่วน จิตใจ (Mens rea)
กรณี การกระทาที่ไม่อาจบรรลุผลได้โดยแน่ แท้ระบบกฎหมายจารีตประเพณี
ของประเทศอังกฤษถือว่า “ขาดองค์ประกอบของความผิด”
13
ทฤษฎีความรับผิดทางอาญาที่นามาวินิจฉัยการพยายามกระทาความผิด
การพยายามกระทาความผิด
“ทฤษฎีความใกล้ชิดต่อผลสาเร็จ” (The Proximity Rule)
การพยายามกระทาความผิดที่เป็ นไปไม่ได้โดยแน่ แท้ในประเทศไทย
ฝ่ ายแรก เป็นความเห็นของท่านอาจารย์ศ.ดร.หยุด แสงอุทยั และท่านศ.จิตติ ติงศภัทิย์
เห็นว่า องค์ประกอบภายนอกเป็ นเรือ่ งสาคัญ ถ้าการ
กระทานัน้ ไม่ครบองค์ประกอบภายนอกเสียแล้ว ผูก้ ระทาไม่
ต้องรับผิดฐานพยายามตามมาตรา 80 หรือ มาตรา 81 เลย
ฝ่ ายนี้ เห็นว่า เป็ นเรือ่ ง “ขาดองค์ประกอบความผิด”
เพราะศพไม่มสี ภาพบุคคล มนุษย์ผอู้ ่นื จึงไม่มี จึงไม่เป็ นการฆ่าผูอ้ ่นื
จึงลงโทษผูก้ ระทาไม่ได้ตามหลักของมาตรา 2
14
ฝ่ ายที่สอง เป็นความเห็นท่านของศ.เกียรติขจร วัจนะสวัสด์ ิ รศ.ดร.ทวีเกียรติ มีนะกนิษฐ์
เห็นว่า แม้ไม่ครบองค์ประกอบภายนอก แต่ผกู้ ระทามี
ความผิดตามมาตรา 81 ได้ หากผูก้ ระทาได้ “มุ่งต่อผลที่กฎหมาย
บัญญัติไว้เป็ นความผิด (เจตนามุง่ ให้เกิดผลร้าย) มาตรา 81
“ให้ถือว่าผูน้ ัน้ พยายาม” แสดงว่า ไม่ใช่พยายามกระทาความผิด
เช่นกรณี ตามมาตรา 80 แต่กฎหมายให้ถือว่า ผูน้ นั ้ กระทา
ความผิด
ศาลไทย ทางปฏิบตั คิ าพิพากษาฎีกาเรือ่ งนี้ มาตรา81 ยังไม่ม ี
โดยตรง
15
ศาลไทย ทางปฏิบตั คิ าพิพากษาฎีกา
ฎีกา127/2496 การใช้ปืนกาลังอ่อนยิงระยะไกล ศาลไม่ลงโทษฐาน
พยายามฆ่า(กฎหมายลักษณะอาญา รศ.127ขณะนัน้ ยังไม่มบี ทบัญญัตมิ าตรา 81)
ฎีกา1560/2529 อาวุธปืนอันเป็ นปจั จัยในการทีจ่ าเลยใช้ยงิ ไม่อาจทาให้ผู้
ถูกยิงตายได้ จึงไม่บรรลุผลอย่างแน่แท้ จาเลยมีความผิดตามมาตรา 288
ประกอบมาตรา81
ฎีกา980/2502 กระสุนนัดแรกด้านไม่ระเบิดออกเพราะกระสุนเสือ่ ม
คุณภาพ ต้องปรับด้วยกรณีมาตรา 80 มิใช่มาตรา 81
มิได้มกี ระสุนบรรจุแต่เข้าใจว่ามีกระสุนบรรจุพร้อม ต้องปรับด้วย
กรณีมาตรา 81
16
4. การขาดองค์ประกอบความผิด
มุง่ พิจารณาว่าองค์ประกอบภายนอกข้อหนึ่งข้อใดหายไป
โดยไม่พจิ ารณาว่า ผูก้ ระทามีเจตนาชัวร้
่ ายหรือไม่ และเห็นว่า
บทบัญญัติ
มาตรา 81 มิได้บญ
ั ญัตเิ พือ่ ปรับใช้กบั กรณีการ
กระทาทีข่ าดองค์ประกอบความผิด
แต่บญ
ั ญัตเิ พิม่ เติม
บทบัญญัตเิ ก่า ซึง่ การกระทาในขณะใช้ร.ศ.127 ไม่ได้มบี ญ
ั ญัติ
ไว้เช่นประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 81 ศาลฎีกาจึงไม่ลงโทษ
17
End of the presentation
“It is never too late to mend”
18