ไฟล์เอกสารแนบ

Download Report

Transcript ไฟล์เอกสารแนบ

การคัดกรองมะเร็งปากมดลู ก
ในผู ห
้ ญิงอายุ 35-60 ปี
NUR-301
กลุ่มที่ 5
ความเป็ นมาและ
ความสาคัญ
่
่ ดในเพศ
มะเร็งปากมดลูกเป็ นมะเร็งทีพบมากที
สุ
้ั วยั สาวจนถึงวัยชรา พบมาก
หญิง พบได ้ในสตรีตงแต่
่
ในช่วงอายุ 30-50 ปี ในแต่ละปี ผูห้ ญิงทัวโลกป่
วย
่ นปี
้ ละ 500,000 คน
ด ้วยโรคมะเร็งปากมดลูกเพิมขึ
่
เสียชีวต
ิ ปี ละ 200,000 คน ซึงประมาณร
้อยละ 80
ของผูป้ ่ วยมะเร็งปากมดลูกอยู่ในประเทศกาลังพัฒนา
ความเป็ นมาและ
ความสาคัญ(ต่อ)
ี ชวี ต
มะเร็งทีเ่ ป็ นสาเหตุของการเสย
ิ มาก
ทีส
่ ด
ุ คือมะเร็งปากมดลูกจากรายงาน
ี ชวี ต
สถานการณ์การเสย
ิ จากมะเร็งปากมดลูกใน
ประเทศไทย ตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2541 ถึง พ.ศ.
ี ชวี ต
2553 พบผู ้เสย
ิ มากทีส
่ ด
ุ ในพืน
้ ทีภ
่ าคกลาง
รองลงมาคือ ภาคเหนือ ภาคอีสาน ภาคใต ้ ซงึ่
ี ชวี ต
จะเห็นได ้ว่าหญิงไทยมีแนวโน ้มการเสย
ิ จาก
โรคมะเร็งปากมดลูกสูงขึน
้ ทุกปี
เฉลีย
่ ปี ละ
ี ชวี ต
ประมาณ 5,000 คน หรือคิดเป็ นผู ้เสย
ิ วันละ
14 คนแหล่งทีม
่ า
วัตถุประสงค ์
วัตถุประสงค ์
ึ ษาสถานการณ์มะเร็งปากมดลูกในประเทศ
1.เพือ
่ ศก
ไทย
ึ ษาธรรมชาติและปั จจัยทีเ่ กีย
2.เพือ
่ ศก
่ วข ้องของการ
เกิดโรคมะเร็งปากมดลูก
ึ ษาการป้ องกันและควบคุมการเกิดโรคมะเร็ง
3.เพือ
่ ศก
ปากมดลูก
ึ ษาถึงแนวทางการจัดการความไม่สมดุลทาง
4.เพือ
่ ศก
สุขภาพ (การเฝ้ าระวัง การคัดกรอง การสอบสวน
การป้ องกันโรคในระดับ Primary prevention,
Secondary prevention, Tertiary prevention)
่ อให้เกิดโรค
ปั จจ ัยทีก่
1.ปั จจัยก่อโรค (Agent) (วสันต ์ ลีนะสมิต, 2542)
- Human papillomavirus (HPV) น่ าจะเป็ นสาเหตุหนึ่ ง
ของการเกิดมะเร็งปากมดลูกรวมถึง CIN โดยเฉพาะ Types 16,
่ หรือชันผิ
้ ว และ
18,31 และ 33 โดยไวร ัสจะอยู่บริเวณเยือบุ
ก่อให ้เกิด hyperproliferation ของเซลล ์
้
- Herpes simplex virus (HSV) ไวรัสชนิ ดนี สามารถท
า
่
ให ้เซลล ์เปลียนแปลงได
้ และอาจพบโปรตีนของ HSV ในมะเร็ง
้ บ
ปากมดลูก ในปัจจุบน
ั ผลการศึกษาความสัมพันธ ์ของไวร ัสนี กั
มะเร็งปากมดลูกยังไม่มข
ี ้อสรุปแน่ นอน มีบางรายงานเสนอว่า
ไวรัสนี น่้ าจะเป็ นสาเหตุของมะเร็งปากมดลูกได ้คล ้ายกับ HPV
่ อให้เกิดโรค (ต่อ)
ปั จจัยทีก่
2.ปั จจัยด้าน Host (วสันต ์ ลีนะสมิต, 2542)
-ระบบภูมต
ิ ้านทาน (immune response) ในผูป้ ่ วย
มะเร็งปากมดลูกทุกรายตรวจพบว่าจานวนของ T cell จะ
่
ลดลง ซึงโยงไปถึ
งแนวคิดทีว่่ าระบบภูมต
ิ ้านทานประเภท cell
mediated immunity เป็ นปัจจัยหนึ่ งในการเกิดมะเร็งปาก
มดลูก
-ความผิดปกติทางพันธุกรรม พบความผิดปกติของ
karyotype ทีจ่ าเพาะในผูป้ ่ วยมะเร็งปากมดลูก
-พฤติกรรมทางเพศ พบความสัมพันธ ์ระหว่างจานวนคู่
ร่วมเพศมีความสัมพันธ ์กับการเกิดมะเร็งปากมดลูก
่
-ปัจจัยเกียวกั
บการเจริญพันธุ ์ พบว่าเป็ นปัจจัยอ ้อมโดย
่
่ เช่น อายุเมือเริ
่ มมี
่ เพศสัมพันธ ์
มีความเกียวข
้องกับปัจจัยอืน
้
่ อให้เกิดโรค (ต่อ)
ปั จจัยทีก่
่
3. ปั จจัยด้านสิงแวดล้
อม (Environment) (วสันต ์ ลี
นะสมิต, 2542)
-ปัจจัยทางฝ่ ายชาย (male factor) พบว่ามะเร็งปาก
้ บหญิงทีมี
่ สามีเป็ นมะเร็งขององคชาติได ้บ่อย
มดลูกเกิดขึนกั
่ บบุหรี่ และปริมาณบุหรีที
่ สู
่ บ
-การสูบบุหรี่ ระยะเวลาทีสู
่
่ อการเกิดมะเร็งปากมดลูก โอกาส
พบว่ามีเพิมเกณฑ
์เสียงต่
่ บบุหรีพบสู
่
เกิดมะเร็งปากมดลูกในหญิงทีสู
งขึน้ 2 เท่า และ
่ งสูบบุหรีอยู
่ ่
พบมากในหญิงทียั
Web of causation
มีการสาส่อนทาง
เพศ(การมี
เพศสัมพันธ ์กับผู ท
้ ี่
้
มีเชือ)
HPV
Infection
Dexamethasone
(analog ของ
glucocorticoid
Hormo
ne
มีเพศสัมพันธ ์
อายุน้อย
่
เกิดการกระตุน
้ และเพิม
จานวนของ
Chemical To
Bacco
(ยาคุมกาเนิ ด ,
บุหรี)่
้
DNA ของเชือไวร
ัส
HPV
มีการ
่
เปลียนแปลง
ของโครโมโซม
่ ดปกติไป
ทีผิ
เกิดการกระตุน
้
่
และเพิม
จานวนเซลล ์ที่
ผิดปกติ
DNA ของไวร ัส HPV
่
เกิดการเปลียนแปลง
หรือพัฒนากรไป
ไวร ัสจะสร ้างโปรตีน
่ น
E6, E7 ซึงเป็
Oncogenic Protein
้ งการทางาน
มายังยั
้
ยับยังการท
างานชอง
เซลล ์ปกติ
มะเร็งปาก
มดลู ก
ความ
ผิดปกติทาง
พันธุกรรม
การเฝ้าระวังมะเร็ง
ปากมดลู ก
1.Clinical Criteria
Patient Inclusion Criteria:
-อายุ 35-60 ปี
-ผูท้ มี
ี่ ระบบภูมต
ิ ้านทานต่า
-ผูท้ มี
ี่ ความผิดปกติทางพันธุกรรม
การเฝ้าระวัง
มะเร็งปากมดลู ก
(ต่อ)
Patient Exclusion Criteria:
-ผู ้ทีม
่ ป
ี ระวัตม
ิ ค
ี ห
ู่ ลับนอนหลายคน
-ผู ้ทีค
่ ลอดบุตรจานวนหลายคน
-การสูบบุหรี่ ระยะเวลาทีส
่ บ
ู บุหรี่ และปริมาณบุหรีท
่ ี่
ี่ งต่อการเกิดมะเร็งปาก
สูบพบว่ามีเพิม
่ เกณฑ์
เสย
มดลูก โอกาสเกิดมะเร็งปากมดลูกในหญิงทีส
่ บ
ู
บุหรี่
พบสูงขึน
้ 2 เท่า และพบมากในหญิงทีย
่ ังสูบบุหรีอ
่ ยูเ่ สมอ
การเฝ้าระวังมะเร็งปาก
มดลู ก(ต่อ)
Laboratory Criteria
ื้ high-risk หรือ oncogenic HPV
การตรวจหาเชอ
ื้ เอช
ทีป
่ ากมดลูก เรียกว่า “HPV DNA test” การติดเชอ
พีวแ
ี บบเนิน
่ นาน (persistent) เป็ นขัน
้ ตอนสาคัญของ
กระบวนการเกิดมะเร็งปากมดลูก ก่อนทีจ
่ ะคืบหน ้ารุนแรง
เป็ น LSIL , HSIL และมะเร็งปากมดลูก
การตรวจเซลล์วท
ิ ยาของปากมดลูก (cervical
cytology หรือ Pap smear) เป็ นการตรวจหาผลของการ
ื้ เอชพีวต
ติดเชอ
ี อ
่ เซลล์เยือ
่ บุปากมดลูก
่ การตรวจการเปลีย
การตรวจอืน
่ ๆ เชน
่ นแปลงของ
้
เยือ
่ บุผวิ ปากมดลูกด ้วยน้ าสมสายชู
เรียกว่า visual
การเฝ้าระวังมะเร็งปากมดลู ก(ต่อ)
2. ประเภทผู ป
้ ่ วย (Case Classification) (จรวย สุวรรณ
บารุง, 2554)
่
ผู ป
้ ่ วยทีสงสั
ย (Suspected case) หมายถึง ผู ้ทีม
่ ี
ประวัตม
ิ ค
ี น
ู่ อนหลายคน ผู ้ทีม
่ รี ะบบภูมต
ิ ้านทานตา่
่ าข่าย (Probable case) หมายถึง ผู ้ทีม
ผู ป
้ ่ วยทีเข้
่ ี
อาการตามเกณฑ์ทางคลินก
ิ ได ้แก่ อาการตกเลือดทาง
่ งคลอด ลักษณะ เลือดทีอ
ชอ
่ อกอาจจะเป็ นเลือดออก
กะปริบกะปรอยระหว่างรอบเดือน มีตกขาวผิดปกติ กลิน
่
ั พันธ์ ถ ้า
เหม็น มีเลือดปน หรือมีเลือดออกเวลามีเพศสม
เป็ นมากและมะเร็งลุกลามออกไปด ้านข ้าง หรือลุกลามไป
ทีอ
่ ุ ้งเชงิ กรานก็จะมีอาการปวดหลังได ้ เพราะไปกดทับ
้
เสนประสาท
การเฝ้าระวังมะเร็งปากมดลู ก(ต่อ)
่ นยันผล (Confirmed case) หมายถึง ผู ้ที่
ผู ป
้ ่ วยทียื
มีอาการตามเกณฑ์ทางคลินก
ิ และได ้รับการตรวจวินจ
ิ ฉั ย
ื้ HPV หรือการใชเทคนิ
้
โดยการทา Pap smear แล ้วมีเชอ
ค
ื้ เอชพีว ี
ตรวจสอบแบบใหม่ คือ การตรวจหาตัวเชอ
โดยตรง หรือทีเ่ รียกว่า HPV DNA โดยวิธ ี PCR หรือ
Polymerase Chain Reaction เป็ นเทคนิคการตรวจ
ทางด ้านชวี โมเลกุล
การสอบสวนโรค
สอบสวนเฉพาะราย (Individual Case
Investigation) เมือ
่ มีรายงานผู ้ป่ วยทีม
่ อ
ี าการเข ้าได ้
กับนิยามโรคมะเร็งปากมดลูก ให ้สอบสวนโรค
ยืนยันการวินจ
ิ ฉั ย และการควบคุมโรค
สอบสวนการระบาด (Outbreak
Investigation) เมือ
่ มีรายงานผู ้ป่ วยทีม
่ อ
ี าการเข ้าได ้
กับนิยามโรคมะเร็งปากมดลูก ให ้สอบสวนโรค
ยืนยันการวินจ
ิ ฉั ย/การระบาด หาสาเหตุและระบาด
วิทยาของการระบาด และควบคุมโรค
การสอบสวนโรค(ต่อ)
1.การตัง้ วัตถุประสงค์ในการสอบสวนโรค
2.การยืนยันการวินจ
ิ ฉั ยและยืนยันการระบาด
3. การค ้นหาผู ้ป่ วยเพิม
่ เติมในชุมชน
ึ ษาระบาดวิทยาเชงิ พรรณนา
4. การศก
(Descriptive study)
ึ ษาระบาดวิทยาเชงิ วิเคราะห์ (Analytic
5. การศก
study)
ึ ษาทางด ้านการระบาดของโรค
6. การศก
7. สรุปผลและนาเสนอผลการสอบสวนโรคให ้
ผู ้เกีย
่ วข ้องทราบ
การคัดกรอง
มะเร็งปากมดลูกระยะแรกๆนัน
้ จะไม่สามารถ
็
สงั เกตเห็นได ้แต่ตรวจพบได ้โดยการตรวจเชค
มะเร็งปากมดลูกทุกปี ถ ้าตรวจพบมะเร็งปากมดลูก
ตัง้ แต่ระยะแรกๆจะมีโอกาสในการหายจาก
โรคมะเร็งปากมดลูกได ้มากกว่า
อาการทีอ
่ าจจะพบในผู ้ป่ วยทีเ่ ป็ นมะเร็ง
่ งคลอด
ปากมดลูก คือ การมีเลือดออกทางชอ
และอาการปวดท ้องน ้อย อาการเหล่านีอ
้ าจจะพบ
่ กัน ผู ้ป่ วยทีม
ในผู ้ป่ วยโรคอืน
่ ได ้เชน
่ อ
ี าการเหล่านี้
จึงควรทีจ
่ ะไปปรึกษาแพทย์เพือ
่ การวินจ
ิ ฉั ยทีแ
่ น่
การคัดกรอง(ต่อ)
่ ปัจจัยเสียงต่
่
กลุ่มคนทีมี
อการเป็ นมะเร็งปาก
มดลู ก
ั พันธ์ตงั ้ แต่อายุน ้อย(น ้อยกว่า 20 ปี )
-มีเพศสม
-มีคน
ู่ อนหลายคน
ั พันธ์
-มีประวัตก
ิ ารเป็ นโรคติดต่อทางเพศสม
-การสูบบุหรี่
่ โรคเอดส ์ หรือ
-โรคภูมค
ิ ุ ้มกันบกพร่อง เชน
รับประทานยากดภูม ิ ต ้านทาน
ื้ ไวรัส Human papilloma virus-การติดเชอ
HPV
การป้ องกันโรค
การป้ องกันมะเร็งปากมดลูกตามการแบ่งของ
องค์กรอนามัยโลก แบ่งออกเป็ น 3 ระดับ คือ
้
1.การป้ องกันขันปฐมภู
ม ิ (primary
prevention) คือการหลีกเลีย
่ งสาเหตุหรือลด
ี่ งของการติดเชอ
ื้ เอชพีวท
ปั จจัยเสย
ี เี่ ป็ นสาเหตุของ
่ หารหลีกเลีย
มะเร็งปากมดลูก เชน
่ งการมีคน
ู่ อน
ั พันธ์แบบไม่รว่ มเพศ (safe
หลายคน การมีเพศสม
sex)และการสร ้างเสริมภูมค
ิ ุ ้มกันของร่างกายต่อ
ื้ HPV ได ้แก่ การฉีดวัคซน
ี HPV
การติดเชอ
กระตุ ้นให ้ร่างกายสร ้างภูมค
ิ ุ ้มกันเพือ
่ ป้ องกันไม่ให ้
การป้ องกันโรค(ต่อ)
2.การป้ องกันทุตย
ิ ภูม ิ (secondary prevention) คือ
การตรวจหา ความผิดปกติในระยะเริม
่ แรกของ
กระบวนการเกิดมะเร็งปากมดลูก (early detection)
ึ ษาก่อนทีจ
่
เพือ
่ ให ้การศก
่ ะคืบหน ้าเป็ นมะเร็ง เชน
ื้ high-risk หรือ oncogenic
การตรวจหาเชอ
HPV ทีป
่ ากมดลูก
การตรวจเซลล์วท
ิ ยาของปากมดลูก (cervical
cytology หรือ Pap smear) เป็ นการตรวจหาผลของ
ื้ HPVต่อเซลล์เยือ
การติดเชอ
่ บุปากมดลูก
่ การตรวจการเปลีย
การตรวจอืน
่ ๆ เชน
่ นแปลง
้
ของเยือ
่ บุผวิ ปากมดลูกด ้วยน้ าสมสายชู
เรียกว่า
visual inspection after acetic acid หรือ VIA
การป้ องกันโรค(ต่อ)
3.การป้ องกันตติยภูม ิ (tertiary prevention) คือ
การรักษามะเร็งปากมดลูกและการรักษา
ประคับประคองเพือ
่ ให ้หายจากโรคและมีคณ
ุ ภาพ
ชวี ต
ิ ทีด
่ ี การป้ องกันในระดับนีเ้ ป็ นการป้ องกันเมือ
่
เป็ นมะเร็งปากมดลูกแล ้ว
สรุปผล
การศึกษา
มะเร็งปากมดลูกเป็ นมะเร็งทีพ
่ บมากทีส
่ ด
ุ ในเพศ
หญิงพบได ้ในสตรีตงั ้ แต่วัยสาวจนถึงวัยชราพบมาก
ื้ ไวรัสที่ HPV หรือ
ในชว่ งอายุ 30-50 ปี ซงึ่ เกิดจากเชอ
ทีเ่ รียกกันว่า “ไวรัสหูด” ไวรัสชนิดนีเ้ ป็ นการติดต่อทาง
ั พันธ์จากการรับเชอ
ื้ เข ้ามาแล ้วสง่ ผลให ้เกิด
เพศสม
การเปลีย
่ นแปลงเนือ
้ เยือ
่ หรือเซลล์เกิดเป็ นหูดหงอน
ี ง หรือร ้ายแรง
ไก่ทอ
ี่ วัยวะเพศ หรือหูดทีก
่ ล่องเสย
่ ง
ทีส
่ ด
ุ ก็เกิดมะเร็ง ได ้แก่ มะเร็งปากมดลูก มะเร็งชอ
่ งคลอด ซงึ่ มีปัจจัยที่
คลอด และมะเร็งปากชอ
เกีย
่ วข ้องกับการเกิดมะเร็งปากมดลูก นับตัง้ แต่การมี
ั พันธ์ตงั ้ แต่อายุยงั น ้อย การสาสอ
่ นทางเพศ
เพศสม
ข้อจากัด
ในการคัดกรองผู ้ป่ วยมะเร็งปากมดลูกจะมี
ข ้อจากัดในเรือ
่ งของตัวผู ้ป่ วยเนือ
่ งจากอายทีจ
่ ะ
เข ้ารับการตรวจภายในและไม่กล ้าให ้ข ้อมูลทีเ่ ป็ น
จริง รวมไปถึงความไม่ใสใ่ จทางด ้านสุขภาพโดย
เฉพาในกลุม
่ ทีเ่ ป็ นวัยรุน
่ และคนทีอ
่ ายุมากแล ้ว
ั ญาณใดๆ ซงึ่
โดยทีโ่ รคนีจ
้ ะไม่มอ
ี าการ ไม่มส
ี ญ
้
โรคร ้ายนีจ
้ ะใชเวลาประมาณ
5-10 ปี นับจาก
ชว่ งแรกทีเ่ ซลล์บริเวณปากมดลูก เริม
่ มีอาการ
เปลีย
่ นแปลงจนถึงระยะทีภ
่ าวะของโรคอยูใ่ นระดับ
รุนแรงมากขึน
้
ข้อเสนอแนะ
ั พันธ์ให ้กลุม
ี่ งรับรู ้ถึง
ควรมีการประชาสม
่ เสย
ปั จจัยทีส
่ ง่ ผลให ้เกิดโรคมะเร็งปากมดลูกให ้เห็น
ถึงความสาคัญและความรุนแรงของโรค หันมา
สนใจสุขภาพโดยกับการเข ้าร่วมการตรวจคัดกรอง
มะเร็งปากมดลูกมากขึน
้ เพือ
่ ลดจานวนผู ้ป่ วย
ี ชวี ต
ผู ้เสย
ิ ในแต่ละปี รวมถึงค่าใชจ่้ ายในการ
รักษาพยาบาล เป็ นต ้น โดยวิธก
ี ารคัดกรองจะเป็ น
วิธก
ี ารป้ องกันการเกิดความรุนแรงของโรคได ้
ขอบคุณค่ะ