กรรณิการ์ job 1
Download
Report
Transcript กรรณิการ์ job 1
การจัดการความรูเ้ พื่อพัฒนางานด้านการ
สร้างแบบของพนักงานสร้างแบบ
(PATTERN) บริษท
ั จอร์จ้ ี แอนด์ ลู จากัด
Knowledge management on the pattern
Development of the pattern marker design in
Georgie & Lou Co.lt
นางสาว กรรณิการ์ ปั ญญาเมืองใจ
542132002
หลักการ ทฤษฎี เหตุผล และ/หรือสมมุตฐิ าน
ปัจจุบันเป็ นที่ทราบโดยทั่วกันว่าอุตสาหกรรมเสื้อผ้ าและ
เครื่องนุ่งห่มอยู่ในสภาวการณ์แข่งขันที่ค่อนข้ างสูง ซึ่งสิ่งสาคัญที่จะทา
ให้ อุตสาหกรรมสิ่งทอแข่งขันได้ น้ันคือ ต้ องมีการทาวิจัยพัฒนา
นวัตกรรมผลิตภัณฑ์ส่งิ ทออย่างจริงจัง โดยการพัฒนาความสามารถใน
การนางานวิจัยไปต่อยอด และพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ รวมทั้งการพัฒนา
บุคลากรให้ มีทกั ษะในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ และปรับเปลี่ยนกระบวน
การผลิตให้ เพิ่มผลิตภาพ (Productivity) เพื่อพัฒนา
อุตสาหกรรมสิ่งทอในการสร้ างมูลค่าเพิ่ม (Value Creation)
และพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันให้ ผ้ ูประกอบการ (นายวิ
รัตน์ ตันเดชานุรัตน์ 2555:ระบบออนไลน์)
ดังนั้นภายใต้กระแสของการพัฒนาที่ตอ้ งการความ
มันคงยั
่
งยื
่ น
- มุ่งสู่การเป็ นเศรษฐกิจสร้ างสรรค์และเศรษฐกิจที่เป็ นมิตรต่อ
สิ่งแวดล้ อม (Creative and Green Economy)
ต้ องสอดคล้ องกับความต้ องการของตลาดโลก
-พัฒนาผลิตภัณฑ์ให้ มีคุณภาพ ความแปลกใหม่ สร้ างความ
แตกต่าง
--สร้ างผลิตภัณฑ์ให้ มีความโดดเด่น แตกต่าง สอดคล้ องกับความ
ต้ องการของผู้บริโภค
(นายวิรัตน์ ตันเดชานุรัตน์ 2550:ระบบออนไลน์)
ดังนั้นแนวคิดที่อยู่บนพื้นที่ว่า การทางานในโลกปัจจุบันจะเต็มไป
ด้ วยการเรียนรู้มากขึ้น หากองค์กรใดสามารถพัฒนาศักยภาพ
บุคคลกรในองค์กรได้ อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด องค์กรก็จะ
สามารถเรียนรู้ได้ เร็วกว่าคู่แข่ง องค์กรก็จะได้ เปรียบในภาวะที่มีการ
แข่งขันสูง ดังที่ สมบัติ กุสุมาวลี (2540:79) กล่าวว่า องค์กรไทยใน
อนาคตควรหันมาให้ ความสัมพันธ์กบั พัฒนาทรัพกรมนุษย์อย่าง
จริงจัง โดยช้ กรอบแนวคิดและวิธกี ารพัฒนาตามแนวทางทฤษฏี
องค์กรแห่งการเรียนรู้โดยการสนับสนุนให้ ทุกฝ่ ายได้ เกิดการเรียนรู้
และปรับปรุงการทางานของพนักงานอย่างต่อเนื่องเพราะองค์กรใน
ทศวรรษหน้ า คือ องค์กรต้ งเผชิญกับกระแสความท้ าทายที่รุนแรง
และหลากหลาย
รวมทั้ง (Marquardt 1996 อ้างถึงใน : พันจ่าตรี วิรัตน์ ทวีทรัพย์สมบัติ )
กล่าวถึงองค์กรห่งการเรี ยนรู ้ คือที่ซ่ ึงมีบรรยากาศการเรี ยนรู ้รายบุคคล
และกลุ่ม มีการสอนคนสอนตนเองให้มีการคิดวิเคราะห์ เพื่อช่วยให้
เข้าใจในสรรพสิ่ งขณะเดียวกันทุกคนก็ช่วยให้องค์กรเรี ยนรู ้จากความ
ผิดพลาดและความสาเร็ จ ซึ่งผลคือให้ทุกคนตระหนักในการเปลี่ยนแปล
และปรับตัวอย่างมีประสิ ทธิภาพ
( พันจ่าตรี วิรัตน์ ทวีทรัพย์สมบัติ :2552)
ความจาเป็ นต้องมีการพัฒนาปรับปรุ งวัฒนธรรมองค์กรให้เป็ นองค์การเรี ยนรู ้
(Learning Organization) ตามแนวคิดของเซงเก้ (Peter Senge )(อ้างใน:พันจ่า
ตรี วิรัตน์ ทวีทรัพย์สมบัติ :2552) คือ การสร้างวินยั 5 ประการ “The FIFTH
Disciplines” ซึ่งเป็ นพื้นฐานในการเรี ยนรู ้ขององค์กร ซึ่งประกอบไปด้วย
การมีแบบแผนความคิด การสร้างวิสยั ทัศน์ การเรี ยนรู ้เป็ นทีม การคิดอย่าง
เป็ นระบบ และทฤษฎี เป็ นการเรี ยนรู ้ในลักษณะกลุ่มย่อยทีมีการนาปัญหาที่
กลุ่มสนใจและมีผลกระทบ ต่อทั้งกลุ่มและองค์กรมาเข้าสู่ กระบวนการ
แก้ปัญหาและการพัฒนาแนวทางแก้ปัญหา และนาไปลงมือปฏิบตั ิการแก้ไข
ปัญหาจริ ง เพื่อพัฒนางานของพนักงานแพทเทริ์ น ให้สามารถทางานได้อย่าง
มีประสิ ทธิภาพ มีการสื่ อสารติดต่อประสานงานกันอย่างต่อเนื่อง และค้นหา
แนวทางใหม่ ๆ ในการปฏิบตั ิงาน และทาให้งานมีการพัฒนาประสิ ทธิภาพ
อย่างต่อเนื่องรองรับสถานการณ์ที่มีการเปลี่ยนแปลง ทาให้องค์กรอยูร่ อดและ
เติบโตในอนาคต หากองค์กรไม่มีการพัฒนาการเรี ยนรู ้ของพนักงาน
( พันจ่าตรี วิรัตน์ ทวีทรัพย์สมบัติ :2552)
• บริษทั จอร์จี้ แอนด์ ลู จากัด
• เป็ นอุตสาหกรรมที่ผลิตเสื้อผ้ ายืดและไหมพรหมส่งออกต่างประเทศ ดังนั้นเพื่อให้ เกิดความได้ เปรียบในการ
แข่งขัน
วิสยั ทัศน์ท่วี ่า มุ่งสูผลิตภัณฑ์ท่ม
ี ีคุณภาพและความทันสมัย มีการส่งเสริมพัฒนากระบวนการ
ผลิตและคุณภาพ ด้ วยการวิจัยพัฒนาและเพิ่มมูลค่าด้ วยการเพิ่มคุณภาพและคุณ
บัติต่างๆให้ มีตรงตามที่ความต้ องการของตลาด ตลอดจนการพัฒนาการ
ออกแบบและรูปแบบผลิตภัณฑ์ให้ เหมาะสมและมีคุณภาพ ผลการวิจัยจะทาให้
เกิดการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ ที่มีคุณสมบัติใหม่ๆในการใช้ งาน ความสวยงาม
เหมาะสมกับความต้ องการของตลาด ได้ ผลิตภัณฑ์ท่มี ีคุณภาพ และมีคุณค่า เกิด
การขยายตัวของการผลิต สามารถขายแข่งขันในตลาดต่างประเทศได้ ปัจจุบัน
บริษัทจอร์จ้ ี แอนด์ ลู จากัด ได้ ขยายกิจการจากแต่เดิมบริษัทมีเพียงโรงงานเย็บ
แต่เพื่อตอบสนองความต้ องการของลูกค้ าอย่างมีประสิทธิภาพ บริษัทจึงพัฒนา
ระบบการผลิตที่ครบวงจร โดยมีการสร้ างฐานการผลิตเอง ไม่ว่าจะเป็ นโรงงานทอ
ผ้ า ,โรงงานย้ อมผ้ า , และโรงไฟฟ้ า ตลอดจนการพัฒนาด้ านการตลาด เริ่มมีการ
จัดระบบหรือกระบวนการภายในการนาเอาเทคโนโลยีใหม่ๆเข้ ามาใช้ ในองค์กร
แต่ในขณะเดียวกันสิ่งที่องค์ขาดคือการพัฒนาด้ านทรัพยกรบุคคล ไม่ว่าจะเป็ น
การฝึ กอบรม หรือการสร้ างและปรับเปลี่ยนองค์กรให้ เป็ นองค์กรแห่งความรู้
เพื่อให้ การดาเนินกิจกรรมต่างๆภายในบริษัทสามารถบรรลุถึง
จุดหมายที่กาหนดไว้ บริษัทฯได้ กาหนดนโยบายคุณภาพพัฒนา
ระบบบริหารคุณภาพ
พยายามสร้ างความไว้ วางใจให้ แก่ลูกค้ า ด้ วยการนาเสนอสินค้ าที่
สามารถตอบสนองความพึงพอใจของลูกค้ าในระดับสูงสุด ดังนั้น
การสร้ างผลิตภัณฑ์ให้ มีคุณภาพดีน้ันเป็ นเรื่องของพนักงานที่ต้องมี
ความพิถพี ิถนั เอาใจใส่ในทุกขั้นตอนการผลิต บุคลากรที่ทางานด้ าน
การสร้ างแบบ (Pattern) เสื้อผ้ า ที่มีความชานาญเฉพาะทาง
ถือเป็ นหน้ าที่สาคัญ เป็ นต้ นแบบของการผลิตซึ่งเป็ นตัวกาหนดงาน
ให้ กบั แผนกอื่น ๆ ที่นาไปสู่กระบวนการผลิตต่อ เช่น แผนกตัด
แผนกเย็บ และแผนกทั่วไป จนสาเร็จเป็ นผลิตภัณฑ์ท่มี ีคุณภาพ
พนักงานสร้างแบบต้องเป็ นผูม้ ีประสบการณ์และความรู ้ความเชี่ยวชาญการ
สร้างแบบ (Pattern) มีความรู ้เรื่ องผ้า เทคนิคการเย็บ รวมไปถึงวิธีการผลิตที่รวดเร็ ว
และมีคุณภาพ ซึ่ งจากการสัมภาษณ์หวั หน้าแผนก production บริ ษทั จอร์จ้ ี แอนด์ ลู
จากัด (นางสาวศิริญา บุญรอด:2554 )ปั ญหาใหญ่ที่ทาให้ผลิตภัณฑ์เย็บที่ผลิตออกมาที่
เกิดความผิดพลาด ไม่ผา่ นการตรวจของแผนก Q,C มากกว่า 50 % มีสาเหตุมาจาก
ความผิดพลาดขึ้นในการทางาน ที่มกั จะพบอยูเ่ สมอ คือเกิดจากความผิดพลาดของ
พนักงาน หรื อที่เรี ยกว่า Human error ซึ่ งจาการศึกษาจากผลการตรวจยอดงานการ
ผลิตในแผนก Q,C และการสัมภาษณ์ หัวหน้าแผนก production บริ ษทั จอร์จ้ ี แอนด์ ลู
จากัด (นางสาวศิริญา บุญรอด:2554 ) 80% มีสาเหตุมาจาก Human error ดังนี้
• พนักงานทีเ่ ข้ ามาทางานเป็ นพนักงานใหม่ ยงั ขาดประสบการณ์ และทักษะในการทางาน เพราะ
ไม่ ได้ รับการสอนงาน ส่ งผลให้ เกิดการทา pattern ผิดแบบ ทา pattern ไม่ ตรงตามสเปค ทีน่ ัก
ออกแบบได้ กาหนดไว้
• ความเร่ งรีบในการทางานส่ งผลให้ เกิดความยากลาบากในการปฏิบตั ิ โดยงานตัวของมันเองมี
ความยาก และมีความเสี่ ยงทีจ่ ะเกิดความผิดพลาดได้ ง่าย
• ปัญหาในการสื่ อสารและการให้ ข้อมูลทีไ่ ม่ ครบถ้ วนและชัดเจน ซึ่งเป็ นส่ วนงานสาคัญของ
พนักงาน Pattern ทีต่ ้ องถ่ ายทอดข้ อมูลให้ สาหรับคนเย็บเพือ่ ไปดาเนินงานต่ อได้ อย่ างถูกต้ อง
ตามแบบ ถ้ าการให้ ข้อมูลนั้นผิดพลาดและไม่ ครบถ้ วน ส่ งผลให้ งานทีอ่ อกมาผิดพลาดและ
เสี ยหายตามออร์ เดอร์ ในแต่ ละเดือนนั้น
• จากสภาพปัญหาดังกล่าวข้ างต้ นทางผู้วิจยั มีความสนใจที่จะทดลองนาทฤษฎีการจัดการความรู้มาพัฒนางาน
ด้ านการสร้ งแบบ (Pattern) โดยใช้ แนวคิดองค์การเรียนรู้ (Learning Organization) ทั้ง
5 ด้ านมาเป็ นแนวคิดในการพัฒนาการสร้ างวินัย 5 ประการ “The FIFTH Disciplines” มา
ประยุกต์ใช้ เป็ นพื้นฐานในการเรียนรู้ขององค์กร เพื่อแก้ ปัญที่เกิดจากความผิดพลาดของพนักงาน
• 1. Team Learn การเรียนรูร้ ่วมกันเป็ นทีม มุ่งเน้ นให้ ทุกคนในทีมมีสานึกร่วมกันว่า เรากาลังทา
อะไรและจะทาอะไรต่อไป ทาอย่างไร แก้ ปัญหาพนักงานใหม่ท่ไี ม่ได้ รับการสอนงาน และช่วยลดปัญหาในการ
สื่อสารและการให้ ข้อมูลที่ไม่ครบถ้ วนและชัดเจนเมื่อพนักงานรู้สกึ
• 2. System Thinking มีความคิดความเข้าใจเชิงระบบ ทุกคนควรมีความสามารถในการ
เข้ าใจถึงความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งต่าง ๆ ที่เป็ นองค์ประกอบสาคัญของระบบนอกจากมองภาพรวมแล้ ว ต้ อง
มองรายละเอียดของส่วนประกอบย่อยในภาพนั้นให้ ออกด้ วย วินัยข้ อนี้สามารถแก้ ไขปัญหาที่สลับซับซ้ อนต่าง
ๆ ได้ เป็ นอย่างดี สามารถทาให้ พนักงานคิดได้ อย่างมีแบบแผนและรอบคอบ สามารถแก้ ปัญหาเมื่อมี
ความเร่งรีบในการทางานที่ส่งผลให้ เกิดความยากลาบากในการปฏิบตั ิ
• 3. Personnal Mastery : มุ่งสู่ความเป็ นเลิศ และรอบรู ้ โดยมุ่งมั่นที่จะพัฒนาตนเองให้ ไปถึง
เป้ าหมายด้ วย การสร้ างวิสยั ทัศน์ส่วนตน (Personal Vission) เมื่อลงมือกรทาและต้ องมุ่งมั่น
สร้ างสรรจึงจาเป็ นต้ องมี แรงมุ่งมั่นใฝ่ ดี (Creative Tention) มีการใช้ ข้อมูลข้ อเท็จจริงเพื่อคิด
วิเคราะห์และตัดสินใจ (Commitment to the Truth) ที่ทาให้ มีระบบการคิดตัดสินใจที่ดี
รวมทั้งใช้ การฝึ กจิตใต้ สานึกในการทางาน (Using Subconciousness) ทางานด้ วยการดาเนิน
ไปอย่างอัตโนมัติ เป็ นแนวทางในการแก้ ปัญหาในการสื่อสารและการให้ ข้อมูลที่ครบถ้ วนและชัดเจน
เอกสารและงานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง
•แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการความรู ้
•แนวคิดเกี่ยวกับองค์กรแห่งการเรียนรู ้
งานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง
วัตถุประสงค์ของการศึกษา
1. เพื่อศึกษาสภาพปัญหาของงานด้ านการสร้ างแบบโดยนา
การจัดการความรู้มาเป็ นแนวทางในการแก้ ปัญหา
2. เพื่อสร้ างระบบการจัดการความรู้ของงานด้ านการสร้ าง
แบบ
3. เพื่อเป็ นการปรับปรุงเทคนิค กระบวนการโดยมี
จุดมุ่งหมายเพื่อพัฒนาองค์ความรู้และนาความรู้
นั้นไปใช้ ให้ เกิดประโยชน์
. ผลที่คาดว่าจะได้รบั
1. พนักงานเกิดการเรียนรู้และสามารถเรียนรู้ร่วมกัน เพื่อ
นามาประยุกต์ใช้ ในการปฏิบัติงานได้ อย่างมีประสิทธิภาพ
2. ทาให้ พนักงานสามารถแก้ ไขปัญหาและอุปสรรคและ
ปัจจัยที่มีผลต่อการทางานด้ านการสร้ างแบบแนวทางแก้ ไข
เพื่อนาไปสู่การผลิตที่มีคุณภาพและมาตรฐาน
วิธีการดาเนินการวิจยั
วิธีการนามาตรฐานISO 12207 มาประยุกต์ ใช้
แบ่งออกเป็ น 5 ขั้นตอนดังนี้
3.1 ศึกษาข้อมูลพื้นฐาน เก็บความต้องการของระบบ และศึกษาขั้นตอน
การทางานของหัวข้อความรู้
3.2 วิเคราะห์ตามมาตรฐาน ISO 122007 ที่จะนามาใช้
3.3 ศึกษาเครื่ องมือที่ใช้พฒั นาการจัดการความรู้
3.4 จัดทาเอกสารประกอบการใช้งานและพัฒนาการจัดการองค์ความรู้
3.5 ดาเนินการตามคุณภาพมาตรฐาน ISO 122007 จานวน 15 กิจกรรม
. ผลที่คาดว่าจะได้รบั
สถานที่ที่ใช้ในการดาเนินการวิจยั และรวบรวมข้อมูล
บริษทั จอร์จี้ แอนด์ ลู จากัด
ระยะเวลาในการดาเนินวิจยั
เดือนมีนาคม 2555 – มิถุนายน 2555