การประกันคุณภาพมหาวิทยาลัยในมุมมองของ สกอ.

Download Report

Transcript การประกันคุณภาพมหาวิทยาลัยในมุมมองของ สกอ.

การประกันคุณภาพ
มหาวิทยาลัย
ในมุมมองของ สกอ.
ดร.วราภรณ์
สี หนาท
รองเลขาธิการคณะกรรมการ
การอุดมศึ กษา
ทำไม สกอ. ต้ องดำเนินกำร
เงื่อนไขสำคัญในกำรจัดระบบ
ประกันคุณภำพอุดมศึกษำ
การประกันคุณภาพอุดมศึกษาดาเนินการภายใต้เงื่อนไขต่อไปนี้ :
 พระราชบัญญัติการศึกษาแห่ งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม
(ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545
 ประกาศกระทรวงศึกษาฯ เรื่ องมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ.
2549
 ประกาศกระทรวงศึกษาฯ เรื่ องมาตรฐานสถาบันอุดมศึกษา
พ.ศ. 2554
 กฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกัน
คุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2553
มำตรำ ๔๗ ของพรบ.ฯ
ให้มีระบบการประกันคุณภาพการศึกษาเพื่อพัฒนา
คุณภาพและ มาตรฐานการศึกษาทุกระดับ
ประกอบด้วย ระบบการประกันคุณภาพภายใน และ
ระบบการประกันคุณภาพภายนอก
ระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา
ให้เป็ นไปตามที่กาหนดในกฎกระทรวง
มำตรำ ๔๘ ของพรบ.ฯ
ให้หน่วยงานต้นสังกัดและสถานศึกษาจัดให้มีระบบการ
ประกัน คุ ณ ภาพภายในสถานศึ ก ษาและให้ ถื อ ว่ า การ
ประกันคุ ณภาพภายในเป็ นส่ วนหนึ่ งของกระบวนการ
บริ หารการศึกษาที่ตอ้ งดาเนิ นการอย่างต่อเนื่ อง โดยมี
การจัดทารายงานประจาปี เสนอต่อหน่ วยงานต้นสังกัด
หน่ วยงานที่ เกี่ ยวข้อง และเปิ ดเผยต่อสาธารณชน เพื่อ
นาไปสู่ การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา และ
เพื่อรองรับการประกันคุณภาพภายนอก
มำตรำ ๔๙ ของ พรบ.ฯ
ให้มี สานักงานรั บรองมาตรฐานและประเมิ นคุ ณภาพ
การศึกษา มีฐานะเป็ นองค์การมหาชน ทาหน้าที่พฒั นา
เกณฑ์ วิ ธี ก ารประเมิ น คุ ณ ภาพภายนอก และท าการ
ประเมิ น ผลการจัด การศึ ก ษาเพื่ อ ให้ มี ก ารตรวจสอบ
คุ ณ ภาพของสถาบัน โดยค านึ ง ถึ ง ความมุ่ ง หมายและ
หลักการ และแนวทางการจัดการศึ กษาในแต่ละระดับ
ตามที่กาหนดไว้ในพระราชบัญญัติน้ ี
กำรประกันคุณภำพอุดมศึกษำตำม พรบ.
รัฐบำล (ครม.)
• กำหนดยุทธศำสตร์ และมำตรฐำนชำติ
• ติดตำมกำรปฏิบัต/ิ จัดสรรงบประมำณ
กระทรวงศึกษำธิกำร
สกศ.
ต้ นสั งกัด
สมศ.
ก.พ.ร
กกอ/สกอ.
สถำบันอุดมศึกษำ
รับผิดชอบจัดกำรศึกษำให้ มคี ุณภำพ โดยจัดให้ มกี ำรประกันคุณภำพภำยในเป็ นส่ วนหนึ่งของกำร
ปฏิบตั ิงำนประจำตำมปกติ (IQA)
กำรประกันคุณภำพอุดมศึกษำตำม พรบ.
รัฐบำล (ครม.)
• กำหนดยุทธศำสตร์ และมำตรฐำนชำติ
• ติดตำมกำรปฏิบัต/ิ จัดสรรงบประมำณ
กระทรวงศึกษำธิกำร
สกศ.
ต้ นสั งกัด
สมศ.
ก.พ.ร
กกอ./สกอ.
ส่ งเสริม/สนับสนุนกำรอุดมศึกษำ
เสนอ/กำหนดมำตรฐำน และเกณฑ์
กำรปฏิบัติ
ร่ วมจัดระบบประกันคุณภำพภำยใน
(IQA)รองรับกำรประเมินภำยนอก
(EQA)
รับข้ อเสนอจำก สมศ. เพือ่ ปรับปรุง
สถำนศึกษำ
สถำบันอุดมศึกษำ
รับผิดชอบจัดกำรศึกษำให้ มคี ุณภำพ โดยจัดให้ มกี ำรประกันคุณภำพภำยในเป็ นส่ วนหนึ่ง ของกำร
ปฏิบตั ิงำนประจำตำมปกติ (IQA)
กำรประกันคุณภำพอุดมศึกษำตำม พรบ.
รัฐบำล (ครม.)
• กำหนดยุทธศำสตร์ และมำตรฐำนชำติ
• ติดตำมกำรปฏิบัต/ิ จัดสรรงบประมำณ
สมศ.
ต้ นสั งกัด
ประเมินผลกำรจัดกำรศึกษำของ
มหำฯ (EQA)
รับรองมำตรฐำนคุณภำพและ
เสนอแนะกำรปรับปรุงสถำนศึกษำ
ต่ อต้ นสั งกัด
รำยงำนกำรประเมินต่ อรัฐบำล
หน่ วยงำน ทีเ่ กีย่ วข้ อง และ
สำธำรณชน
กระทรวงศึกษำธิกำร
สกศ.
ก.พ.ร
กกอ/สกอ.
สถำบันอุดมศึกษำ
รับผิดชอบจัดกำรศึกษำให้ มคี ุณภำพ โดยจัดให้ มกี ำรประกันคุณภำพภำยในเป็ นส่ วนหนึ่งของกำร
ปฏิบตั ิงำนประจำตำมปกติ (IQA)
กำรประกันคุณภำพอุดมศึกษำตำม พรบ.
รัฐบำล (ครม.)
• กำหนดยุทธศำสตร์ และมำตรฐำนชำติ
• ติดตำมกำรปฏิบัต/ิ จัดสรรงบประมำณ
ก.พ.ร
ต้ นสั งกัด
สมศ.
• จัดทำคำรับรองกำรปฏิบัตริ ำชกำร
• ติดตำมประเมินผลด้ ำน
ประสิ ทธิผล คุณภำพกำรให้ บริกำร
ประสิ ทธิภำพ และกำรพัฒนำ
องค์ กร
• เสนอผลกำรประเมิน และสิ่ งจูงใจ
ต่ อ ครม.
กระทรวงศึกษำธิกำร
สกศ.
กกอ/สกอ.
สถำบันอุดมศึกษำ
รับผิดชอบจัดกำรศึกษำให้ มคี ุณภำพ โดยจัดให้ มกี ำรประกันคุณภำพภำยในเป็ นส่ วนหนึ่งของกำร
ปฏิบตั ิงำนประจำตำมปกติ (IQA)
กฎกระทรวงวาด
่ วยระบบ
้
หลักเกณฑ ์ และวิธก
ี ารประกัน
คุณภาพการศึ กษา พ.ศ.
๒๕๕๓
ควำมหมำย
“การประเมินคุณภาพภายใน” หมายความว่า การประเมินคุณภาพการจัด
การศึกษาการติดตาม และการตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา
ของสถานศึกษาที่กระทรวงศึกษาธิการประกาศกาหนดสาหรับการ
ประกันคุณภาพภายใน ซึ่งกระทาโดยบุคลากรของสถานศึกษานั้นหรื อ
โดยหน่วยงานต้นสังกัดที่มีหน้าที่กากับดูแลสถานศึกษา
“การประเมินคุณภาพภายนอก” หมายความว่า การประเมินคุณภาพการ
จัดการศึกษาการติดตาม และการตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐาน
การศึกษาของสถานศึกษา ซึ่งกระทาโดยสานักงานรับรองมาตรฐานและ
ประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรื อผูป้ ระเมินภายนอก
ควำมหมำย(ต่ อ)
“การติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา” หมายความว่า กระบวนการ
ติดตามตรวจสอบ ความก้าวหน้าของการปฏิบตั ิตามแผนการพัฒนา
คุณภาพการศึกษา และจัดทารายงานการติดตาม ตรวจสอบคุณภาพ
การศึกษา พร้อมทั้งเสนอแนะมาตรการเร่ งรัดการพัฒนาคุณภาพการศึกษา
“การพัฒนาคุณภาพการศึกษา” หมายความว่า กระบวนการพัฒนาการศึกษา
เข้าสู่คุณภาพที่สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของชาติ โดยมีการกาหนด
มาตรฐานการศึกษา การจัดระบบและโครงสร้าง การวางแผน และการ
ดาเนินงานตามแผน รวมทั้งการสร้างจิตสานึกให้เห็นว่าการพัฒนาคุณภาพ
การศึกษาจะต้องดาเนินการอย่างต่อเนื่องและเป็ นความรับผิดชอบร่ วมกัน
ของทุกคน
หมวด ๑ บททั่วไป
ข้อ ๓ ระบบกำรประกันคุณภำพภำยในเพื่อการพัฒนา
คุณภาพการศึกษาและพัฒนามาตรฐานการศึกษาทุกระดับ
ต้องประกอบด้วย
(๑) การประเมินคุณภาพภายใน
(๒) การติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
(๓) การพัฒนาคุณภาพการศึกษา
หมวด ๑ บททั่วไป(ต่ อ)
ข้อ ๔ ระบบกำรประกันคุณภำพภำยนอกเพื่อ
รับรองมาตรฐานและมุ่งพัฒนาคุณภาพการศึกษา
ทุกระดับ ต้องประกอบด้วย
(๑) การประเมินคุณภาพภายนอก
(๒) การติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
หมวด ๑ บททั่วไป(ต่ อ)
ข้อ ๕ ให้สถานศึกษาดาเนินการประกันคุณภาพภายในอย่างต่อเนื่อง
เป็ นประจาทุกปี โดยเน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสาคัญ ทั้งนีด้ ้ วยกำรสนับสนุน
จำกหน่ วยงำนต้ นสั งกัดและการมีส่วนร่ วมของชุมชน
ข้อ ๖ ให้สถานศึกษาจัดทารายงานประจาปี ที่เป็ นรายงานประเมิน
คุณภาพภายในเสนอต่อคณะกรรมการสถานศึกษา หน่วยงานต้นสังกัด
และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อพิจารณา และเปิ ดเผยรายงานนั้นต่อ
สาธารณชน
ข้อ ๗ สถานศึกษาต้องนาผลการประเมินคุณภาพทั้งภายในและภายนอก
ไปประกอบการจัดทาแผนการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา
ภายใน
ส
วนที
่
3
การอุ
ด
มศึ
ก
ษา
่
32 ใหมี “คณะกรรมการประกันคุณภาพภายใน
ข้ อ
้
ระดับอุดมศึ กษา (คปภ.)”
มีอานาจหน้าทีด
่ งั นี้
(1) วางระเบียบหรือออกประกาศกาหนดหลักเกณฑ ์
และแนวปฏิบต
ั เิ กีย
่ วกับการ
ประกันคุณภาพภายในระดับอุดมศึ กษา
เพือ
่ ส่งเสริม สนับสนุ น และพัฒนา
การประกันคุณภาพภายในระดับอุดมศึ กษา
โดยความเห็ นชอบของ กกอ
(2) เสนอแนะแนวทางปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพ
การศึ กษาแกสถานศึ
กษา
่
โดยนาผลการประเมินคุณภาพทัง้ ภายในและ
ข้อ ๓๕ วิธีการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาระดับอุดมศึกษา
ให้ใช้แนวปฏิบตั ิดงั ต่อไปนี้
(๑) ให้คณะวิชาและสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาจัดให้มีหน่วยงาน
หรื อคณะกรรมการที่รับผิดชอบการดาเนินการด้านการประกัน
คุณภาพการศึกษาขึ้น โดยมีหน้าที่พฒั นา บริ หารและติดตามการ
ดาเนินการประกันคุณภาพภายใน ตลอดจนประสานกับหน่วยงาน
ภายนอก เพื่อให้เกิดความมัน่ ใจว่าการจัดการศึกษาจะเป็ นไปอย่างมี
ประสิ ทธิภาพ
(๒) ให้คณะวิชาและสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาพัฒนาระบบการ
ประกันคุณภาพภายในเพื่อใช้กากับ ติดตาม ตรวจสอบและประเมิน
คุณภาพการศึกษาให้มีประสิ ทธิภาพภายใต้กรอบนโยบายและหลักการ
ที่สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษากาหนด
(๓) ให้คณะวิชาและสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาดาเนินการตามระบบ
การประกันคุณภาพภายใน โดยถือเป็ นส่ วนหนึ่งของกระบวนการ
บริ หารการศึกษา
(๔) ให้คณะวิชาและสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาจัดให้มีระบบและ
กลไกควบคุมคุณภาพขององค์ประกอบต่าง ๆ ที่ใช้ในการผลิตบัณฑิต
ดังต่อไปนี้
(ก) หลักสูตรการศึกษาในสาขาวิชาต่าง ๆ
(ข) คณาจารย์และระบบการพัฒนาคณาจารย์
(ค) สื่ อการศึกษาและเทคนิคการสอน
(ง) ห้องสมุดและแหล่งการเรี ยนรู ้อื่น
(จ) อุปกรณ์การศึกษา
(ฉ) สภาพแวดล้อมในการเรี ยนรู ้และบริ การการศึกษา
(ช) การวัดผลการศึกษาและสัมฤทธิผลทางการเรี ยนของนักศึกษา
(ซ) องค์ประกอบอื่นตามที่แต่ละสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาเห็นสมควร
ให้แต่ละคณะวิชาและสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาจัดให้มีระบบการ
ติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษาตามที่เห็นสมควร โดยให้
สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาส่ งเสริ มและสนับสนุนให้มี
การพัฒนาด้านการประกันคุณภาพการศึกษาในระดับคณะวิชาของ
สถานศึกษาระดับอุดมศึกษาอย่างต่อเนื่อง
หลักเกณฑ/แนวปฏิ
บต
ั ก
ิ าร
์
ประกันคุณภาพภายใน
คปภ. : กาหนดกรอบนโยบาย หลักเกณฑ ์
และแนวปฏิบต
ั ใิ น
ประกันคุณภาพภายใน
ภายใต้ 9 องคประกอบคุ
ณภาพ
์
ประกอบดวย
้
1) พัฒนาตัวบงชี
้ ละเกณฑการประเมิ
นในแต่
่ แ
์
ละองคประกอบ
เพือ
่ ให้สถาบันอุดมศึ กษา
์
สามารถประเมินตนเองในทุกมิตข
ิ อง
การบริหารการศึ กษา
2) กาหนดแนวทางการจัดกระบวนการ
หลักการในการพัฒนาตัวบงชี
่ ้
ประกันคุณภาพภายใน


ตัวบงชี
้ รอบคลุม 9 องคประกอบคุ
ณภาพ
่ ค
์
และเป็ นไปตามกฎกระทรวงวาด
่ วยระบบ
้
หลักเกณฑ ์ และวิธก
ี ารประกันคุณภาพ
การศึ กษา พ.ศ.2553
ตัวบงชี
้ อบสนองเจตนารมณแห
่ ต
์ ง่
พระราชบัญญัตก
ิ ารศึ กษาแหงชาติ
่
พ.ศ.2542 แกไขเพิ
ม
่ เติม (ฉบับที่ 2)
้
พ.ศ.2545 มาตรฐานการศึ กษา
ของชาติ
มาตรฐานการอุดมศึ กษา
มาตรฐานสถาบันอุดมศึ กษา
กรอบ
มาตรฐานคุณวุฒริ ะดับอุดมศึ กษาแหงชาติ
่
และมาตรฐานตาง
ๆ ทีเ่ กีย
่ วของ
่
้
หลักการในการพัฒนาตัวบงชี
่ ้
ประกันคุณภาพภายใน
 ตัวบงชี
้ ค
ี วามสมดุลระหวางมุ
มมองการ
่ ม
่
บริหารจัดการทัง้
4 ดาน
คือ ดานนั
กศึ กษาและผูมี
้
้
้ ส่วน
ไดส
ดาน
้ ่ วนเสี ย
้
กระบวนการภายใน
ดานการเงิ
น
้
และดานบุ
คลากร การ
้
เรียนรูและนวั
ตกรรม
้
 จานวนตัวบงชี
้ พ
ี่ ฒ
ั นาขึน
้ เป็ นเพียง
่ ท
จานวนตัวบงชี
้ น
้ั ตา่ สถาบันอุดมศึ กษา
่ ข
สาระสาคัญทีพ
่ งึ
ตระหนัก
การประกันคุณภาพการศึ กษาภายใน
ระดับอุดมศึ กษา
สถาบันอุดมศึ กษาตองด
าเนินการให้
้
ครอบคลุมทัง้ ปัจจัย
นาเขา้ กระบวนการ และผลผลิต/
ผลลัพธ ์
ซึง่ ตัวบงชี
้ าน
่ ด
้
ปัจจัยนาเขา้ กระบวนการเป็ นตัวบงชี
้ ี่
่ ท
สกอ. พัฒนาขึน
้ มา
อำนำจหน้ ำที่ของสภำมหำวิทยำลัย/สถำบัน
่ างนโยบายและ
 มีอานาจหน้าทีว
ควบคุมดูแลกิจการทัว่ ไปของ
สถาบันอุดมศึ กษา และมีอานาจ
หน้าทีโ่ ดยเฉพาะตามทีบ
่ ญ
ั ญัตไิ ว้
ในพระราชบัญญัตจ
ิ ด
ั ตัง้
มหาวิทยาลัยแตละแห
ง่
่
อานาจ หน้าที่ และการดาเนินงานตาม
ระเบียบ
ประกาศกระทรวงศึ กษาธิการ ประกาศ
คณะกรรมการการอุดมศึ กษา การประกัน
คุณภาพการศึ กษาและการประเมินผลการ
ปฏิบต
ั ริ าชการ (ก.พ.ร.)
กำหนดระบบและกลไก กำรจัดทำรำยละเอียดของหลักสูตร
 อนุมตั ิหลักสูตรและกำรปรับปรุ งหลักสูตร รวมทังกำรจั
้
ดกำรศึกษำ
นอกสถำนที่ตงั ้
 รับทรำบรำยงำนผลกำรจัดกำรศึกษำทุกปี กำรศึกษำ
 รับทรำบผลกำรดำเนินกำรประกันคุณภำพหลักสูตรและกำรจัดกำร
เรี ยนกำรสอน
(ประกาศกระทรวงศึกษาธิ การฯ เกี ย่ วกับมาตรฐานการอุดมศึกษาและ
เกณฑ์ มาตรฐานหลักสูตรระดับต่างๆ )

(ก.พ.ร.) อานาจ หน้าที่ และการ
ดาเนินงานตามระเบียบ ประกาศ
กระทรวงศึ กษาธิการ ประกาศ
คณะกรรมการการอุดมศึ กษา
กฎกระทรวงวาด
หลักเกณฑ ์
่ วยระบบ
้
และวิ
ธ
ก
ี
ารประกั
น
คุ
ณ
ภาพการศึ
ก
ษาฯ
 กาหนดยุทธศาสตร นโยบายประเมินผูบริหาร
้
์
ติดตามผลการดาเนินงานของมหาวิทยาลัย
(IQA สกอ.7.1)
 พิจารณา รายงานผลการดาเนินตามตัวบงชี
่ ้
การดาเนินงาน
(IQA สกอ.1.1)
 รับทราบและให้ขอเสนอแนะเกี
ย
่ วกับรายงานทาง
้
การเงิน
(IQA สกอ.8.1)
 รับทราบและพิจารณารายงานประจาปีทีเ่ ป็ น
รายงานประเมินคุณภาพภายใน ซึง่ มีการนาผล
การประเมินคุณภาพไปทาแผนพัฒนาคุณภาพ
(ก.พ.ร.) อานาจ หน้าที่ และการ
ดาเนินงานตามระเบียบ ประกาศ
กระทรวงศึ กษาธิการ ประกาศ
คณะกรรมการการอุดมศึ กษา
กฎกระทรวงวาด
หลักเกณฑ ์
่ วยระบบ
้
และวิธก
ี ารประกันคุณภาพการศึ กษาฯ


การประเมินผลความสาเร็จในการปฏิบต
ั ต
ิ าม
บทบาทหน้าทีข
่ องสภาสถาบัน
โดยมุงเน
่ ้น
ประเมินคุณภาพในการกาหนดทิศทาง กากับ
ดูแล ขับเคลือ
่ นการดาเนินงานของสถานศึ กษา
ระดับอุดมศึ กษา
(EQA สมศ.12)
การประเมินผลตามบทบาทและหน้าทีข
่ อง
ผูบริ
มุงเน
้ หาร
่ ้ นการประเมินคุณภาพของการ
บริหารงานตามนโยบายของสภาสถาบัน (EQA
การใช้ประโยชนของสภา
์
สภาสถาบัน จะใช้ประโยชนจาก
์
การประกันคุณภาพการศึ กษาในการ
พัฒนาคุณภาพของสถาบัน ดังนี้
1. นาผลการประเมินและ
ข้อเสนอแนะไปใช้ในการปรับปรุงและ
พัฒนาการจัดการศึ กษาในแตละปี
่
การศึ กษา โดยจัดทาเป็ นแผนพัฒนา
คุณภาพ
2. ใชในการกาหนดทิศทางกากับ
ตัวบ่ งชี้ที่พฒ
ั นำโดย สกอ. และ สมศ.
ที่ใช้ เป็ นตัวบ่ งชี้
สำหรับกำรประกันคุณภำพภำยใน
องค์ ประกอบและตัวบ่ งชี้กำรประเมินคุณภำพภำยใน ระดับสถำบัน
จำแนกตำมกลุ่มสถำบันอุดมศึกษำ (ข, ค(1), ค(2), ง,)
ที่
ตัวบ่ งชี ้
ข
ค ค
(1) (2)
ง
องค์ ประกอบที่ 1 ปรัชญำ ปณิธำน วัตถุประสงค์ และแผนดำเนินกำร
1.1 กระบวนการพัฒนาแผน
/
/
/
/
2.1 ระบบและกลไกการพัฒนาและบริ หารหลักสู ตร
//
//
//
//
2.2 อาจารย์ประจาที่มีคุณวุฒิปริ ญญาเอก
//
//
//
//
2.3 อาจารย์ประจาที่ดารงตาแหน่งทางวิชาการ
//
//
//
//
2.4 ระบบการพัฒนาคณาจารย์และบุคลากรสนับสนุน
/
/
/
/
องค์ ประกอบที่ 2 กำรผลิตบัณฑิต
/ =ตัวบ่งชี้ร่วมและเกณฑ์ร่วมกันทุกกลุ่มสถาบัน
//= ตัวบ่งชี้ร่วมแต่มีเกณฑ์เพิ่มเติมหรื อแตกต่างเฉพาะกลุ่มสถาบัน
องค์ ประกอบและตัวบ่ งชี้กำรประเมินคุณภำพภำยใน ระดับสถำบัน
จำแนกตำมกลุ่มสถำบันอุดมศึกษำ (ข, ค(1), ค(2), ง,)
ที่
2.5
2.6
2.7
2.8
๑
๒
๓
๔
๑๔
ตัวบ่ งชี ้
ค ค
ข
(1) (2)
องค์ ประกอบที่ 2(ต่ อ) กำรผลิตบัณฑิต
ห้องสมุด อุปกรณ์การศึกษา และสภาพแวดล้อมการเรี ยนรู้
/ /
ระบบและกลไกการจัดการเรี ยนการสอน
/ /
ระบบและกลไกพัฒนาสัมฤทธิผลการเรี ยนตามคุณลักษณะของบัณฑิต
// //
ระดับความสาเร็จของการเสริ มสร้างคุณธรรมจริ ยธรรมที่จดั ให้กบั นศ.
/ /
บัณฑิต ป.ตรี ที่ได้งานทาหรื อประกอบอาชีพอิสระภายใน ๑ ปี
/ /
คุณภาพของบัณฑิต (ตรี โท เอก) ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิฯ(TQF)
/ /
ผลงานของผูส้ าเร็จการศึกษาปริ ญญาโทที่ได้รับการตีพิมพ์หรื อเผยแพร่
/ /
ผลงานของผูส้ าเร็จการศึกษาปริ ญญาเอกที่ได้รับการตีพิมพ์หรื อเผยแพร่
/ /
การพัฒนาคณาจารย์
/ /
/ =ตัวบ่งชี้ร่วมและเกณฑ์ร่วมกันทุกกลุ่มสถาบัน
// =ตัวบ่งชี้ร่วมแต่มีเกณฑ์เพิ่มเติมหรื อแตกต่างเฉพาะกลุ่มสถาบันนั้น
/
/
//
/
/
/
/
/
/
ง
/
/
//
/
/
/
/
/
/
องค์ ประกอบและตัวบ่ งชี้กำรประเมินคุณภำพภำยใน ระดับสถำบัน
จำแนกตำมกลุ่มสถำบันอุดมศึกษำ
ที่
ตัวบ่ งชี ้
ข
ค ค
(1) (2)
ง
องค์ ประกอบที่ 3 กิจกรรมกำรพัฒนำนักศึกษำ
3.1 ระบบและกลไกการให้คาปรึ กษาและบริ การด้านข้อมูลข่าวสาร
/
/
/
/
3.2 ระบบและกลไกการส่ งเสริ มกิจกรรมนักศึกษา
องค์ ประกอบที่ 4 กำรวิจัย
4.1 ระบบและกลไกการพัฒนางานวิจยั หรื องานสร้างสรรค์
/
/
/
/
//
//
//
//
4.2 ระบบและกลไกจัดการความรู้จากงานวิจยั หรื องานสร้างสรรค์
//
//
//
//
4.3 เงินสนับสนุนงานวิจยั และงานสร้างสรรค์ต่อจานวนอาจารย์ประจาและ
//* //* //* //*
นักวิจยั
/ =ตัวบ่งชี้ร่วมและเกณฑ์ร่วมกันทุกกลุ่มสถาบัน
// =ตัวบ่งชี้ร่วมแต่มีเกณฑ์เพิม่ เติมหรื อแตกต่างเฉพาะกลุ่มสถาบันนั้น * =แยกตามกลุ่มสาขาวิชา
องค์ ประกอบและตัวบ่ งชี้กำรประเมินคุณภำพภำยใน ระดับสถำบัน
จำแนกตำมกลุ่มสถำบันอุดมศึกษำ
ที่
๕
๖
๗
5.1
5.2
๘
ตัวบ่ งชี ้
องค์ ประกอบที่ 4 กำรวิจัย(ต่ อ)
งานวิจยั หรื องานสร้างสรรค์ที่ได้รับการตีพิมพ์หรื อเผยแพร่
งานวิจยั หรื องานสร้างสรรค์ ที่นามาใช้ประโยชน์
ผลงานวิชาการที่ได้รับการรับรองคุณภาพ
องค์ ประกอบที่ 5 กำรบริกำรวิชำกำรแก่ สังคม
ระบบและกลไกการบริ การทางวิชาการแก่สงั คม
กระบวนการบริ การวิชาการให้เกิดประโยชน์ต่อสังคม
ผลการนาความรู้และประสบการณ์จากการให้บริ การวิชาการมาใช้ในการ
พัฒนาการเรี ยนการสอนหรื อการวิจยั
/= ตัวบ่งชี้ร่วมและเกณฑ์ร่วมกันทุกกลุ่มสถาบัน
* =แยกตามกลุ่มสาขาวิชา
ข
ค ค
ง
(1) (2)
/*
/
/
/* /* /*
/ / /
/ / /
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
องค์ ประกอบและตัวบ่ งชี้กำรประเมินคุณภำพภำยใน ระดับสถำบัน
จำแนกตำมกลุ่มสถำบันอุดมศึกษำ
ที่
ตัวบ่ งชี ้
ข
ค ค
ง
(1) (2)
องค์ ประกอบที่ 5 กำรบริกำรทำงวิชำกำรแก่ สังคม(ต่ อ)
๙ ผลการเรี ยนรู้และเสริ มสร้างความเข้มแข็งของชุมชนหรื อองค์กรภายนอก
/
/
/
/
6.1 ระบบและกลไกการทานุบารุ งศิลปะและวัฒนธรรม
/
/
/
/
๑๐ การส่ งเสริ มและสนับสนุนด้านศิลปะและวัฒนธรรม
/
/
/
/
๑๑ การพัฒนาสุ นทรี ยภาพในมิติทางศิลปะและวัฒนธรรม
/
/
/
/
องค์ ประกอบที่ 6 กำรทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม
/= ตัวบ่งชี้ร่วมและเกณฑ์ร่วมกันทุกกลุ่มสถาบัน
องค์ ประกอบและตัวบ่ งชี้กำรประเมินคุณภำพภำยใน ระดับสถำบัน
จำแนกตำมกลุ่มสถำบันอุดมศึกษำ
ที่
7.1
7.2
7.3
7.4
๑๒
๑๓
8.1
ตัวบ่ งชี ้
องค์ ประกอบที่ 7 กำรบริหำรและกำรจัดกำร
ภาวะผูน้ าของสภาสถาบันและผูบ้ ริ หารทุกระดับของสถาบัน
การพัฒนาสถาบันสู่สถาบันเรี ยนรู้
ระบบสารสนเทศเพื่อการบริ หารและการตัดสิ นใจ
ระบบบริ หารความเสี่ ยง
การปฏิบตั ิตามบทบาทหน้าที่ของสภาสถาบัน
การปฏิบตั ิตามบทบาทหน้าที่ของผูบ้ ริ หารสถาบัน
องค์ ประกอบที่ 8 กำรเงินและงบประมำณ
ระบบและกลไกการเงินและงบประมาณ
/ =ตัวบ่งชี้ร่วมและเกณฑ์ร่วมกันทุกกลุ่มสถาบัน
ข
ค ค
(1) (2)
ง
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
องค์ ประกอบและตัวบ่ งชี้กำรประเมินคุณภำพภำยใน ระดับสถำบัน
จำแนกตำมกลุ่มสถำบันอุดมศึกษำ
ที่
9.1
ตัวบ่ งชี ้
องค์ ประกอบที่ 9 ระบบและกลไกกำรประกันคุณภำพ
ระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน
/ =ตัวบ่งชี้ร่วมและเกณฑ์ร่วมกันทุกกลุ่มสถาบัน
ข
/
ค ค
(1) (2)
/
/
ง
/
รวมจำนวนตัวบ่ งชีป้ ระกันคุณภำพ แบ่ งตำมองค์ ประกอบคุณภำพ 9 ด้ ำน
องค์ ประกอบคุณภำพ
Input
Indicators
Process Indicators
Output
/Outcome Indicators
รวม
-
สกอ 1
-
1
สกอ 3
สกอ 4
สกอ 1+ สมศ 5
13
-
สกอ 2
-
2
สกอ 1
สกอ 2
สมศ 3
6
5. กำรบริกำรทำงวิชำกำรแก่สังคม
-
สกอ 2
สมศ 2
4
6. กำรทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม
-
สกอ 1
สมศ 2
3
7. กำรบริหำรและกำรจัดกำร
-
สกอ 4
สมศ 2
6
8. กำรเงินและงบประมำณ
-
สกอ 1
-
1
9. ระบบและกลไกกำรประกันคุณภำพ
-
สกอ 1
-
1
รวมจำนวนตัวบ่งชี้
4
สกอ 18
สกอ 1+ สมศ 14
37
1. ปรัชญำ ปณิธำน วัตถุประสงค์ และแผน
2. กำรผลิตบัณฑิต
3. กิจกรรมกำรพัฒนำนิสิตนักศึกษำ
4. กำรวิจยั
กำรประเมิน: ภำควิชำ/สำขำวิชำ คณะ สถำบัน
การประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับสถาบัน
แต่ละ
สถาบันอุดมศึกษาจะต้องใช้ตวั บ่งชี้คุณภาพของ สกอ. และ สมศ.
ที่กาหนดทุกตัวในการประเมินคุณภาพแต่ละปี การศึกษา
การประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับภาควิชา/สาขาวิชา
คณะวิชาและหน่วยงานที่มีการเรี ยนการสอนให้สถาบันพิจารณา
ตัวบ่งชี้ของ สกอ. และ สมศ. ที่จะนาไปใช้ให้สอดคล้องกับบริ บท
โครงสร้าง และระบบการบริ หาร และปรับข้อความในตัวบ่งชี้
และเกณฑ์มาตรฐานให้สอดคล้องกับระดับของหน่วยงานที่รับ
การประเมิน
หมวด๒ การประกันคุณภาพ
ภายใน
ส่วนที่ ๓ การอุดมศึ กษา
ขอ
้ ๓๖ ให้หน่วยงานตนสั
้ งกัดของ
สถานศึ กษาระดับอุดมศึ กษาจัดให้มีการ
ติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึ กษานั้น
อยางน
่
้ อยหนึ่งครัง้ ในทุกสามปี และแจ้ง
ผลให้สถานศึ กษาระดับอุดมศึ กษาทราบ
รวมทัง้ เปิ ดเผยผลการติดตามตรวจสอบ
คุณภาพการศึ กษาตอสาธารณชน
่
การติดตามตรวจสอบ
คุณภาพการศึ กษา
วัตถุประสงคในการติ
ดตามตรวจสอบ
์
คุณภาพการศึ กษา
1. เพือ
่ ติดตามผลการดาเนินงานของ
สถาบันฯตามมาตรฐาน
การศึ กษาที่
เกีย
่ วของ
้
2. เพือ
่ ติดตามความกาวหน
ั ิ
้
้ าของการปฏิบต
ตามแผนการพัฒนา
คุณภาพการศึ กษาของ
สถาบันฯ
3. เพือ
่ ให้ขอเสนอแนะในการเร
งรั
้
่ ดพัฒนา
แนวทางการติดตามตรวจสอบ
คุณภาพการศึ กษา
การติดตามตรวจสอบ 2
แนวทาง
ติดตามตรวจสอบ On line สาหรับ
สถาบันทีผ
่ ลการประเมินประจาปี ของ
สถาบัน ผ่าน เกณฑที
่ าหนด
์ ก
 ติดตามตรวจสอบโดยเข้าตรวจ
เยีย
่ มในพืน
้ ที่ สาหรับสถาบันทีผ
่ ล
การประเมินประจาปี ของสถาบันไม

แนวทางการติดตามตรวจสอบ
คุณภาพการศึ กษา
เกณฑพิ
์ จารณาในการเลือกแนวทาง
ติดตามตรวจสอบ
1. หากผลการประเมินคุณภาพภายใน
ขององคประกอบที
่ 2
์
และองคประกอบที
่ 4 อยูในเกณฑ
ระดั
่
์
์ บ
ดีขน
ึ้ ไป สกอ. จะ
ติดตามตรวจสอบขอมู
้ ลคุณภาพของ
สถาบันจากระบบ CHE
QA Online
ติดตามตรวจสอบฯ
คัดเลือกสถาบันและคณะวิชาเพือ
่
เขารั
้ บการติดตามตรวจสอบ
คุณภาพการศึ กษา
2. แตงตั
่ ง้ คณะกรรมการติดตาม
ตรวจสอบฯ
3. ดาเนินการตรวจเยีย
่ มคณะวิชาและ
สถาบันโดยคณะกรรมการฯ(ใช้
ระบบ CHE-QA Online ตามปกติ
โดยคณะ/สถาบันใช้การประเมินนี้
1.
การส่ งเสริม สู่ ความ
เป็ นเลิศ
การส่งเสริมตามระบบ EdPEx
หากผลการประเมินคุณภาพ
ภายในประจาปี หรือผลการ
ประเมินฯภายนอกโดย สมศ. ได้
ระดับดีมาก
จะมีทางเลือกให้
สถาบัน/คณะวิชา นาระบบ
EdPEx ไปใช้ในการพัฒนา
หมวด๒ การประกันคุณภาพ
ภายใน
ส่วนที่ ๓ การอุดมศึ กษา
ขอ
ี่ ลการประเมิน
้ ๔๐ ในกรณีทผ
คุณภาพภายนอกแสดงวา่
ผลการจัดการศึ กษาของสถานศึ กษาไดไม
้ ่
ผานเกณฑ
มาตรฐาน
่
์
ให้สานักงานแจ้งเป็ นหนังสื อพรอมแสดง
้
เหตุผลทีไ่ มผ
่ านเกณฑ
่
์
มาตรฐานแกหน
่ ่ วยงานตนสั
้ งกัดและ
สถานศึ กษานั้น และให้
สถานศึ กษานั้นปรับปรุงแกไขโดยจัดทา
กรณีสถานศึ กษาทีไ่ มได
่ รั
้ บการ
รับรองมาตรฐาน
แนวทางการดาเนินการ
สถานศึ กษาจะตองปรั
บปรุงแกไขและจั
ดทา
้
้
แผนพัฒนาคุณภาพส่ง
ให้สกอ. ในฐานะตนสั
าเนา
้ งกัด (พรอมส
้
แจ้งไปยังสมศ.) พิจารณา
อนุ มต
ั ภ
ิ ายใน 30 วัน นับตัง้ แตวั
่ นที่
ไดรั
และตนสั
้ บแจ้งผล
้ งกัด
(สกอ.) สามารถทักทวงได
ภายใน
30
้
้
วัน หากไมมี
่ ขอทั
้ กทวง
้
กรณีสถานศึ กษาทีไ่ มได
้ บการ
่ รั
รับรองมาตรฐาน
จะดาเนินการประเมินซา้ ใน 2 แนวทาง
1. กรณีไมผ
มาตรฐานในตั
วบงชี
่ านเกณฑ
่
่ ้
์
หรือประเด็นการพิจารณาเชิงปริมาณ
สถานศึ กษาจัดส่งเอกสาร
หลักฐานทีผ
่ านการรั
บรองโดย
่
หน่วยงานตนสั
่
้ งกัดมายังสมศ. เพือ
พิจารณาปรับผลการประเมิน
โดยไมต
น
้ ทีเ่ พือ
่ เก็บขอมู
่ องลงพื
้
้ ลก็ได้
กรณีสถานศึ กษาทีไ่ มได
่ รั
้ บการ
รับรองมาตรฐาน
จะดาเนินการประเมินซา้ ใน 2 แนวทาง
2. กรณีไมผ
มาตรฐานในตั
วบงชี
่ านเกณฑ
่
่ ้
์
หรือประเด็นการ
พิจารณาเชิงคุณภาพ
สมศ. จะลงพืน
้ ทีเ่ พือ
่ เก็บขอมู
้ ล
เพือ
่ ตรวจสอบกอนการ
่
พิจารณาปรับผลการประเมิน
ทัง้ นี้
การปรับเปลีย
่ นผลการ
ประเมินจะตองเป็ นไปตามขัน
้ ตอน
กรณีสถานศึ กษาทีไ่ มได
่ รั
้ บการ
รับรองมาตรฐาน
แนวทางการดาเนินงาน ของ สกอ.และ
คปภ.
1. เรงรั
่ ดสถานศึ กษา คณะวิชา จัดทา
แผนพัฒนาคุณภาพ นาเสนอตอสภา
่
มหาวิทยาลัยเพือ
่ พิจารณาอนุ มต
ั ิ และ
จัดส่งให้ สกอ.พิจารณาทักทวง
(พรอม
้
้
สาเนาแจ้ง สมศ.)
2. ดาเนินการติดตามตรวจสอบคุณภาพฯ
และความกาวหน
ั ต
ิ าม
้
้ าของการปฏิบต
กรณีสถานศึ กษาทีไ่ มได
่ รั
้ บการ
รับรองมาตรฐาน
แนวทางการดาเนินงาน ของ สกอ.และ
คปภ.
3. ดาเนินการประเมินคุณภาพภายใน
สถาบันหรือคณะวิชาทีม
่ ี
ผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบ
สาม ไมรั
่ บรองมาตรฐาน หากผลการ
ประเมินคุณภาพภายในในตัวบงชี
่ เ้ ชิง
ปริมาณของ
สมศ. ผานเกณฑ
มาตรฐานมี
คุณภาพ
่
์
กำรนาผลการประเมินไปใช้
พัฒนาคุณภาพ
สกอ.และหน่วยงานทีเ่ กีย
่ วของ
นาผลการ
้
ประเมินคุณภาพภายในไปใช้ :
- ประกอบการจัดสรรกองทุนเงินให้กูยื
้ ม
เพือ
่ การศึ กษา
ซึง่ จะพิจารณาจาก
องคประกอบที
่ 2 (การผลิตบัณฑิต) เป็ นหลัก
์
โดยให้คาน
20
่ ้าหนักรอยละ
้
- ประกอบการประเมินผลการปฏิบต
ั ริ าชการ
ของสานักงาน ก.พ.ร. โดย สานักงาน
ก.พ.ร. นาผลการประกันคุณภาพภายในไป
ประกอบการประเมินผลการปฏิบต
ั ริ าชการ
สถาบันอุดมศึ กษา โดยมีคาน
่ ้าหนักรอยละ
้
กำรรับรู้ (Perception) เกีย่ วกับกำรประกันคุณภำพฯ
กำรรับรู้ทคี ลำดเคลือ่ น
 QA
คือ กำรตรวจสอบและประเมิน
 QA เป็ นหน้ ำที่ของหน่ วยประกันฯ
 Quality ขึน
้ กับอุปกรณ์ /ทรัพยำกร
 ตัวบ่ งชี้(Indicator) กำหนดขึน
้
เพือ่ ให้ ได้ คะแนนสู งสุ ด
 ผู้ประเมิน มีควำมรู้ เกีย
่ วกับตัวบ่ งชี้
อย่ำงดี ก็เพียงพอ
 QA Process มีลก
ั ษณะเป็ น
Fragment
 Final Process คือกำรผ่ ำนเกณฑ์ ฯ
กำรรับรู้ทคี่ วรเป็ น
 QA
คือ กำรพัฒนำ เพือ่ มุ่งสู่ คุณภำพ
 QA เป็ นหน้ ำทีข
่ องทุกคนในสถำบันฯ
 Quality ขึน
้ กับควำมมุ่งมัน่ ของทุกคน
ในกำรร่ วมผลักดันให้ เกิด CQI
 ตัวบ่ งชี้ (Indicator) กำหนดขึน
้ เพือ่
ใช้ วดั ควำมสำเร็จตำมเป้ ำหมำยคุณภำพ
 ผู้ประเมินสำมำรถวิเครำะห์ เชิ งระบบ ถึง
ปัญหำของสถำบันฯและให้ ข้อเสนอแนะ
 QA Process เป็ นลักษณะ Holistic
 Final Process คือ Quality Culture