SIX SIGMA BUSINESS SCORECARD

Download Report

Transcript SIX SIGMA BUSINESS SCORECARD

Six sigma
Six sigma
1.อิมโฮเทพ
เป็ นชาวอียิปต์ได้ รับการยอมรับว่าเป็ นผู้ที่มีความรู้และความเข้ าใจกระบวนการพัฒนา
คุณภาพ และนามาใช้ ตงแต่
ั ้ เมื่อ 2980 ปี ก่อนคริ สตกาล เขาเชื่อว่าคุณภาพมาจากกระบวนการ
ทางาน (Production Process) เขามุ่งเน้ นการปฏิบตั ิตามมาตรฐานในระหว่างการทางานซึง่
ส่งผลให้ การตรวจสอบขันสุ
้ ดท้ ายไม่มีความจาเป็ น การสร้ าง ปิ รามิดเป็ นผลมาจาก การพัฒนา
มาตรฐานการทางานในกระบวนการต่างๆ ( Uniform Method and Procedure )
/2.ชาวจีนโบราณ
การควบคุมคุณภาพของชาวจีนเกิดจากการควบคุมการผลิตงานศิลปหัตถกรรมของผู้มีอานาจใน
ส่วนกลาง ส่งผลให้ เกิดหน่วยวัดที่เป็ นมาตรฐาน (Standardized Unit of Measures)
ซึง่ ส่งผลอย่างใหญ่หลวงต่อเศรษฐกิจระดับชาติของสังคมจีนจนปั จจุบนั
3. ชิวฮาร์ ท (W.A. Schewhart)
ริ เริ่ มใช้ วิธีการทางสถิติในการควบคุมคุณภาพที่เรี ยกว่า การควบคุมภาพเชิงสถิติ
(Statistical Quality Control = SQC) และพัฒนาแผนภูมิการควบคุม Control
Chart และการชักสิ่งตัวอย่าง Sampling เพื่อการตรวจสอบผลิตภัณฑ์
4.จูราน (Joseph M.Juran)
1. นิยามคุณภาพ คือ Fitness for Use
2. ให้ กาเนิดแนวคิดลูกค้ าภายใน (Internal Customer)
3. มุ่งเน้ นที่ประโยชน์ใช้ สอยและการควบคุมด้ วยการบริหารจัดการ
4. ให้ ความสาคัญกับต้ นทุนแห่งคุณภาพ
5. แนะนาให้ แก้ ปัญหาสาคัญ 2 - 3 ปั ญหาที่เมื่อแก้ ไขแล้ วจะทาให้ ผลใหญ่หลวงคือปั ญหาต่าง ๆ หายไป
6. แนะนาให้ ผ้ เู ชี่ยวชาญด้ านคุณภาพรับผิดชอบเรื่ องวางแผนและการประสานงาน
7. ใช้ วิธีสารวจอย่างกว้ างขวาง
แนวคิดตามทฤษฎีการบริหารคุณภาพของ Juran ( J.M. Juran ) ที่เรี ยกว่า ไตรศาสตร์ ด้านคุณภาพของจูราน
( Triology of Quality - Juran ) ซึง่ แสดงให้ เห็นถึงความสัมพันธ์ของระบบการบริหารคุณภาพกับการวางแผนคุณภาพ การ
ควบคุมคุณภาพ การประกันคุณภาพ และการปรับปรุงคุณภาพ
5. เดมมิ่ง (W.Edwards Deming)
โดยที่พื ้นฐานเป็ นนักฟิ สิกส์และคณิตศาสตร์ และได้ ร่วมงานกับ Shewhart ทาให้ สนใจการนาสถิติมาประยุกต์ใช้ ในการ
สุ่มตัวอย่างและการควบคุมคุณภาพ เขาเรี ยนรู้ว่าคุณภาพไม่ได้ ถกู กาหนดในห้ องผู้บริหาร มิใช่เกิดจากผู้ปฏิบตั ิงาน เขาได้ เสนอแผนภูมิ
ควบคุม (Control Chart) นามาใช้ ตดั สินประสิทธิผลการทางานและได้ บญ
ั ญัติ หลักการบริหาร 14 ข้ อ กล่าวคือ
1. จงสร้ างปณิธานอันมุ่งมัน่ แน่วแน่ในการปรับปรุงคุณภาพ
2. จงยอมรับปรัชญาใหม่ๆ ของการบริหารคุณภาพ
3. จงยุติการควบคุมคุณภาพโดยการตรวจสอบ
4. จงยุติวิธีดาเนินธุรกิจที่ตดั สินกันที่ราคาขายเพียงอย่างเดียว
5. จงปรับปรุงระบบการผลิตและระบบการให้ บริการอย่างต่อเนื่อง
6. จงทาการฝึ กอบรมอย่างสม่าเสมอ
7. จงสร้ างภาวะผู้นาให้ เกิดขึ ้น
8. จงกาจัดความกลัวให้ หมดไป
9. จงทาลายสิ่งกีดขวางความร่วมมือระหว่างหน่วยงาน
10. จงกาจัดคาขวัญและเป้าหมาย
11. จงกาจัดจานวนโควตาที่เป็ นตัวเลข
12. จงกาจัดสิ่งกีดขวางและความภาคภูมิใจของพนักงาน
13. จงจัดทาแผนการศึกษาและทาการอบรมบ่อยครัง้
14. จงลงมือปฏิบตั ิเพื่อบรรลุผลสาเร็จของการเปลี่ยนแปลง
6. ครอสบี ้ (Phillip B. Crosby)
1. คุณภาพได้ มาโดยไม่เสียค่าใช้ จา่ ยเลย (Quality Is Fee)
2. นิยามคุณภาพ คือ การทาได้ ตามข้ อกาหนด (Conformance to Requirement)
3. มุง่ เน้ นที่ของเสียเป็ นศูนย์ (Zero Defect)
4. ตรวจวัดต้ นทุนคุณภาพ
5. แนะนาให้ ฝ่ายบริหารต้ องรับผิดชอบในการแก้ ปัญหาต่าง ๆ
6. ให้ ความสาคัญกับการป้องกันความผิดพลาด
7. พัฒนาปรัชญาคุณภาพ 14 ขันตอน
้
8. ความผูกพันธ์ของฝ่ ายบริหาร (Management Commitment)
9. จัดตังที
้ มปรับปรุงคุณภาพ (Quality Improvement Team)
10. กาหนดตัวชี ้วัด (Measurement)
11. กาหนดต้ นทุนคุณภาพ (Cost of Quality)
12. ความตระหนักรู้คณ
ุ ภาพ (Quality Awareness)
13. การปฏิบตั แิ ก้ ไข (Corrective Action)
14. การวางแผนลดของเสีย (Zero Defect Planing)
15. การให้ การศึกษาแก่พนักงาน (Employee Education)
16. การจัดวันของเสียเป็ นศูนย์ (Zero Defect Days)
17. การกาหนดเป้าหมาย (Goal Setting)
18. การขจัดสาเหตุที่ทาให้ เกิดความผิดพลาด (Error cause Removal)
19. การให้ การยอมรับ (Recognition)
20. การจัดตังสภาคุ
้
ณภาพ (Quality Councils)
21. การทาซ ้าใหม่ (Do it all Over Again)
7. อิชิกาวา (Kaoru Ishikawa)
1. พัฒนาเครื่ องมือทางสถิติแห่งคุณภาพ 7 ประการ (7 QC Tools)
2. แผนผังแสดงเหตุผลหรื อผังก้ างปลา (Cause and Effect Diagrams)
3. การวิเคราะห์แบบพาเรโต (Pareto Analysis)
4. กราฟ (Graphs)
5. ฮิสโตแกรม (Histograms)
6. แผนภูมิควบคุมกระบวนการ (Process Control Charts)
7. แผนผังการกระจาย (Scatter Diagrams)
8. รายงานตรวจสอบ (Check Sheets)
9. พัฒนากิจกรรมกลุม่ ควบคุมคุณภาพ (QCC = Quality Control Circles)
10. พัฒนาการควบคุมคุณภาพทัว่ ทังองค์
้ กร (Company Wide Quality Control =
CWQC)
8. ไฟเกนบาวน์ (Feigenbaum)
1. คุณภาพคือการสร้ างความพึงพอใจด้ วยต้ นทุนต่าสุด
2. พัฒนาวงจรอุตสาหกรรม เริ่มจากการออกแบบจนถึงนาออกสู่ตลาดรวมถึง
การบริการหลังการขาย
3. ให้ แนวคิด การใช้ ท่ ปี รึกษาด้ านคุณภาพ จากผู้เชี่ยวชาญ
9. ทากูชิ (Genichi Taguchi)
1. พัฒนาคุณภาพการออกแบบ(Effect Quality of Designs)
2. คุณภาพเริ่มต้ นที่การออกแบบ
3. ให้ ความสาคัญกับการพิจารณาต้ นทุนค่ าใช้ จ่ายเมื่อสินค้ าหรือบริ การไม่ ได้
คุณภาพ
Pande & Holpp:
เป็ นข้ อตกลงทางด้ านการจัดการโดยรวมและเป็ น
วิธีการที่ชาญฉลาด การมุ่งที่ลูกค้ า การปรั บปรุ ง
กระบวนการและเป็ นกฏเกณฑ์ ของการวัดผลต่ างๆ
มากกว่ าใช้ แค่ ความรู้ สึก
สถาบันจูรัน :
ซิก ซิกม่ า เป็ นกลยุทธ์ ของฝ่ ายบริหารในการพัฒนา
คุณภาพเพื่อให้ สามารถตอบสนองความต้ องการของ
ลูกค้ าซึ่งทาให้ เกิดความพอใจสูงสุด
Breyfogle III :
 เป็ น อักษรกรี ก หมายถึงของเสียความแปรปรวนเป็ น
การวัดเจาะจงที่ของเสียต่ อหน่ วยระดับคุณภาพของ
ซิกม่ าจะเป็ นตัวชีว้ ัดว่ ามีของเสียเกิดขึน้ มากน้ อยเพียงใด
ในขณะที่ค่าซิกม่ า ยิ่งสูงกระบวนการผลิตมีโอกาสเกิดของ
เสียได้ น้อย
สรุ ปว่ า : ซิกซิกม่ ามีความหมายใน 2 ประเด็น คือ
1. เป็ นระบบบริหารจัดการ เป็ นเครื่ องมือในการ
ปรั บปรุ งคุณภาพโดยอาศัยการวิเคราะห์ ตัดสินใจ
ด้ วยข้ อมูลทางสถิติ
2. ในความหมายทางสถิติ หมายถึงการเกิดข้ อผิดพลาด
3.4 ครั ง้ ในโอกาส 1ล้ านครั ง้
ประโยชน์ในการนา six sigma มาใช้ ในองค์กร
แก้ ปัญหาได้ อย่างมี
ลดความสูญเสีย
ประสิทธิภาพสร้ าง
ทางโอกาสโดยการ
กลยุทธ์ใหม่ให้ ธุรกิจ
นากระบวนการทาง
และหาระดับ
สถิติมาประยุกต์ใช้
คุณภาพองค์กร
พัฒนาบุคลากรมี
ศักยภาพ เป็ น
องค์กรแห่งการ
เรี ยนรู้
บุคคลที่มีหน้าที่สาคัญในระบบซิกซิ กม่า
Executive
champion
Development
champion
Project
champion
Master
black belt
black belt
Green belt
Member
ตัวอย่างบริ ษทั ที่นา Six Sigma มาใช้
วัตถุประสงค์ของ six sigma
1
2
3
• ปรั บปรุ งสร้ างความพึงพอใจให้ แก่ ลูกค้ า
• ลดรอบเวลาการผลิต
• ลดข้ อบกพร่ องต่ างๆที่เกิดขึน้
ขัน้ ตอนของ SIX SIGMA
Define Measure Analyze
Improve Control
Define : เป็ นขัน้ ตอนแรกของการทา six sigma คือ กาหนดหัวข้ อและ
ขอบเขตการทาโครงการ ว่ าจะปรั บปรุ ง เปลี่ยนแปลงเรื่ องใด ต้ องเริ่มต้ นค้ นหาลูกค้ าที่
แท้ จริงของกระบวนการ
Measure: เป็ นการเก็บรวบรวมข้ อมูลที่ออกมาจากระบวนการ นาข้ อมูลที่เก็บ
มาหาประสิทธิภาพของกระบวนการและเปรี ยบเทียบกับเป้าหมายที่วางแผนไว้
SIGMA
Defect Per Milliom Opportunities
2
3
4
5
6
308,537
66,807
6,210
233
3.4
ขัน้ ตอนของ SIX SIGMA(ต่ อ)
Define Measure Analyze
Improve Control
Analyze: วิเคราะห์ หาสาเหตุท่ ีทาให้ ผลผลิตไม่ เป็ นไปตามที่กาหนดการรวบรวม
ข้ อมูลสามารถพิสูจน์ ได้ ชัดเจนข้ อมูล วิธีการวิเคราะห์ ต้องแม่ นยา เชื่อถือได้
Improve: เมื่อวิเคราะห์ จนทราบถึงสาเหตุหลักของการเกิด Defect ขัน้ ตอนนี ้
จะกาหนดแผนการปรั บปรุ งกระบวนการทางานเพื่อให้ เกิดความคุ้มค่ า และปรั บปรุ ง
กระบวนการทางานในแนวทางที่เหมาะสมที่สุด
Control : หลังจากปรั บปรุ งหรื อเปลี่ยนแปลงกระบวนการทางานแล้ วต้ องวาง
ระบบควบคุมเพื่อให้ ระบบคงอยู่ตลอดไป การควบคุมต้ องสามารถสร้ างกายอมรั บปฏิบิ
จนเป็ นมาตรฐาน
ขั้นตอนการทางานของทีม six sigma
1. การบ่งชี ้และเลือกโครงการ: เลือกโครงการที่เป็ นประโยชน์ต่อลูกค้ า
2. การสร้ างทีม: เลือกทีมและผู้นาทีม
3. การพัฒนาธรรมนูญ: เอกสารสาคัญแสดงเป็ นลายลักษณ์อกั ษร
4. การฝึ กอบรม: อบรมทีมมุ่งเน้ นกระบวนการ DMAIC
5. การทา DMAIC
6. สรุปผลการแก้ ไขปั ญหาโครงการ
7. ทดลองและทาให้ เป็ นมาตรฐาน
8. เตรี ยมสอบเพื่อขอใบรับรอง
1. การบ่ งชีแ้ ละเลือกโครงการ: เลือกโครงการที่เป็ นประโยชน์ ต่อลูกค้ า
2. การสร้ างทีม: เลือกทีมและผู้นาทีม
3. การพัฒนาธรรมนูญ: เอกสารสาคัญแสดงเป็ นลายลักษณ์ อักษร
4. การฝึ กอบรม: อบรมทีมมุ่งเน้ นกระบวนการ DMAIC
5. การทา DMAIC
6. สรุ ปผลการแก้ ไขปั ญหาโครงการ
7. ทดลองและทาให้ เป็ นมาตรฐาน
8. เตรียมสอบเพื่อขอใบรับรอง
เครื่ องมือของSIX SIGMA
แบ่ งเป็ น 5 กลุ่ม ได้ แก่
เครื่ องมือสร้ าง
แนวคิดจัดการ
ข้ อมูล
• การระดมสมอง
• ผังแสดง
ความสัมพันธ์
• ผังก้ างปลา
• แผนภูมกิ ารไหล
เครื่ องมือเก็บข้ อมูล
• การสุม่ ตัวอย่าง
• ใน check
sheet
• การวิเคราะห์
ระบบการวัด
เครื่ องมือวิเคราะห์
กระบวนการและ
ข้ อมูล
• วิเคราะห์การไหลของ
กระบวนการ
• แผนภูมิและกราฟ
ต่าง
• พาราโต,ฮิสโตรแกรม
เครื่องมือวิเคราะห์
สถิติ
• การทดสอบ
นัยสาคัญทางสถิติ
• การออกแบบทดลอง
(DOE)
• ค่าสหสัมพันธ์
เครื่องมือจัด
กระบวนการนา
6 ประยุกต์ ใช้
• การบริหารโครงการ
• การบริหารแบบมีสว่ น
ร่วม
• การวิเคราะห์
ผลกระทบและ
ข้ อบกพร่อง