การดำเนินงานกับผู้ติดเชื้อ เอช ไอ วี และผู้ป่วยเอดส์ ศูนย์องค์รวมโรงพยาบาล

Download Report

Transcript การดำเนินงานกับผู้ติดเชื้อ เอช ไอ วี และผู้ป่วยเอดส์ ศูนย์องค์รวมโรงพยาบาล

การดาเนินงานกับผู้ติดเชือ
้ เอช ไอ วี และผู้ป่วยเอดส์
ศูนยองค
รวมโรงพยาบาลอิ
นทรบุ
์
์
์ รี
วิสัยทัศน์ : เป็ นโรงพยาบาลต้นแบบด้านสุ ขภาพ
พันธกิจ (Mission)
1.ให้ บริการป้ องกันโรค ส่ งเสริมสุ ขภาพ รักษาพยาบาล และฟื้ นฟูสภาพ
2.จัดให้ มสี ภาพแวดล้ อม และพฤติกรรมสุ ขภาพทีเ่ ป็ นแบบอย่ างทีด่ ี
3.เป็ นสถาบันฝึ กอบรมบุคคลากรวิชาชีพด้ านสาธารสุ ข
4.เป็ นสถาบันสุ ขภาพทีม่ งี านวิชาการ และงานวิจัยสุ ขภาพตามบริบทของ
พืน้ ทีอ่ ย่างต่ อเนื่อง
เข็มมุ่ง
1.สร้ างเสริมสุ ขภาพคุณภาพชีวิตในผู้ป่วย DM และ HT
2.เสริมสร้ างความผูกพันของบุคลากร (Staff engagement)
3.เน้ นการปลอดภัยในการรักษา ได้ แก่
3.1.การระบุตวั ผู้ป่วย (Patient ldentification)
3.2.ความคลาดเคลือ่ นทางยา กลุ่ม Hing slert drug
3.3.การเฝ้ าระวังการติดเชื้อในโรงพยาบาลเรื่อง VAP
ค่ านิยมในการทางาน :
A = Achieve คือ การบริ หารจัดการแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ (Result Based
Management)
C = Customer Focus คือ การบริ การที่เน้นผูป้ ่ วยเป็ นจุดศูนย์กลาง
T = Team work คือ การทางานเป็ นทีมแบบสหสาขาวิชาชีพ
Iv = Innovation & CQI คือ การใช้นวัตกรรมแบบปรับปรุ งพัฒนางาน
อย่างต่อเนื่อง
E = Expert คือ การพัฒนากระบวนการดูแลผูป้ ่ วยโดยใช้มาตรฐานวิชาชีพ
กากับดูแล (Professional Standard)
การดาเนินงานเกีย
่ วกับผู้ป่วยติดเชือ
้ เอช ไอ วี/ผู้ติดเชือ
้ เอดส์
ของศูนยองค
รวมโรงพยาบาลอิ
นทรบุ
์
์
์ รี
1. ผูส้ มัครใจตรวจเลือด = 200 ราย (ปี งบประมาณ 2553 - 2555)
2. จานวนผูต้ ิดเชื้อ เอชไอวี ทั้งหมด 1641ราย
3. จานวนผูต้ ิดเชื้อเอชไอวีท้ งั หมด ได้รับการตรวจ CD4 100%
4. จานวนผูป้ ่ วยที่ผล CD4 ต่ากว่า 350 และเข้าโครงการยาต้านไวรัสเอดส์ 158 ราย
5. จานวนผูป้ ่ วยที่เฝ้ าระวัง 3 ราย ติดตามเจาะ CD4 ทุก 6 เดือน / AFB 3 วัน
กิจกรรมในการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ตดิ เชื้อ เอชไอวี
และผู้ป่วยเอดส์ ทั้งของหน่ วยบริการและศูนย์ องค์ รวม
1. การให้คาปรึ กษาและตรวจหาเชื้อ เอช ไอ วี ในกลุ่มเสี่ ยง
2. แจกถุงยางอนามัย 100 %
3. ตรวจ CD4 ผูป้ ่ วยติดเชื้อ และผูป้ ่ วยเอดส์ ทุก 6 เดือน 100 %
4. ตรวจหาเชื้อวัณโรคในผูป้ ่ วยติดเชื้อ เอช ไอ วี และผูป้ ่ วยเอดส์ ทุก 6 เดือน 100%
5. ตรวจ Viral Load ผูท้ ี่รับยาต้านไวรัสแล้ว ปี ละ 1 ครั้ง 100%
6. ตรวจมะเร็ งปากมดลูกในหญิงติดเชื้อปี ละ 1 ครั้ง 75%
7. ให้คาปรึ กษาเรื่ องการให้ยาต้านไวรัสเอดส์ 100%
8. การดูแลทางสังคมจิตใจ มีการประเมินทางสังคมจิตใจและความเครี ยด 100%
9. การเยีย่ มบ้าน 100% โดยทีมแกนนาและพี่เลี้ยง
10. ตรวจทางห้องปฏิบตั ิการก่อนและหลังรับยาต้านไวรัส 100%
11. การประเมินความพึงพอใจผูร้ ับบริ การ ร้อยละ 90
12. กิจกรรมกลุ่ม กลุ่มย่อย ชมรมผูต้ ิดเชื้อ 100% ในวันที่มีคลินิกยาต้าน
ทุกวันศุกร์ และประชุมกลุ่มใหญ่เดือนละ 1 ครั้ง
13. แจกนมผงทารกและเด็กที่เกิดจากแม่ติดเชื้อ เอช ไอ วี 100%
โครงการทีไ่ ดด
้ าเนินการ
1. โครงการส่ งเสริ มการเข้าถึงบริ การปรึ กษาและตรวจเลือดหาการติดเชื้อ
เอช ไอ วี และติดตามการกินยาต้านไวรัสเอดส์อย่างต่อเนื่องและสม่าเสมอ
ในปี งบประมาณ 2553
2. โครงการเสริ มสร้างอาชีพหลักสู ตรนวดไทย 150 ชัว่ โมง
จากผลการประเมินทางสั งคมจิตใจและความเครียด
ของกลุมผู
รวมโรงพยาบาลอิ
นทรบุ
่ ้ป่วยเอดส์ ศูนยองค
์
์
์ รี
1. มีผลกระทบต่อการดาเนินชีวิต แต่สามารถแก้ปัญหาเองได้ 39.02%
2. มีผลกระทบต่อการดาเนินชีวิตมาก และต้องการความช่วยเหลือ 56.48%
3. มีผลกระทบรุ นแรงไม่สามารถทนต่อไปได้ 4.50%
ปญหาทีม
่ ผ
ี ลกระทบตอตั
่ วผู้ป่วยเอง
1. ปัญหาในการทางาน
1.1 ถูกพักงานขณะป่ วยและมีโรคฉวยโอกาส
ผลกระทบที่ตามมาคือ โดนออกจากงาน
และนายจ้างเลิกจ้าง
1.2 ขาดความมัน่ ใจตัวเอง กลัวคนรู ้วา่ ติดเชื้อ
กลัวความลับถูกเปิ ดเผยในสังคม
2. ปั ญหาเกี่ยวกับการเล่าเรี ยน
2.1 ปั ญหามีผลกระทบต่อครอบครัว
ทาให้ลกู ๆ ของผูป้ ่ วยเรี ยนหนังสื อ
ไม่จบ เนื่องจากผูป้ ่ วยเป็ น
เสาหลักของครอบครัว
3. ปั ญหาเกี่ยวกับสิ่ งแวดล้อม / ที่อยูอ่ าศัย
3.1 การไม่ยอมรับในสังคม ทาให้เสี ยภาพลักษณ์ ทาให้เป็ นตราบาปและเป็ น
แผลทางใจ และคิดฆ่าตัวตาย
3.2 บางคนในครอบครัวของผูต้ ิดเชื้อ ติดเงื่อนไข รู ้ไม่จริ ง รังเกียจ ในชุมชน
มองผูป้ ่ วยในแง่ลบ เมื่อไรที่ทาลายกาแพงของชุมชนได้ให้คิดในแง่บวก
กับผูต้ ิดเชื้อ ก็จะไม่มีการแพร่ เชื้อ
4. ปั ญหาเกี่ยวกับเศรษฐกิจและฐานะ
4.1 ขาดรายได้ ไม่มีอาชีพเนื่องจากการติดเชื้อ เอช ไอ วี
4.2 กลุ่มอาชีพรับจ้างทั้งหลาย เช่น ขายอาหาร ช่างเสริ มสวย ช่างแต่งหน้า
ทาผม ทาเล็บ ไม่มีคนมาใช้บริ การ
5. ปัญหาสัมพันธภาพทางครอบครัว
5.1 คนในครอบครัวรังเกียจ
5.2 ไม่มีอาชีพที่มนั่ คงเพื่อเป็ นสวัสดิการของตัวเอง
ผลจากการประเมินความเครียด
ในกลุมผู
้ เอช ไอ วี และผู้ป่วยเอดส์
่ ้ป่วยติดเชือ
1. นอนไม่หลับ เพราะคิดมากังวลใจ
2. ทาอะไรไม่ได้เลย ประสาทตรึ งเครี ยด
3. ไม่อยากพบปะผูค้ น
4. รู ้สึกว่าตนเองไม่มีสมาธิ
5. รู ้สึกเพลียจนไม่มีแรงทาอะไร
6. ปวดเกร็ งกล้ามเนื้อที่บริ เวณท้ายทอย
7. ความสุ ขทางเพศลดลง
จากสภาพปัญหาที่พบจากการประเมิน ด้านสังคมจิตใจและความเครี ยด
ของผูต้ ิดเชื้อและผูป้ ่ วยเอดส์ พบว่าเป็ นปั ญหาความเครี ยดที่พบและรุ นแรง
แนวทางการช่วยเหลือเพือ
่ แกปั
้ ญหา
เนื่องจากโรงพยาบาลอินทร์ บุรีมีค่านิยมในการทางาน การบริ การที่เน้น
ผูป้ ่ วย เป็ นจุดศูนย์กลาง พร้อมการทางานเป็ นทีม แบบสหสาขาวิชาชีพ
ดังนั้น ทีมพี่เลี้ยงจึงจัดโครงการ สร้างเสริ มอาชีพหลักสู ตรนวดไทย 150 ชัว่ โมง
กับผูป้ ่ วยเอดส์ และผูต้ ิดเชื้อ เอช ไอ วี เป็ นการใช้นวัตกรรมและปรับปรุ งพัฒนา
ช่วยเหลือกลุ่มผูป้ ่ วยอย่างต่อเนื่อง
ตัวชีว้ ด
ั ของโครงการ
1. ผูต้ ิดเชื้อ และผูป้ ่ วยเอดส์ สามารถนวดได้ตามหลักสู ตรนวดไทย
2. ผูเ้ ข้าอบรมสามารถใช้การนวดไทยประกอบอาชีพได้ และอยูใ่ นสังคม
อย่างมีศกั ดิ์ศรี และมีคุณภาพชีวติ ที่ดี
3. เป็ นที่ยอมรับของสังคมในการประกอบอาชีพ อย่างมีความสุ ข
ประเมินผลหลังการอบรม
1. ผูเ้ ข้าอบรมนวดไทยสามารถนาความรู้ความสามารถมาประกอบอาชีพ
และมีรายได้เข้ามาในครอบครัว ทาให้ลดปัญหาเรื่ องการประกอบอาชีพ
2. จากปั ญหาสิ่ งแวดล้อมและถูกรังเกียจในสังคม เมื่อประกอบอาชีพ
โดยการนวดอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ ทาให้คนรอบข้างที่เคยใช้สรรพนาม
เรี ยกชื่อเฉยๆ และสายตาที่มองอย่างเหยียดหยามก็เปลี่ยนไป จนปั จจุบนั
จะเรี ยกว่าคุณหมอ เป็ นคานาหน้าชื่อเสมอ
3. จากการติดตามประเมินความรู้สึกและความพึงพอใจหลังการเรี ยน
มีขอ้ เสนอแนะว่า
3.1 อยากให้จดั หลักสู ตรนี้อีก
3.2 เขาสามารถประเมินตัวเองได้วา่ ศักดิ์ศรี และความสุ ข เขาสามารถ
กลับคืนมาสู่ ตวั เขาได้จากการเรี ยนนวดหลักสู ตร 150 ชัว่ โมง
การพลิกบทบาทของผูติ
้
้ ดเชือ
จากผู้รับบริการมาเป็ นผูร
้ วมให
่
้บริการ
เนื่องจากโรงพยาบาลอินทร์บุรีมีปัญหาความไม่พึงพอใจในการรอ
คอยการให้บริ การด่านหน้าของโรงพยาบาลอินทร์บุรี เกิดข้อร้องเรี ยน
จากผูม้ าใช้บริ การ ทางกลุ่มสหสาขาวิชาชีพของโรงพยาบาลอินทร์บุรี จึง
จัดทาโครงการนวดไทยคลายเครี ยดเพื่อลดปัญหาดังกล่าว
กิจกรรมโครงการ
1. ให้ผตู ้ ิดเชื้อและผูป้ ่ วยเอดส์ที่ผา่ นการอบรมนวดไทย มาบริ การนวดคลาย
เครี ยด ให้กลุ่มผูป้ ่ วยที่มีความเครี ยดสู งที่มารักษาในโรงพยาบาล
2. ผูต้ ิดเชื้อและผูป้ ่ วยเอดส์ที่ผา่ นการอบรมนวดไทย ได้รับการสมัครเข้าเป็ น
จิตอาสาของโรงพยาบาลอินทร์ บุรี
3. จิตอาสาสามารถประเมินความเครี ยดและความพึงพอใจของผูม้ าใช้บริ การได้
ตัวชีว้ ด
ั
1. ความเครี ยดต้องลดลงหลังการนวด ร้อยละ 90
2. คะแนนความพึงพอใจ ร้อยละ 80
จากการประเมินผลการนวดคลายเครียดของจิตอาสา
1. หลังการนวดความเครี ยดลดลง ร้อยละ 100
2. คะแนนความพึงพอใจร้อยละ 100
ข้อเสนอแนะของผู้ทีม
่ ารับบริการหลงการนวด
้
1. สัมพันธภาพของหมอนวดดีมาก
2. หมอนวดทุกคนมีจรรยาบรรณ
3. จะกลับมาใช้บริ การอีก
4. มีความสุ ขมากๆ หลังการนวด
5. โครงการนี้ดีมาก ขอให้ทาตลอดไป
จากการประเมินความรูสึ้ กของจิตอาสา
ทีใ่ ห้บริการนวดคลายเครียด
1. มีความสุ ข สนุก และได้มีส่วนร่ วมในการช่วยเหลืองานบริ การ
ของโรงพยาบาล อินทร์บุรี
2. ดีใจที่ได้มีส่วนร่ วมการทางาน และเป็ นจิตอาสา โรงพยาบาลอินทร์ บุรี
3. รู ้สึกว่าตนเองมีคุณค่าในสังคมและมีศกั ดิ์ศรี
4. ตัวผูป้ ่ วยที่เป็ นจิตอาสาเองก็ได้ลดความเครี ยดไปด้วย ดีกว่าอยูบ่ า้ นเฉยๆ
5. เป็ นที่ยอมรับของแพทย์และเจ้าหน้าที่ในโรงพยาบาล จากการที่ได้รับความ
ใว้วางใจในการส่ งผูป้ ่ วยมารับบริ การนวดคลายเครี ยด ตลอดจนทั้งแพทย์
และเจ้าหน้าที่เองก็มารับบริ การนวดคลายเครี ยดเองด้วย
6. ต้องการให้กลุ่มผูต้ ิดเชื้อและผูป้ ่ วยโรคเอดส์ มาเปลี่ยนบทบาทของตัวเอง
มาเป็ นผูร้ ่ วมให้บริ การกันบ้าง เป็ นความภาคภูมิใจที่ได้เดินเคียงคู่กบั พี่เลี้ยง
ของเราอย่างมีศกั ยภาพในที่สุด
 วิภาดา เย็นจิตต์
 พยาบาลวิชาชีพ ชานาญการ
 ภาวสุ ทธิ์ เผึอกกัน
 นักสังคมสงเคราะห์ ชานาญการ
 ศูนย์องค์รวม โรงพยาบาลอินทร์บุรี
 โทร. 03-6581-993-7 ต่อ 213