คุณภาพ - มหาวิทยาลัยราชธานี

Download Report

Transcript คุณภาพ - มหาวิทยาลัยราชธานี

Quality Control: QC
142 - 408
ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชธานี
โดย
อาจารย์ จารุวรรณ สายชมภู
[email protected]
บทที่ 1
ความหมายของการควบคุมคุณภาพ
จุดประสงค์ การเรียนรู้
เพื่อให้ทราบ และเข้าใจความหมายของการควบคุมคุณภาพ
 เพื่อให้ทราบถึงประวัติ และความเป็ นมาของการควบคุมคุณภาพ

ความหมาย
 คุณภาพ คือความตรงต่อข้อกาหนดของลูกค้า (Quality is
conformance to customer’s requirement)
 คุณภาพ คือความพึงพอใจของลูกค้า (Quality is customer
satisfaction)
 คุณภาพ คือความสามารถโดยรวมของสิ นค้า/บริ การที่จะ
ตอบสนองความต้องการของลูกค้า
ประวัตกิ ารบริหารคุณภาพ
การควบคุมคุณภาพ (Quality Control) เริ่ มในสหรัฐอเมริ กาเมื่อปี ค.ศ.1931 โดย Dr.
W.A. Schewhart บริ ษทั Bell Laboratories ซึ่ งได้พฒั นาแผนภูมิควบคุม (Control
Charts) โดยใช้วิธี การทางสถิติ
 ค.ศ.1950 ทางสมาพันธ์นกั วิทยาศาสตร์ และวิศวกรแห่ งประเทศญี่ปุ่น (Japanese
Union of Engineers, JUSE) ได้เชิญ Dr. W.E. Deming ผูเ้ ชี่ยวชาญชาวอเมริ กนั ใน
เรื่ องการควบคุมคุณภาพเชิงสถิติ(Statistical Quality Control, SQC) เพื่อให้ความรู้
เรื่ องการควบคุมคุณภาพแก่ผบู ้ ริ หารระดับสู งในบริ ษทั อุตสาหกรรมขนาดใหญ่ใน
ญี่ปุ่น

ประวัตกิ ารบริหารคุณภาพ (ต่ อ)
ค.ศ.1957 Dr. A.V. Feigenbaum บริ ษทั General Electric เขียนหนังสื อเรื่ องการ
ควบคุมคุณภาพสมบูรณ์แบบ (Total Quality Control, TQC)เป็ นระบบที่มี
ประสิ ทธิ ภาพในการพัฒนารักษา และปรับปรุ งคุณภาพโดยกลุ่มคนภายในองค์การ
จะส่ งผลให้สามารถผลิตสิ นค้า และบริ การที่สร้างความพึงพอใจแก่ลกู ค้าด้วย
ต้นทุนที่ต่า และย้าว่าการควบคุมคุณภาพจะต้องดาเนิ นการบนทุกหน่วยงาน โดยผู ้
เชี่ยวชาญด้านการควบคุมคุณภาพเท่านั้น
 ในขณะเดียวกันญี่ปุ่นก็ได้พฒ
ั นาการควบคุมคุณภาพ ที่ได้รับถ่ายทอดมาจาก
อเมริ กามาเป็ นการควบคุมคุณภาพแบบญี่ปุ่น เรี ยกว่า การควบคุมคุณภาพสมบูรณ์
แบบเช่นกัน แต่ของญี่ปุ่นนี้มีแนวทางการปฏิบตั ิที่แตกต่างจากของ Dr. A.V.
Feigenbaum คือ การควบคุมคุณภาพจะต้องดาเนิ นการโดยพนักงานทุกคนทัว่ ทั้ง
องค์การ ไม่ใช่แค่ผเู ้ ชี่ยวชาญการควบคุมคุณภาพเท่านั้น

ชนิดของคุณภาพ



คุณภาพของการออกแบบหรือการปรับแบบ(Quality of Design or
Redesign) เน้นที่ความตรงกันระหว่างความต้องการของลูกค้ากับ
ผลิตภัณฑ์
คุณภาพของความสอดคล้อง (Quality of Conformance) เน้นที่การ
ผลิต/บริ การว่าสามารถผลิตได้ตามที่ออกแบบไว้หรื อไม่
คุณภาพของการทางาน (Quality of Performance) เน้นเมื่อ
สิ นค้าออกสู่ตลาดแล้ว ทาการตรวจสอบคุณภาพในทุกๆด้าน เช่น การ
บริ การหลังการขาย เป็ นต้น
Total Quality Control : TQC
การควบคุมคุณภาพสมบูรณ์แบบ คือกิจกรรมที่พนักงานทุก
คน ทุกระดับ และทุกหน่วยงานทาหรื อร่ วมกันทาเป็ นประจา เพื่อ
ปรับปรุ งงานอย่างสม่าเสมอและต่อเนื่อง โดยท าอย่างมีระบบ ทา
อย่างเชิงวิชาการ อิงข้อมูล และมีหลักการที่สมเหตุสมผล เพื่อ
จุดมุ่งหมายที่ท าให้ลูกค้าพึงพอใจในคุณภาพสิ นค้าและบริ การ

แนวความคิดเดิม : คุณภาพ คือ ระดับที่ผลิตได้ตามมาตรฐาน

แนวความคิดใหม่: คุณภาพ คือ ระดับความพึงพอใจหรื อความเหมาะสมของผูบ้ ริ โภค
TQC วิวฒ
ั นาการของการควบคุมคุณภาพ
 TQC
เป็ นวิวฒั นาการอีกชั้นหนึ่งของการควบคุมคุณภาพ (QC)
 เริ่ มเมื่อหลังสงครามโลกครั้งที่ 2
 โดยที่ญี่ปุ่นได้แรงจูงใจมาจากประเทศสหรัฐอเมริ กา
 เริ่ มแรกนั้นเป็ นการใช้ QC ในเชิงสถิติ SQC ( Statistical
Quality Control ) แล้วก็เกิดกลุ่ม QCC ( Quality Control
Circle )
หลักการของ TQC
TQC ได้วิวฒั นาการมาจาก QCC กิจกรรมกลุ่ม QCC
เป็ นพื้นฐานที่ค้ าจุน TQC ดังนั้น TQC จะต้องมีกิจกรรมกลุ่ม
QCC อยูด่ ว้ ยเสมอ โดยมีหลักการดังนี้
1. เพื่อประโยชน์ต่อองค์กร
2. รับฟังความคิดเห็นต่างๆ
ขั้นตอนปฏิบัตเิ พือ่ สร้ างคุณภาพ
ในการสร้างคุณภาพนี้จะใช้วฏั จักรของเดมิ่ง (Deming Cycle) คือ
1. การวางแผน (Plan : P)
2. การปฏิบตั ิ (Do : D)
3. การตรวจสอบ (Check : C)
4. การปรับปรุ งแก้ไข (Action : A)
ขั้นตอนปฏิบัตเิ พือ่ สร้ างคุณภาพ(ต่ อ)
1. กาหนดระดับคุณภาพให้ชดั เจน
2. ปฏิบตั ิตามขั้นตอน PDCA ให้ถูกต้อง
3. ทาตามแผนที่วางไว้
4. ใช้ 7 QC Tool กับงานที่ปฏิบตั ิ
5. สร้างระบบที่สามารถหาข้อบกพร่ องได้อยูเ่ สมอ
6. พนักงานควรมีความเข้าใจใน QCC ดังนั้นจึงควรมีการอบรม QCC
หรื อ มีความรู ้เกี่ยวกับ PDCA นั้นเอง
7. ให้คิดว่าคนที่รับงานต่อจากเราไปคือลูกค้าของเรา
ประโยชน์ ของ TQC
1. เพิ่มความสามารถในการค้นหาปัญหา
2. ทาให้รู้จกั การวางแผนการทางาน
3. ทาให้รู้จกั การทางานอย่างเป็ นกระบวนการ
4. ทั้งองค์กรมุ่งสู่จุดที่มุ่งหวังไว้ได้
5. ทาให้ทุกๆคนในองค์กรรู้จกั ทางานอย่างมีระบบ
ฝ่ ายทีเ่ กีย่ วข้ องกับการควบคุมคุณภาพ
ฝ่ ายการตลาด ช่วยประเมินระดับคุณภาพของ
ผลิตภัณฑ์ที่ออกสู่ตลาด และความพึงพอใจของผูบ้ ริ โภค
 ฝ่ ายออกแบบ เป็ นผูออกแบบให
้
้ผลิตภัณฑมี
์
ลักษณะเป็ นไปตามที่ตลาดต้องการ
 ฝ่ ายจัดหาวัตถุดิบ ช่วยจัดหาและรักษาคุณภาพของ
วัตถุดิบให้กบั ฝ่ ายผลิต
 ฝ่ ายออกแบบขบวนการผลิต ทาการพัฒนา
ขบวนการผลิตเพื่อให้ได้ผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพ เช่น ทาการวางแผนผลิต
เลือกขบวนการผลิตที่เหมาะสม เป็ นต้น

ฝ่ ายทีเ่ กีย่ วข้ องกับการควบคุมคุณภาพ (ต่ อ)
ฝ่ ายผลิต ทาการผลิตผลิตภัณฑที
่ ค
ี ุณภาพตรง
์ ม
ตามที่ออกแบบไว้
 ฝ่ ายตรวจสอบ ทาหน้าทีต
่ รวจสอบคุณภาพของ
วัตถุดิบและผลิตภัณฑ์ที่ทาการผลิตออกมาได้ก่อนจัดส่ งถึงมือผูบ้ ริ โภค
 ฝ่ ายบรรจุและจัดเก็บ ทาหน้าทีป
่ ้ องกันคุณภาพของ
ผลิตภัณฑ์ไม่ให้เสี ยหายก่อนถึงมือผูบ้ ริ โภค
 ฝ่ ายบริการ ทาการบริการหลังการขาย รวมถึง
การให้ขอ้ มูลในการใช้งานผลิตภัณฑ์แก่ลูกค้า

ผลทีไ่ ด้ จากการปรับปรุงคุณภาพ
ปริ มาณการผลิตเพิ่มขึ้น
 คุณภาพของสิ นค้าดีข้ ึน
 ต้นทุนต่อหน่วยลดลง
 สามารถลดราคาสิ นค้าลงได้
 กาลังใจในการทางานของพนักงานดีข้ ึน

สรุป
คุณภาพคือ ความถูกต้องตรงตามความต้องการของผูใ้ ช้ ผูผ้ ลิต ข้อกาหนด
ทางกฎหมาย ข้อกาหนดทางการค้าระหว่างประเทศ ซึ่ งกาหนดด้วยข้อกาหนดหรื อ
มาตรฐานของสิ นค้าโดยมีรัฐบาล ผูผ้ ลิตและผูบ้ ริ โภคทาหน้าที่ในการกาหนด
ข้อกาหนด เพื่อใช้เป็ นมาตรฐานในการผลิตสิ นค้า ทาให้ผลผลิตที่ได้ตรงตามความ
ต้องการของลูกค้า โดยส่ วนประกอบที่สาคัญที่ทาให้เกิดผลผลิตทีด่ ี คือ คน
เครื่ องจักร วัตถุดิบ และปั จจัยอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการผลิต หากส่ วนประกอบ
เหล่านั้นไม่มีความบกพร่ อง และ มีวธิ ี การควบคุมคุณภาพที่ดี สิ นค้าที่ผลิตมาได้ก็
อยูใ่ นระดับมาตรฐานน่าเชื่อถือ สาหรับผูบ้ ริ โภค และได้รับประโยชน์จากการ
ควบคุมคุณภาพ เช่น ผลิตภัณฑ์ที่ผลิตได้เสี ยน้อย ลง ลดค่าใช้จ่ายในการผลิม กาไร
เพิ่มขึ้น สร้างชื่อเสี ยงความภาคภูมิใจ
Questions & Answers