ประโยชน์ของการควบคุมคุณภาพ

Download Report

Transcript ประโยชน์ของการควบคุมคุณภาพ

www.LearnWWW.com
บทที่ 9 การควบคุมคุณภาพ
(Quality Control)
[email protected]
บทที่ 9.
เนื้ อหา
- ความหมายของการควบคุมคุณภาพ
- ความจาเป็ นในการควบคุมคุณภาพ
- ประโยชน์ของการควบคุมคุณภาพ
- ความเป็ นมาของการควบคุมคุณภาพ
- เครือ่ งมือทีใ่ ช้ควบคุมคุณภาพ
- ระบบการควบคุมคุณภาพ
วัตถุประสงค์ : เพื่อให้นักศึกษา
- ทราบและเข้าใจความหมายและความจาเป็ นในการ
ควบคุมคุณภาพ
- ทราบและเข้าใจประโยชน์ของการควบคุมคุณภาพ
- ทราบและเข้าใจถึงความเป็ นมาของการควบคุม
คุณภาพ
- ทราบและเข้าใจหลักการควบคุมคุณภาพ
- ทราบและเข้าใจระบบการควบคุมคุณภาพ
www.LearnWWW.com
ความหมายของการควบคุมคุณภาพ
ควบคุม หมายถึง ดูแล, กากับดูแล ดังนัน้ การควบคุมคุณภาพ จึงหมายถึง การกากับดูแล
เพื่อให้ได้มาซึ่งคุณภาพ
พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิต พ.ศ. 2542
การควบคุมคุณภาพ หมายถึง กิจกรรมและเทคนิคเชิงปฏิบตั ิ การ (การที่ม่งุ เน้ นทัง้ การเฝ้ า
พินิจ (Monitoring) กระบวนการและกาจัดปัญหาสาเหตุของสมรรถนะที่แสดงความ
ไม่พึงพอใจ) ที่ใช้เพื่อให้บรรลุผลตามความต้องการด้านคุณภาพ
ISO 8402 : 1994
สรุป
คุณภาพ หมายถึง ผลิตภัณฑ์ที่ออกแบบได้เหมาะสมในงานที่ได้ดี
กระบวนการผลิตดี มีความคงทน สวยงามเรียบร้อย และมีความละเอียด
เป็ นไปตามข้อกาหนดของผูส้ งซื
ั ่ ้อ
ความจาเป็ นในการควบคุมคุณภาพ
ในขบวนการผลิตใดๆ ส่วนทีท่ าให้เกิดผลผลิตทีด่ คี อื คน เครือ่ งจักร และวัตถุดบิ
1. คน (Man) เป็ นองค์ประกอบทีท่ าให้เกิดความผันแปรในกระบวนการผลิต
ความผันแปรทีเ่ กิดจากการจัดการ(การทางานขาดการวางแผน, เปลีย่ นระบบ
การจัดการ) ด้านแรงงาน (ขาดความรู้ ขาดความชานาญ) ส่งผลต่อคุณภาพ
ของผลผลิต
2. เครื่องจักร (Machine) อายุการใช้งานของเครือ่ งจักร
3. วัตถุดิบ (Material) เป็ นตัวกาหนดคุณภาพเบือ้ งต้นของกระบวนการผลิต
ประโยชน์ ของการควบคุมคุณภาพ
1. ลดค่าใช้จ่าย : ความเสียหายจากการกาหนดระบบการทางานที่
ซ้าซ้อน ลดการซ่อมแซมแก้ไขผลผลิตใหม่ ลดการหยุดการทางาน
ระหว่างการผลิต
2. ทาให้ขายผลิตได้ตามราคาทีก่ าหนด
3. ทาให้บรรยากาศในการทางานดีขน้ึ
ความเป็ นมาของการควบคุมคุณภาพ
ตามเป้าหมายของการกระบวนการผลิต มุง่ เน้นการผลิตทีไ่ ม่มสี งิ่ ของเสียหาย
 ค.ศ. 1924 วอลเทอร์ นาแผนภูมมิ าใช้ในการควบคุมคุณภาพกับ บริษทั Bell
Telephone Laboratories
 ค.ศ. 1926 เอช.เอฟ. ดอดจ์ นาหลักการทางสถิติ มาสร้างตารางหรับการสุมตรวจสอบ
คุณภาพ
 หลังสงครามโลก ดับเบิลยู ดี เดมมิง นามาใช้ในประเทศญีป่ นุ่ ทามีการพัฒนาการควบคุม
คุณภาพ เกิดกิจกรรมกลุม่ คุณภาพ (Quality Control Circle: QCC ) และพัฒนามาเป็ น “การ
ควบคุมคุณภาพแบบสมบูรณ์” Total Quality Control : TQC
 ประเทศอังกฤษ ได้ก่อตัง้ สถาบัน ISO : International Organization for
Standard) สาหรับการส่งออกของสินค้า เป็ นองค์มหาชนทีม่ สี มาชิกทีเ่ ป็ นสถาบันมาตรฐาน
แห่งชาติกว่า 100 ประเทศ
 ประเทศได้ก่อตัง้ สานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (สมอ.) พ.ศ. 2511
 พ.ศ. 2534 ประเทศไทยได้นาระบบ ISO 9000 มาใช้ประเทศไทย
หลักการควบคุมคุณภาพ
1. ความมีส่วนร่วมทัวทั
่ ง้ องค์กร
ระดับบริหาร
การวินิจฉัย
ระดับหัวหน้ างาน
การสอนงาน
ระดับหน้ างาน
การเฝ้ าสังเกตอาการปัญหาและแก้ไข
2. หลักการมีระบบ
3. หลักของความมีเหตุผล : มักนาสารสนเทศมาทาการวิเคราะห์หรือตรรกะสาหรับการ
ตัดสินใจ
เครื่องมือที่ใช้ ในการควบคุมคุณภาพ
1. ผังพาเรโต
2. ผังก้างปลา
3. กราฟและรูปภาพ
4. แผ่นตรวจสอบรายการ
5. ฮิสโตแกรม
6. ผังการกระจาย
7. แผนภูมิควบคุม
8. เครื่องมือใหม่
ระบบการควบคุมคุณภาพ
1. กิจกรรม 5 ส.
2. ISO 9000
3. รางวัล Malcolm
4. Total Quality Management : TQM
Report & Presentation
จากแผนการเรียน
1.2 รายงานกลุม่
1.3 แบบฝึกหัด
10%
10%
 เอกสารรูปเล่มถูกต้องตามหลักการทารายงาน
 ค้นคว้าจาก Internet แต่ตอ้ งมาจัดให้เป็ นระบบการพิมพ์ของตนเอง
 เนื้อหาต้องเชือ่ ถือได้
 ตัวอย่างการนามาใช้งานในองค์กรอื่น หรือ องค์กรตัวนักศึกษา
 การนาเสนอ
 ต้องนาเสนอทุกคนในกลุ่ม
 Power Point ต้องง่ายไม่ควรนา Word มาใช้นาเสนอ
 ต้องอธิบาย/ยกตัวอย่าง นอกเหนือจาก slide เพิม่ เติม ไม่ควรอ่านให้ฟงั ตลอดการนาเสนอ
 เวลาท่านละ ประมาณ 15 นาที ตอบในสิง่ ทีน
่ าเสนอแต่ละท่าน 5 นาที(เพือ่ นร่วมกลุ่มช่วย
ตอบได้ถา้ เนื้อหาเกีย่ วข้องกัน)