การประเมินหลักสูตร

Download Report

Transcript การประเมินหลักสูตร

(Curriculum Design and Evaluation)
ประวัตผ
ิ ้สอน
ู
 ระดับปริญญาบัณฑิต
ดร.บุษกร เชีย
่ วจินดากานต
081-556-7799
bussakornonline@gmail.
ศึ กษาศาสตรบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีการศึ กษา
มหาวิทยาลัยศิ ลปากร
 ระดับปริญญามหาบัณฑิต
ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาโสตทัศนศึ กษา คณะ
ครุศาสตร ์
จุฬาลงกรณมหาวิ
ทยาลัย
์
 ระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต
ประกาศนียบัตรบัณฑิตทางภาษาอังกฤษเพือ
่ อาชีพ
สถาบันภาษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ์
 ระดับปริญญาดุษฎีบณ
ั ฑิต
ครุศาสตรดุษฎีบณ
ั ฑิต สาขาเทคโนโลยีและสื่ อสาร
จุดมุงหมายรายวิ
ชา
่
1. มีความรู้ ความเขาใจทฤษฎี
หลักสูตร หลักการและ
้
แนวคิดในการออกแบบหลักสูตรและการประเมิน
หลักสูตร
2. ออกแบบหลักสูตรและการวางแผนการประเมินผลได้
อยางถู
กตองเหมาะสมตามเงื
อ
่ นไขและสภาพแวดลอม
่
้
้
ตางๆ
่
3. สามารถวางแผนหลักสูตร สรางหลั
กสูตร ทดลอง
้
ใช้ วิเคราะหและสั
งเคราะหเพื
่ พัฒนาหลักสูตรได้
์
์ อ
4. เลือกรูปแบบการประเมินผลหลักสูตร สรางเครื
อ
่ งมือ
้
ประเมินหลักสูตรและทาการประเมินผลหลักสูตรใน
รูปแบบตางๆ
ได้
่
5. วิเคราะหบทบาทของการออกแบบหลั
กสูตรและการ
์
กิจกรรมการเรียนการสอน
 บรรยายและอธิบายประกอบดวยโปรแกรม
้
นาเสนอ powerpoint
 รวมกั
นอภิปรายในชัน
้ เรียนเกีย
่ วกับการออกแบบ
่
หลักสูตรระดับรายวิชา หรือสาระการเรียนรู้
ตางๆ
หรือหลักสูตรฝี กอบรมและการประเมิน
่
หลักสูตร
 ทารายงานทีม
่ อบหมายและนาเสนอ
 นิสิตศึ กษาคนคว
้
้าเอกสารและแหลงเรี
่ ยนรู้ตางๆ
่
เพิม
่ เติม
การประเมินผลการเรียน
 งานทีป
่ ฏิบต
ั ใิ นชัน
้ เรียน
20
คะแนน
 รายงานทีไ
่ ด รับมอบหมายงานกลุม
่
20 คะแนน
 รายงานทีไ
่ ด รับมอบหมายงานเดีย
่ ว
10 คะแนน
 การมีส่วนรวมในชั
น
้ เรียนและความสนใจ 10
่
คะแนน
 สอบปลายภาคเรียน
40
คะแนน
(Curriculum Design and Evaluation)
ระบบการศึ กษา
 ระบบการศึ กษา หมายถึง โครงสรางของ
้
การศึ กษาทีม
่ อ
ี งคประกอบ
เช่น ระดับชัน
้
์
และขัน
้ ตอนของการศึ กษา ประเภทของ
การศึ กษา และกระบวนการเรียนการสอน
รูปแบบของการเรียน (Modes of
learning)
• พรบ.การศึ กษาแหงชาติ
พ.ศ.2542 หมวด 3 ระบบการศึ กษา
่
มาตรา
15
การจัดการศึ ก(Formal
ษามี 3 รูปแบบ คือ การศึ กษาใน
การศึ ก
ษาในระบบ
ระบบ การศึ กษานอกระบบ และการศึ กษาตามอัธยาศัย
Education)
• การศึ กษาทีก
่ าหนดจุดมุงหมาย
วิธก
ี ารศึ กษา
่
หลักสูตร ระยะเวลาของการศึ กษา การวัดและการ
ประเมิ
ผล ซึง่ เป็ นเงือ
่ นไขของการส
าเร็จการศึ กษาที่
การศึ
กน
ษานอกระบบ
(Non-Formal
แน่นอน
Education)
• เป็ นการศึ กษาทีม
่ ค
ี วามยืดหยุนในการก
าหนดจุดมุงหมาย
่
่
รูปแบบ วิธก
ี ารจัดการศึ กษา ระยะเวลาของการศึ กษา การ
วัดและประเมินผล ซึง่ เป็ นเงือ
่ นไขสาคัญของการสาเร็จ
การศึ กษา โดยเนื้อหาและหลักสูตรจะตองมี
การศึ
กษาตามอัธยาศั ย (Informal ้ ความเหมาะสม
สอดคลองกั
บสภาพปัญหาและความตองการของบุ
คคลแตละ
้
้
่
Education)
• เป็
กษาทีใ่ ห้ผู้เรียนไดเรี
กลุนการศึ
ม
้ ยนรูด
้ วยตนเองตามความ
้
่
สนใจศักยภาพ ความพรอมและโอกาส
โดยศึ กษาจาก
้
บุคคล ประสบการณ์ สั งคม สภาพแวดลอม
สื่ อหรือแหลง่
้
• พรบ.การศึ กษาแหงชาติ
พ.ศ.2542 หมวด 3 ระบบ
่
การศึ กษา มาตรา 16 การศึ กษาในระบบมี 2 ระดับ
คือ การศึ กษาขัน
้ พืน
้ ฐานและการศึ
กษาระดั
บอุน
กษา
1. ระดับการศึ
กษาขั
้ ดพืมศึ
น
้ ฐาน
ซึง่ ตองจั
ดอยาง
12 ปี ซึง่ รวมถึง
้
่
การศึ กษาปฐมวัย ประถมศึ กษา
และมัธยมศึ กษา
2. ระดับการศึ กษาอุดมศึ กษา
หรือหลังการศึ กษาขัน
้ พืน
้ ฐานซึง่ จะ
แบงออกเป็
นระดับตา่ กวาปริ
ญญา
่
่
และปริญญา
ส่วนประเภทการศึ กษานั้นยังคง
เปิ ดกวางไว
้
้ เช่น อาชีวศึ กษา
เป็ นตน
้
สาหรับการศึ กษาผูใหญ และ
ประเทศไทยมีอต
ั ราการเรียนตออุ
่ ดมศึ กษาไมด
่ อย
้
ไปกวาประเทศอื
น
่ ๆ
่
 21/03/2556 14:13:20
ทีม
่ า: http://www.qlf.or.th/Home/Contents/598
ทีม
่ า:
Classwork 1
(10
คะแนน)
ให้นักศึ กษาแบงกลุ
มๆ
ละ 5 คน ช่วยกันระดม
่
่
สมองระบุ
“ปัญหาของหลักสูตรการศึ กษาในประเทศไทย”
พรอมทั
ง้ ช่วยกันหาแนวทางการแกปั
้
้
้ ญหาทีเ่ กิดขึน
อยางน
1 ประเด็น
่
้ อยกลุมละ
่
โดยใช้เวลา 15 นาที และนามาเสนอหน้า
ห้องเรียน
ทฤษฎีหลักสูตร (Curriculum Theory)
 หลักสูตร (Curriculum) เป็ นมวลประสบการณ ์
ทีก
่ าหนดไวอย
นระบบสาหรับใช้ในการจัด
้ างเป็
่
การศึ กษาให้ผูเรี
คุณภาพตาม
้ ยนไดเรี
้ ยนรูและมี
้
ความมุงหมาย
่
 O = Objective
 L = Learning
 E = Evaluation
= วัตถุประสงค ์
= กิจกรรมการเรียนการสอน
= การประเมินผล
แบบแผน/ประเภทของหลักสูตร
 หลักสูตรรายวิชา (Discrete-discipline
Curriculum)
 หลักสูตรหมวดวิชา (Broad-field
Curriculum)
 หลักสูตรแกน (Core Curriculum)
การออกแบบหลักสูตร (Curriculum
Design)
 เป็ นการกาหนดขอบขาย
(Scope) และลาดับ
่
(Sequence) ของประสบการณ ์ (เนื้อหา/ วิธก
ี าร)
ขอบขายเนื
้อหา
่
• คุณคาของเนื
้อหา
่
นั้น
• ความรูเกี
่ วกับ
้ ย
ผู้เรียน
• เนื้อหาวิชาที่
เกีย
่ วของกั
น
้
• โอกาสในการ
นาไปประยุกตใช
์ ้
ลาดับเนื้อหา
• ลาดับช่วงเวลาที่
เกิดเหตุการณ์
• สภาพแวดลอม
้
• ความเป็ นเหตุเป็ น
ผล
• ความยากงาย
่
• ความเป็ นรูปธรรม/
นามธรรม
สิ่ งสาคัญทีค
่ วรคานึงถึงในการออกแบบ
หลักสูตร
ผู้เรียน
เกง่
การ
เรีย
นรู้
การ
สื่ อส
าร
มี
ทักษ
รู้เทา่
ะ
ทัน
ตาง
่
ๆ
มี
คุณ
ธรร
ม
จริย
ธรร
ม
ดี
มีสุข
คานิ
่
ยม
อันดี
งาม
ทาง
บุคลิ าน
กภา รวม
่
พดี
กับ
ผู้อืน
่
พัฒ
นา
สั งค
ม
สุขภ
าพดี
ภูมใิ
จใน
ควา
ม
เป็ น
ไทย
สิ่ งสาคัญทีค
่ วรคานึงถึงในการออกแบบ
หลักสูตร
เนื้อหาวิชา
พุทธิพส
ิ ัย
จิตพิสัย
ทักษะพิสัย
Bloom’s Taxonomy
 พุทธิพส
ิ ั ย (Affective Domain)
การออกแบบหลักสูตร (Curriculum
Design)
 แนวคิดการออกแบบหลักสูตรของเทเลอร ์ (Tyler)
 แนวคิดการออกแบบหลักสูตรของ (Taba)
 แนวคิดของเซเลอร ์ อเล็กซานเดอร ์ และเลวิส
(Saylor, Alexander and Lewis)
 แนวคิดของโอลิวา (Oliva)
 แนวคิดแบบจาลองหลักสูตรของกองทัพเรือออสเตรเลีย
(ADDIE MODEL)
การออกแบบหลักสูตรตามแนวคิดของ
Tyler
 กระบวนการหลักสูตรทีต
่ องอาศั
ยการคิด พิจารณา และ
้
ตัดสิ นใจ เพือ
่ การวางแผนสรางหรื
อจัดประสบการณให
บรรลุ
้
้
์
1.มีจุดประสงคทาง
์
เป้าหมายทีต
่ องไว
้
้
การศึ กษาอะไรบางที
่
้
โรงเรียนควรแสวงหา
2. มีประสบการณทาง
์
การศึ กษาอะไรบางที
่
้
สามารถจัดขึน
้ เพือ
่ ช่วยให้
บรรลุจุดประสงคที
่ าหนด
์ ก
ไวนั
้ ้น
3. จะจัดระบบประสบการณ์
ดังกลาวนี
้อยางไรจึ
งจะมี
่
่
ประสิ ทธิภาพมากทีส
่ ุด
4. จะประเมินประสิ ทธิภาพ
ทีม
่ า:
ของประสบการณในการ
แนวคิดการออกแบบหลักสูตรของ Taba
1. การวินจ
ิ ฉัยความตองการส
ารวจสภาพปัญหาความตองการและความ
้
้
จาเป็ นตางของผู
่
้เรียน
2. การกาหนดจุดประสงค ์ เป็ นการกาหนดจุดประสงคให
์ ้ชัดเจนหลังจาก
ทีไ่ ดศึ
องการแล
ว
้ กษาวิเคราะหความต
้
้
์
3. การเลือกเนื้อหาสาระ เป็ นการเลือกเนื้อหาสาระทีส
่ อดคลองกั
บ
้
จุดประสงค ์ เนื้อหาสาระทีเ่ ลือกตองค
านึงถึงวัย และความสามารถ
้
ของผู้เรียนดวย
ทัง้ ยังตองมี
ความเชือ
่ ถือไดและมี
ความสาคัญตอการ
้
้
้
่
เรียนรูด
้ วย
้
4. การจัดเนื้อหาสาระ เป็ นการนาเนื้อหาสาระทีเ่ ลือกไวมาจั
ดลาดับโดย
้
คานึงถึงความตอเนื
้อหาสาระ รวมทัง้
่ ่อง และความยากงายของเนื
่
วุฒภ
ิ าวะ ความสามารถ และความสนใจของผู้เรียน
5. การคัดเลือกประสบการณการเรี
ยนรู้ เป็ นการคัดเลือกประสบการณ์
์
การเรียนรูของผู
่ วของให
บเนื้อหาสาระ
้
้สอนหรือผู้เกีย
้
้สอดคลองกั
้
แนวคิดการออกแบบหลักสูตรของ Saylor, Alexander
and Lewis (1981, 28-39)
1. เป้าหมาย จุดมุงหมายและขอบเขต
(Goals, objectives and
่
domains) มี 4 ขอบเขตทีส
่ าคัญ คือ พัฒนาการส่วนบุคคล
(personal development) สมรรถภาพทางสั งคม (Social
competence) ทักษะการเรียนรูอย
อเนื
้ างต
่
่ ่อง (continued
learning skills) และความเชีย
่ วชาญเฉพาะดาน
้
(specialization)
2. การออกแบบหลักสูตร (Curriculum design) ตัดสิ นใจเกีย
่ วกับ
การเลือกและจัดเนื้อหาสาระ การเลือกประสบการณการเรี
ยนรู้ที่
์
เหมาะสมและสอดคลองกั
บเนื้อหาสาระทีไ่ ดเลื
้
้ อกแลว
้
3. การใช้หลักสูตร (Curriculum implementation) โดยครูผ้สอน
ู
ตองวางแผนและจั
ดทาแผนการสอนตามรูปแบบตางๆ
ครูผ้สอน
ู
้
่
เลือกวิธก
ี ารสอน สื่ อ วัสดุการเรียนการสอนทีช
่ ่ วยให้ผู้เรียนเกิด
การเรียนรูตามที
ก
่ าหนดไว้
้
แนวคิดการออกแบบหลักสูตรของโอลิวา
(Oliva) (1992, 171-175)
1. กาหนดความตองการของ
้
ผู้เรียนในแบบทัว่ ไป
2. กาหนดความตองการของ
้
สั งคม
3. กาหนดเป้าหมายของการจัด
การศึ กษา เขียนปรัชญาและ
หลักจิตวิทยาการศึ กษา ซึง่
เป้าหมายนี้เป็ นความเชือ
่ ทีไ่ ดมา
้
จากตองการของสั
งคมและผู้เรียน
้
4. กาหนดความตองการของ
้
ผู้เรียนในสถานศึ กษา
5. กาหนดความตองการเฉพาะ
้
ของสั งคม
8. กาหนดวัตถุประสงคของ
์
หลักสูตรสถานศึ กษา
9. จัดโครงสรางของหลั
กสูตรและ
้
นาหลักสูตรไปใช้
10. กาหนดจุดหมายของการ
เรียนการสอน
11. กาหนดจุดประสงคการเรี
ยน
์
การสอน
12. เลือกยุทธวิธก
ี ารจัดการเรียน
การสอน
13. เริม
่ เลือกวิธก
ี ารวัดและ
ประเมินผล
แนวคิดแบบจาลองหลักสูตรของกองทัพเรือ
ออสเตรเลีย (ADDIE MODEL)
1.การวิเคราะห ์ (Analysis) ไดแก
้ ่ การวิเคราะห ์
ตาแหน่งงาน การวิเคราะหสมรรถนะ
และการ
์
วิเคราะหความเป็
นไปได้
์
2.การออกแบบ (Design) ไดแก
้ ่ การวิเคราะหงาน
์
การวิเคราะหกิ
์ จกรรมการเรียนการสอน การ
วิเคราะหวั
์ ดผล การวางแผนประเมินหลักสูตร
3.การพัฒนา (Develop) ไดแก
ี าร
้ ่ กาหนดวิธก
ฝึ กอบรม จัดลาดับวัตถุประสงคเชิ
์ งพฤติกรรม
จัดทาหลักสูตร เตรียมทรัพยากรการเรียนรู้ การ
ทดลองหลักสูตร
แบบจาลองการพัฒนาหลักสูตร
ทีม
่ า: ศิ รช
ิ ย
ั กาญจน
การประเมินหลักสูตร
 พระราชบัญญัตก
ิ ารศึ กษาแห งชาติ พ.ศ.2542 กาหนด
ให มีการจัดทาหลักสูตรการศึ กษาขัน
้ พืน
้ ฐานเป นผลให
มีการประกาศใช หลักสูตรการศึ กษาขัน
้ พืน
้ ฐาน
พ.ศ.2544 ภายใต พ.ร.บ.การศึ กษาแห งชาติ
 ฉบับดังกล าวยังได กาหนดให มีระบบการประกัน
คุณภาพการศึ กษา เพือ
่ พัฒนาคุณภาพและมาตรฐาน
การศึ กษาทุกระดับ (มาตรา47) เป็ นการสร างความ
มัน
่ ใจต อสาธารณะว าผลผลิตทางการศึ กษาจะได
มาตรฐานตามทีก
่ าหนดไว นั้น
 ประกอบด วยระบบการประกันคุณภาพภายใน อันเป
นการตรวจสอบประเมินผลการจัดการศึ กษาโดยสถานศึ กษา
และหน วยงานตนสั
้ งกัด และระบบการประกันคุณภาพ
ภายนอก อันเป นการตรวจสอบประเมินผลการจัด
การประเมินหลักสูตร
 การประเมิน (Evaluation) หมายถึง กระบวนการ
ตัดสิ นคุณคาของสิ
่ งตางๆ
โดยเปรียบเทียบกับเกณฑ ์
่
่
หรือมาตรฐาน ดังนั้น การประเมินหลักสูตรจึงเป็ น
กระบวนการศึ กษาและเก็บรวบรวมขอมู
่ วกับ
้ ลเกีย
หลักสูตร แลวท
่ วินิจฉัย
้ าการวิเคราะหข
้ ล เพือ
์ อมู
จุดเดน
วหลักสูตรและการบริหาร
่ จุดดอยของตั
้
หลักสูตร อันเป็ นประโยชนต
บปรุง
่
์ อการปรั
กระบวนการหลักสูตรระหวางการใช
่
่
้หลักสูตรและเพือ
ตัดสิ นคุณภาพของหลักสูตร วาบรรลุ
จุดมุงหมายที
่
่
่
กาหนดไว้หรือไมเพี
่ ยงใด อันเป็ นประโยชนต
่
์ อการ
ปรับปรุง และเปลีย
่ นแปลงหลักสูตรให้มีความ
เหมาะสมยิง่ ขึน
้ ตอไป
่
การประเมินหลักสูตร
 การสรางเครื
อ
่ งมือเก็บรวบรวมขอมู
่ ส
ี าหรับการประเมิน
้
้ ลทีด
หลักสูตรนั้น จาเป็ นตองค
านึงถึงสิ่ งทีจ
่ ะใช้สาหรับการตัดสิ น
้
คุณคาของหลั
กสูตร
่
 1. ตัวชีว
้ ด
ั (indicator) สาหรับการประเมินหลักสูตร หมายถึง
คา่ หรือ ลักษณะทีส
่ ั งเกตไดซึ
อสะทอน
้ ง่ บงบอกสภาพหรื
่
้
คุณลักษณะหรือคุณภาพของตัวหลักสูตร ตัวปัจจัยเบือ
้ งตน
้
กระบวนการใช้หลักสูตร และผลทีไ่ ดจากการใช
้
้หลักสูตร
(ผลผลิต และผลลัพธของหลั
กสูตร)
์
 2. เกณฑ ์ (criteria) สาหรับการประเมินหลักสูตร หมายถึง
คุณลักษณะ หรือขอก
่ อ
ื เป็ นคุณภาพ ความสาเร็จ
้ าหนดทีถ
หรือความเหมาะสมของตัวหลักสูตร ตัวปัจจัยเบือ
้ งตน
้
กระบวนการใช้หลักสูตร และผลทีไ่ ดจากการใช
้
้หลักสูตร
(ผลผลิต และผลลัพธของหลั
กสูตร)
์
แนวทางการประเมินหลักสูตร
1.การประเมินความกาวหน
้
้ า หรือ การประเมิน
สรุปรวม
(Formative V.S. Summative Evaluation)
2.การประเมินอยางไม
เป็
่
่ นทางการ หรือ การ
ประเมินอยางเป็
นทางการ (Informal V.S.
่
Formal Evaluation)
3.การประเมินผลทัง้ หมด หรือ การประเมินตาม
จุดมุงหมาย
่
(Goal-Free V.S. Goal-Based Evaluation)
4.การประเมินโดยผูประเมิ
นภายนอก หรือ การ
้
เกณฑส
์ าหรับใช้ในการประเมินหลักสูตร
 ผลการประเมินตรวจสอบกับเกณฑ ์
1. ความเทีย
่ งตรงภายใน (Internal Validity) การออกแบบ
รายการการประเมินทาให้ไดถู
องการ
้ กตองตามต
้
้
2. ความเทีย
่ งตรงภายนอก (External Validity) ผลการ
ประเมินสามารถนาไปใช้อางอิ
งได้ สรุปไดกว
้
้ างขวาง
้
3. ความเชือ
่ มัน
่ (Reliability) ความคงทีข
่ องขอมู
้ ลทีเ่ ก็บ
รวบรวมมาจากการวัดหลายๆ ดาน
้
4. ความเป็ นปรนัย (Objectivity) ส่วนใหญเข
อมู
่ าใจข
้
้ ล
ตรงกันมากน้อยเพียงไร
การประเมินหลักสูตรของ Tyler
อุปสรรคการประเมินหลักสูตร
1.เวลา
2.ทัศนคติทางลบ
3.ขาดความเชีย
่ วชาญ
4.การประสานงาน
5.มีความกลับกับการประเมินผล
6.ขาดความมุงมั
่ ทีจ
่ ะนาผลทีไ่ ดไปใช
่ น
้
้
7.ตัวบงชี
้ ารเปลีย
่ นแปลงของผู้เรียนระยะยาว
่ ก
8.เกณฑการประเมิ
น
์
TEST วิชาการออกแบบและประเมินผล
หลักสูตร
(Open Book)
(20
คะแนน)
 ให้นักศึ กษาแบงกลุ
มๆ
ละ 10 คน
่
่
 หาขาวที
เ่ ป็ นปัญหาสั งคมทีเ่ กิดขึน
้ ในปัจจุบน
ั
่
เช่น วงโย ตากฝนไหวครู
หมากปริญ ฯลฯ
้
 ช่วยกันระดมสมองเพือ
่ “ออกแบบและประเมินผล
หลักสูตร”
 แบบตามแบบจาลองการพัฒนาหลักสูตร
 เพือ
่ แกไขปั
ญหาเหลานั
้
่ ้น
แบบจาลองการพัฒนาหลักสูตร
ทีม
่ า: ศิ รช
ิ ย
ั กาญจน
Homework (Big Project) งานเดีย
่ ว
(20 คะแนน)
 ให้นักศึ กษาวิเคราะหวิ
์ พากษหลั
์ กสูตรที่
ตนเองรับผิดชอบในงานประจา เพือ
่
ศึ กษาวิธก
ี ารออกแบบและพัฒนาหลักสูตร
นั้นๆ ตามแนวคิดแบบจาลองการพัฒนา
หลักสูตร