อฝส2554 - ราช วิทยาลัย พยาธิ แพทย์ แห่ง ประเทศไทย

Download Report

Transcript อฝส2554 - ราช วิทยาลัย พยาธิ แพทย์ แห่ง ประเทศไทย

ปฐมนิเทศแพทย์ประจำบ้ำน โดยรำชวิทยำลัยพยำธิ แพทย์แห่ งประเทศไทย
ประจำปี กำรศึกษำ 2554 ณ อำคำรศูนย์กำรเรี ยนรู้ มหำวิทยำลัยมหิ ดล
อ.ศำลำยำ จ. นครปฐม วันเสำร์ที่ 8 ตุลำคม 2554
แนะแนวการฝึ กอบรมและการสอบวุฒบ
ิ ต
ั รฯ
สาขาพยาธิวท
ิ ยากายวิภาค
ั ญา สุขพณิชนันท์
ศาสตราจารย์ นายแพทย์สญ
อนุกรรมการและเลขานุการ
คณะอนุกรรมการฝึ กอบรมและสอบฯ สาขาพยาธิวท
ิ ยากายวิภาค
บรรยายแทน
รองศาสตราจารย์แพทย์หญิงตุ ้มทิพย์ แสงรุจ ิ
ประธานคณะอนุกรรมการฝึ กอบรมและสอบฯ สาขาพยาธิวท
ิ ยากายวิภาค
ั ลักษณ์ทพ
ตราสญ
ี่ ยาธิแพทย์ควรรู ้
ตราแพทยสภา
ตราราชวิทยาลัยพยาธิแพทย์แห่ง
ประเทศไทย
ื่ มโยงระหว่างแพทยสภา สถาบันฝึ กอบรม
โครงสร ้างเชอ
ราชวิทยาลัย และคณะอนุกรรมการฝึ กอบรมและสอบฯ
แพทยสภา
คณะอนุกรรมการกลางการ
ฝึ กอบรมแพทย์ประจาบ ้าน
ราชวิทยาลัย / วิทยาลัย /
สมาคม
สถาบันฝึ กอบรม ระดับคณะ /
โรงพยาบาล
ราชวิทยาลัย / วิทยาลัย /
สมาคม
สถาบันฝึ กอบรม ระดับคณะ /
โรงพยาบาล
ราชวิทยาลัย / วิทยาลัย /
สมาคม
สถาบันฝึ กอบรม ระดับคณะ /
โรงพยาบาล
สายบังคับบัญชา-กากับดูแลประสานงานภายในองค์กร
การติดต่อประสานงานนอก
ื
คณะอนุกรรมการฝึ กอบรมและสอบเพือ
่ หนั งสอ
อนุมัต/ิ วุฒบ
ิ ต
ั ร สาขาพยาธิวท
ิ ยากายวิภาค
(อฝส.)
• คณะอนุกรรมการ หมายความว่า คณะอนุกรรมการฝึ กอบรมและ
ี เวชกรรม (อฝส.)
สอบความรู ้ความชานาญในการประกอบวิชาชพ
• ประธานคณะอนุกรรมการฯ มาจากกรรมการราชวิทยาลัย แต่งตัง้
สว่ นอนุกรรมการฯ มาจากประธานคณะอนุกรรมการฯ คัดเลือก
• อายุการทางาน ทุกสองปี หมดวาระคือ เดือนตุลาคมถึงเดือน
กันยายน (เทียบกับกรรมการราชวิทยาลัยด ้วย)
• สถานทีท
่ าการ ภาควิชาพยาธิวท
ิ ยา คณะแพทยศาสตร์ศริ ริ าช
พยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล เลขที่ 2 ถนนพรานนก เขต
บางกอกน ้อย กทม. โทร 02-4196504-5 โทรสาร 02-4114260
รายนามคณะกรรมการฝึ กอบรมและสอบฯ สาขาพยาธิวิทยากายวิภาค
ประธานคณะอนุกรรมการฝึ กอบรมและสอบฯ
พญ.ตุ ้มทิพย์ แสงรุจ ิ
รองประธานคณะอนุกรรมการฝึ กอบรมและสอบฯ
ี สุมน สุทธิพน
พญ.ชพ
ิ ทะวงศ ์
อนุกรรมการและเลขานุการ
ั ญา สุขพณิชนันท์
นพ.สญ
รายนามคณะกรรมการฝึ กอบรมและสอบฯ สาขา
พยาธิวท
ิ ยากายวิภาคจากทุกสถาบันทีม
่ ก
ี ารฝึ กอบรม
พญ.เตือนใจ ชว่ งสุวนิช
นพ.มงคล อุยประเสริฐกุล
นพ.สมบูรณ์ คีลาวัฒน์
นพ.ไพศาล บุญสะกันต์
นพ.พัฒนา ศรมยุรา
ั ศริ ก
นพ.วรชย
ิ ล
ุ ชยานนท์
นพ.พนัส เฉลิมแสนยากร
ั ปทานุกล
นพ.พิเชฐ สม
ุ
นพ.ประพันธ์ จุฑาวิจต
ิ รธรรม
พญ.คณิตา กายะสุต
* อาจมีการเปลีย
่ นแปลง
ิ มัน
พญ.กอบกุล ตัง้ สน
่ คง
ั ดิ์ มหานุภาพ
นพ.พงษ์ ศก
นพ.ทรงคุณ วิญญูวรรธน์
พญ.สุพน
ิ ดา คูณมี
นพ.อนุชา พัวไพโรจน์
นพ.ธารา พูนประชา
พญ.ภานินี ถาวรังกูร
พญ.สุมาลี ศริ อ
ิ งั กุล
หน ้าทีข
่ องอฝส.
(ดาเนินการภายใต ้การกากับดูแลของราชวิทยาลัยฯ ในเรือ
่ งต่าง ๆ ดังนี)้
• วางเป้ าหมายหลักสูตรและวิธก
ี ารฝึ กอบรมแพทย์เฉพาะทาง
• พิจารณาการขอเปิ ดฝึ กอบรม รับรองโรงพยาบาล หรือสถาบันที่
ใชฝึ้ กอบรม
ั ยภาพของโรงพยาบาล หรือสถาบันทีใ่ ช ้
• ประเมินคุณภาพและศก
ฝึ กอบรม เพือ
่ เสนอให ้แพทยสภารับรอง
ื อนุมต
• ประเมินคุณสมบัตข
ิ องผู ้ทีป
่ ระสงค์สมัครสอบ เพือ
่ หนังสอ
ั /ิ
วุฒบ
ิ ต
ั ร
• ดาเนินการสอบ
• ติดตามผล ทาข ้อเสนอแนะและดาเนินการแก ้ปั ญหาในการ
ฝึ กอบรมแพทย์เฉพาะทาง
ั ้ ในสาขา
• รับรองหลักสูตรการฝึ กอบรมระยะสน
• หน ้าทีอ
่ น
ื่ ทีแ
่ พทยสภามอบหมาย
การประเมินสถาบันฝึ กอบรม
• ดาเนินการโดยตัวแทนราชวิทยาลัยพยาธิแพทย์
แห่งประเทศไทย ทุก 5 ปี
• ต ้องมีผู ้ผ่านการอบรมการเป็ นผู ้ประเมินตาม
เกณฑ์แพทยสภา
• การประเมิน
ั ยภาพ (จานวนผู ้เข ้าฝึ กอบรม ตาแหน่ง)
- ศก
ตามหลักสูตร
- มาตรฐาน 9 ข ้อ
การประเมินสถาบันฝึ กอบรม
• มาตรฐาน 9 ข ้อ ได ้แก่
- ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค์
-
กลไกควบคุมมาตรฐานการฝึ กอบรม
การบริหารและการจัดการของภาควิชา
หลักสูตร
อาจารย์
กระบวนการฝึ กอบรม
แพทย์ประจาบ ้าน
การประเมินผล
การประเมินสถาบันฝึ กอบรม
• การประเมินสถาบันฝึ กอบรมตามเกณฑ์แพทยสภานัน
้ ตรวจประเมินครัง้ ล่าสุดเมือ
่ ปี 2551 และ
จะครบกาหนดตรวจประเมินสถาบันฝึ กอบรมอีก
ครัง้ ในปี 2556
ั ยภาพของสถาบันฝึ กอบรม
การประเมินศก
จานวนผู ้เข ้ารับการ
ั ้ ละ)
ฝึ กอบรม (ปี ละ ชน
แพทย์ผู ้ให ้การฝึ กอบรม
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
3
5
7
9
11
13
15
17
19
21
60
80
100
120
140
160
180
200
(คน)
40
การตรวจศพ
(ราย)
ั ยกรรม
การตรวจพยาธิศล
3000
4500
6000
7500
9000
10500
12000
13500
15000
16500
3000
4500
6000
7500
9000
10500
12000
13500
15000
16500
(ราย)
การตรวจเซลล์วท
ิ ยา
(ราย)
สาขาหลักสูตรการฝึ กอบรม
• สาขาพยาธิวท
ิ ยากายวิภาค
• สาขาพยาธิวท
ิ ยาคลินก
ิ
• สาขาพยาธิวท
ิ ยาทั่วไป
3 ปี
3 ปี
4 ปี
หลักสูตรการฝึ กอบรม ฉบับปรับปรุงปี 2551
ื่ หลักสูตร: หลักสูตรการฝึ กอบรมแพทย์ประจาบ ้านเพือ
ชอ
่ วุฒบ
ิ ต
ั ร
ี เวชกรรม
แสดงความรู ้ความชานาญในการประกอบวิชาชพ
สาขาพยาธิวท
ิ ยากายวิภาค
หลักการและเหตุผล: งานบริการทางด ้านพยาธิวท
ิ ยากายวิภาค
เป็ นหน่วยงานกลางพืน
้ ฐานทีส
่ าคัญของการเป็ นสถาบัน
ฝึ กอบรม ในการฝึ กอบรมแพทย์ประจาบ ้านทุกสาขา
นอกจากนัน
้ ในหลักสูตรการฝึ กอบรมแพทย์ประจาบ ้านหลาย
่ สาขาศล
ั ยศาสตร์ สาขาสูตศ
สาขา เชน
ิ าสตร์-นรีเวชวิทยา
ึ ษาการตรวจ
แพทย์ประจาบ ้านจะต ้องหมุนเวียนมาศก
วินจ
ิ ฉัยโรคและระบบงานทางด ้านพยาธิวท
ิ ยากายวิภาคกับ
พยาธิแพทย์ ปั จจุบน
ั ประเทศไทยมีพยาธิแพทย์ทป
ี่ ฏิบัตงิ าน
อยูจ
่ านวนไม่มาก และถือว่าอยูใ่ นขัน
้ ขาดแคลน
หลักสูตรการฝึ กอบรม
จานวนปี การฝึ กอบรม: หลักสูตรการฝึ กอบรมมีระยะเวลา 3 ปี โดย
ั ดาห์
แต่ละปี ไม่น ้อยกว่า 50 สป
วัตถุประสงค์: 1. มีความรู ้ทางด ้านกายวิภาคศาสตร์ทเี่ ป็ นพืน
้ ฐาน
สาคัญต่อการปฏิบต
ั งิ าน
2. มีความรู ้ทางด ้านพยาธิวท
ิ ยาเกีย
่ วกับกลไก
พืน
้ ฐานของการเกิดโรค
3. มีความรู ้ทางด ้านพยาธิวท
ิ ยาของโรคระบบต่าง ๆ
4. มีความรู ้ความสามารถและทักษะทางด ้านเทคนิค
วิธก
ี ารเกีย
่ วกับสงิ่ สง่ ตรวจทางพยาธิวท
ิ ยา
5. มีความรู ้ความสามารถในการตรวจวินจ
ิ ฉัยทาง
พยาธิวท
ิ ยาด ้วยตาเปล่า และด ้วยกล ้องจุลทรรศน์
6. มีความรู ้ความสามารถในการถ่ายทอดความรู ้
ึ ษาหาความรู ้ด ้วย
7. มีความรู ้ความสามารถในการศก
ตนเอง
ข ้อกาหนด
• ผ่านการฝึ กอบรบครบตามหลักสูตรของสถาบัน
ฝึ กอบรม
• ผ่านการประเมินระหว่างการฝึ กอบรม จัดให ้มีการ
ประเมินผลการปฏิบต
ั งิ านของผู ้เข ้ารับการฝึ กอบรมเมือ
่
ิ้ สุดการฝึ กอบรมแต่ละปี
สน
• สถาบันฝึ กอบรม รับรองให ้เข ้ารับการประเมินได ้
• มีหลักฐานรับรองจากสถาบันฝึ กอบรมว่ามีประสบการณ์
ั ยกรรม การตรวจทาง
การตรวจศพ การตรวจเนือ
้ ศล
เซลล์วท
ิ ยา และงานวิจัย
ข ้อกาหนด
ั ยพยาธิวท
• ศล
ิ ยา
• เซลล์วท
ิ ยา
• ตรวจศพ
3,000 ราย
1,000 ราย
50 ราย
– การตรวจทางนิตเิ วช ไม่เกิน 10 ราย และต ้องมีการ
ตรวจทางจุลทรรศน์
• งานวิจัย
1
เรือ
่ ง
– ภาษาอังกฤษ ถูกต ้องตามระเบียบวิธวี จ
ิ ัย และผ่าน
คณะกรรมการจริยธรรมวิจัยในคน
– ไม่ใชร่ ายงานผู ้ป่ วย (case report)
้ ้หรือไม่ ถ ้าเป็ น case series
– อาจมีคาถามว่าใชได
เอกสารเพือ
่ การเตรียมสอบ
• สาเนารายงานพยาธิวท
ิ ยา
• สาเนารายงานเซลล์วท
ิ ยา
• สาเนาผลการตรวจศพ
20 ราย
20 ราย
50 ราย
• ผลการตรวจศพฉบับสมบูรณ์ 20 ราย
่ เลือกจาก 50 รายทีส
โดยคณะกรรมการจะสุม
่ ง่
• งานวิจัยฉบับสมบูรณ์
1 เรือ
่ ง
การสอบและเกณฑ์ผา่ น
• ทฤษฏี
– MCQ: Basic science*
100 items
Systemic pathology
200 items
– MEQ: Short questions
6 topics
ิ ธิส
*จบปี ท1
ี่ มีสท
์ อบ
• ปฏิบ ัติ
– Images (gross, cytology)
– Slides (surgical & cytology)
ั
• สมภาษณ์
65 slides
75 slides@
– Autopsy
2 cases
– Others
4 items
@อาจเปลีย
่ นแปลงได ้ตามความเหมาะสม
การสอบและเกณฑ์ผา่ น
• ทฤษฏี
เกิน 60%
– Basic science
– Systemic + MEQ
•
•
•
•
ปฏิบัต ิ
เกิน 60%
ั ภาษณ์
สม
เกิน 60%
ผลการสอบมีอายุ 3 ปี (เดิม 2 ปี )
ผลการสอบแต่ละหัวข ้อมีอายุ 2 ปี การฝึ กอบรม
เตรียมตัวสอบ
• เตรียมหัวข ้องานวิจัยภายในปลายปี 1 และ
ดาเนินการทันที
• สรุป autopsy ให ้เร็ว
• สอบ basic science เมือ
่ จบปี ท ี่ 1
• ประเมินตัวเอง เมือ
่ สถาบันจัดสอบ
• เริม
่ เตรียมเอกสารสง่ สอบเดือน ม.ค.
• สมัครสอบทีแ
่ พทยสภา พร ้อมเอกสารภายใน
วันที่ 31 มี.ค.
• เตรียม autopsy 20 ราย ราวกลางเดือน พ.ค.
เตรียมตัวสอบ
• วันสอบ: ประมาณต ้นเดือน มิ.ย.
้
• เวลา: เชาจรดเย็
น
• สถานที:่ ตึกอดุลยเดชวิกรม
คณะแพทยศาสตร์ศริ ริ าชพยาบาล
• เริม
่ อ่านทฤษฏีตงั ้ แต่วันนี้
่ เอกสารคูม
• อฝส จะจ ัดสง
่ อ
ื เตรียมสอบให้
เดือน มี.ค.
เมือ
่ สอบไม่ผา่ น
• ไม่ถอดใจ
ิ ธิส
• ไม่ผา่ นทฤษฎี มีสท
์ อบเพิม
่ พูนความรู ้ในปี นัน
้
• ไม่ผา่ นปฏิบต
ั ิ ต ้องสอบปี ถัดไป
– ทางานได ้ในการกากับดูแลของพยาธิแพทย์ประจา
• การสอบครัง้ ทีส
่ องสอบเฉพาะทีไ่ ม่ผา่ น
(ทีไ่ ม่หมดอายุ)
• ไม่ต ้องเตรียมข ้อมูลขัน
้ ตา่ (รายงานต่าง ๆ และ
งานวิจัย)
ื ตัง้ ใจทางาน
• เตรียมตัวตลอดปี ดูหนังสอ
แลกเปลีย
่ นความรู ้ ติวเพือ
่ นมาก ๆ
การสอบเพิม
่ พูนความรู ้
•
•
•
•
ผ่านการสอบภาคปฏิบต
ั ิ
ทฤษฏี ไม่ตา่ กว่า 40%
จัดสอบภายในเดือน มิ.ย.
ข ้อสอบหลากหลาย MCQ, short essay แต่ละ
ปี แตกต่างกัน
Good Luck