Pptx - อุทยานการศึกษาอุดมปัญญา

Download Report

Transcript Pptx - อุทยานการศึกษาอุดมปัญญา

การอบรมปฏิบัตกิ ารพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนภาษาไทย
ของสานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาพัทลุง เขต ๑
โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เชิดชัย อุดมพันธ์
ณ อุทยานการศึกษาอุดมปัญญา วันที่ ๑๐-๑๑ พฤษภาคม ๒๕๕๖
การอ่ านเพือ่ จับใจความสาคัญ
ประโยคใจความสาคัญ
• ประโยคทีค่ รอบคลุมเนือ้ หาทั้งหมดในย่ อหน้ านั้น
• ประโยคทีส่ รุปความคิดของย่ อหน้ านั้นไว้ ท้งั หมด
• เป็ นประโยคทีอ่ ่านแล้วได้ ใจความสมบูรณ์ ในตัวเอง
การอ่านเพือ่ จับใจความสาคัญ
ประโยคใจความสาคัญ
• สื่ อมีความหลากหลายและเจาะเฉพาะกลุ่มมากขึน้
• ในยุคของสั งคมข่ าวสารนี้ เราไม่ อาจปฏิเสธได้ ว่า
ความสามารถในการสื่ อสารคือทีม่ าของอานาจและความสาเร็จ
• การใช้ สถิตมิ คี วามสาคัญมากสาหรับงานวิจัยที่ทาการสุ่ ม
ตัวอย่ างและการสร้ างเครื่องมือในการวิจัย
การอ่านเพือ่ จับใจความสาคัญ
ตาแหน่ งประโยคใจความสาคัญ
• ประโยคแรกของย่ อหน้ า
• ประโยคสุ ดท้ ายของย่ อหน้ า
• ประโยคตรงกลางของย่ อหน้ า
• ประโยคแรกและสุ ดท้ ายของย่ อหน้ า
การอ่านเพือ่ จับใจความสาคัญ
ตาแหน่ งประโยคใจความสาคัญ
ประโยคแรก
ขยายใจความสาคัญ
การอ่านเพือ่ จับใจความสาคัญ
“ในบรรดาผลไม้ เมืองร้ อน ผลไม้ ไทยถือว่ ามีคุณภาพและปริ มาณไม่ แพ้
ประเทศอื่นในภูมิภาคเดียวกัน ทั้งนีเ้ ป็ นเพราะรสชาติที่กลมกล่ อม และ
อร่ อยถูกปากผู้ได้ ลิม้ ลอง อีกทั้งยังมีคุณค่ าทางโภชนาการ อุดมไปด้ วย
วิตามินและเกลือแร่ มีเส้ นใยอาหารสู ง ช่ วยในการขับถ่ าย ช่ วยให้ สุขภาพ
ร่ างกายแข็งแรง ผลไม้ ไทยหารับประทานได้ ง่ายตลอดทั้งปี ไม่ ว่ าจะเป็ น
กล้ ว ย ฝรั่ ง มะละกอ สั บ ปะรด หรื อ มีเ ฉพาะฤดู ก าลอย่ าง เงาะ ชมพู่
มะม่ วง แตงโม ระกา ลองกอง ลาไย โดยเฉพาะทุเรี ยนและมังคุด ซึ่ งถือ
ได้ ว่าเป็ นราชาและราชินีแห่ งผลไม้ ทคี่ วรรับประทานควบคู่กนั
การอ่านเพือ่ จับใจความสาคัญ
ตาแหน่ งประโยคใจความสาคัญ
ขยายใจความสาคัญ
ประโยคแรก
การอ่านเพือ่ จับใจความสาคัญ
“ในวงการธุรกิจ การสื่ อสารด้ วยวิธีการเขียนเป็ นสิ่ งหนึ่งทีส่ าคัญยิง่
การเขียนในทางธุรกิจมีหลายประเภท เช่ น การเขียนเอกสาร
การประชุม การเขียนรายงาน การเขียนจดหมายธุรกิจ การ
เขียนเอกสารการจ้ างและการสมัครงาน และการเขียนเอกสาร
เพือ่ การประชาสั มพันธ์ การเขียนแต่ ละประเภทมีวธิ ีการเขียนที่
แตกต่ างกัน ผู้มหี น้ าทีเ่ ขียนเพือ่ การสื่ อสารทางธุรกิจจาเป็ นต้ อง
เลือกใช้ วธิ ีการเขียนให้ เหมาะสมกับการเขียนแต่ ละประเภท”
การอ่ านเพือ่ จับใจความสาคัญ
ตาแหน่ งประโยคใจความสาคัญ
ขยายใจความสาคัญ
ประโยคกลางย่ อหน้ า
ขยายใจความสาคัญ
การอ่ านเพือ่ จับใจความสาคัญ
ถ้ าพูดถึงการออมหรือการลงทุน หลาย ๆ คนอาจจะเคยนึกสงสั ยว่ า “การ
ออม” กับ “การลงทุน” นั้น ไม่ เหมือนกันหรือแล้ วมันต่ างกันอย่ างไร ที่
จริงแล้ วการออมกับการลงทุนนั้นก็มีวตั ถุประสงค์ เดียวกันคือ การสร้ าง
โอกาสทาให้ คุณมีเงินมากขึน้ แต่ กอ็ าจจะต่ างกันอยู่บ้างก็ตรงที่ การออม
เป็ นการเก็บสะสมเงินทีละเล็กทีละน้ อยให้ พอกพูนขึน้ เมือ่ เวลาผ่ านไป
แต่ การลงทุน คือการนาเงินไปสร้ างผลตอบแทนทีส่ ู งขึน้ การออมกับ
การลงทุนจึงเป็ นคาทีม่ ีความหมายไม่ เหมือนกันแม้ จะมีวตั ถุประสงค์
เดียวกันก็ตาม”
การอ่ านเพือ่ จับใจความสาคัญ
ตาแหน่ งประโยคใจความสาคัญ
ประโยคแรก
ขยายใจความสาคัญ
ประโยคสุ ดท้ าย
การอ่ านเพือ่ จับใจความสาคัญ
คาว่ า CEO มาจากคาเต็มว่ า Chief Executive Officer หรือ
หัวหน้ าคณะผู้บริ หาร ซึ่ งเป็ นตาแหน่ งทางการบริ หารที่
นิยมมากในสหรัฐอเมริ กา กลายมาเป็ นที่รู้ จักในเมืองไทย
มากที่สุดก็ในยุคของรั ฐบาล พ.ต.ท.ทักษิณ ชิ นวัตร การ
บริ หารงานราชการในยุคใหม่ CEO จึงเป็ นตาแหน่ ง
หั ว หน้ าคณะผู้ บ ริ ห ารที่ มี บ ทบาทในการบริ ห ารงาน
ราชการ”
การอ่ านเพือ่ จับใจความสาคัญ
การขยายใจความสาคัญ
• ให้ รายละเอียด
• ให้ คาจากัดความ
• ให้ เหตุผล
• ยกตัวอย่ าง
• เปรียบเทียบ
การอ่านเพือ่ จับใจความสาคัญ
ลักษณะย่ อหน้ าทีด่ ี
• มีเอกภาพ
• มีสัมพันธภาพ
• มีสารัตถภาพ
การอ่านเพือ่ จับใจความสาคัญ
เอกภาพ
• ความเป็ นหนึ่ง คือในหนึ่งย่ อหน้ าจะต้ องมีความคิดสาคัญ
เพียงประการเดียวเท่ านั้น
สั มพันธภาพ
• ย่ อหน้ านั้นต้ องมีความต่ อเนื่องสั มพันธ์ กนั ไปตามลาดับ
ความคิดของผู้เขียน
การอ่ านเพือ่ จับใจความสาคัญ
สารัตถภาพ
• การเน้ นใจความสาคัญของย่ อหน้ า เพือ่ ให้ ผู้อ่าน
เห็นแนวคิดสาคัญได้ เด่ นชัดขึน้
เอกภาพ + สั มพันธภาพ + สารัตถภาพ
ย่ อหน้ าทีส่ มบูรณ์
การอ่ านเพือ่ จับใจความสาคัญ
TOPIC AND COMMENT
-ผลไม้ ทฉี่ ันชอบ คือ เงาะโรงเรียน
-การแข่ งขันฟุตบอลโรงเรียนครั้งนี้ มีกรรมการตัดสิ นถึง 5 คน
-นักเรียน มักจะสนใจ การเล่ นเกมมากกว่ าการฟังบรรยาย
ความสนใจของนักเรียน สนใจการเล่ นเกมมากกว่ าฟังบรรยาย
-ช่ วงเวลากลางวัน ผู้คนส่ วนใหญ่ ใช้ เวลาไปกับการทางาน
เลีย้ งชีพ
แบบฝึ กหัดอ่านจาใจความสาคัญ
1. รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้ าเจ้ าอยู่หัวมหาราช
ซึ่งตรงกับสมัยของจักรพรรดิเมจิแห่ งราชวงศ์ ญปี่ ุ่ น ประเทศ
ไทยมีความเจริญไม่ แพ้อารยประเทศ ด้ วยพระอัจฉริยภาพของ
พระองค์ โดยแท้ ทรงเริ่มวางรากฐานกิจการงานสาคัญต่ างๆ
เป็ นอเนกอนันต์ จึงส่ งผลให้ ประเทศไทยของเรามีความเจริ ญ
รุดหน้ าไปมาก เมือ่ เทียบกับประเทศเพือ่ นบ้ านของเรา อาทิ
ประเทศลาว เขมร และพม่ า
แบบฝึ กหัดอ่านจาใจความสาคัญ
คาตอบ- รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้ า
เจ้ าอยู่หัวมหาราช ประเทศไทยมีความเจริญ
ไม่ แพ้อารยประเทศ
แบบฝึ กหัดอ่านจาใจความสาคัญ
2. ออสเตรเลีย ปัจจุบันเป็ นเมืองท่ องเที่ยวที่มีประชาชนจาก
ทั่วทุกมุมโลกเดินทางไปทัศนาจร พักผ่ อนหาความสาราญ
ในทุ ก รู ป แบบที่ ต้ อ งการ ไม่ ว่ า จะเป็ นการไปเที่ ย วชม
ธรรมชาติ ซึ่ ง ออสเตรเลีย ยัง คงความสวยงามและรั ก ษา
สภาพแวดล้ อ มของธรรมชาติ เ อาไว้ ไ ด้ อ ย่ า งครบถ้ ว น
สมบูรณ์ แบบมากที่สุด เหนือกว่ าท้ องที่ใด ๆ ในภูมิภาคนี้ก็
ว่ า ได้ การไปเที่ ย วหาความส าราญจากแหล่ ง บั น เทิ ง ที่
ทันสมัยพรั่ งพร้ อมไปด้ วยเทคโนโลยีล่าสุ ด หรื อการไปหา
ความสุ ขสาราญกับการเสี่ ยงโชคในสถานกาสิ โนก็มอี ยู่อย่ าง
พร้ อมพรั่งเช่ นกัน
แบบฝึ กหัดอ่ านจาใจความสาคัญ
ค าตอบ- ออสเตรเลี ย ปั จ จุ บั น เป็ นเมื อ ง
ท่ องเที่ยวที่มีประชาชนจากทั่วทุกมุมโลก
เดิ น ทางไปทั ศ นาจร พั ก ผ่ อ นหาความ
สาราญในทุกรู ปแบบทีต่ ้ องการ
แบบฝึ กหัดอ่านจาใจความสาคัญ
3. หนังตะลุงในประเทศไทยมีต้นเค้ ามาจากหนัง
ตะลุงของอินเดีย โดยหนังตะลุงของอินเดียมี
มาก่ อนพุทธกาล แพร่ กระจายจากอินเดียมายัง
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ขณะอาณาจักรต่ างๆใน
ดิ น แดนแถบ นี้ ก า ลั ง เจริ ญรุ่ ง เรื อง อา ทิ
อาณาจักรฟูนัน จัมปา ศรีเกษตร ทวารวดี และ
ศรีวชิ ัย
แบบฝึ กหัดอ่านจาใจความสาคัญ
คาตอบ- หนั งตะลุงในประเทศไทย
มี ต้ น เค้ า มาจากหนั ง ตะลุ ง ของ
อินเดีย
แบบฝึ กหัดอ่านจาใจความสาคัญ
4. สปาเป็ นการแพทย์ แขนงหนึ่ง ไม่ ว่าบริการ สปา
จะอยู่ที่ใด เช่ น โรงพยาบาล คลินิก โรงแรม รี
สอร์ ท ก็ต้องมีผู้เชี่ ยวชาญหรื อแพทย์ คอยดูแล
ให้ ค าแนะน าอยู่ ด้ ว ย เนื่ อ งจากบริ ก ารทาง
การแพทย์ ต้องคานึงถึงความปลอดภัยและยึด
หลักคุณธรรม
แบบฝึ กหัดอ่านจาใจความสาคัญ
คาตอบ- สปาเป็ นการแพทย์ แขนงหนึ่ ง
ต้ อ ง มี ผู้ เ ชี่ ย ว ช า ญ ห รื อ แ พ ท ย์
คอยดูแลให้ คาแนะนาอย่ ูด้วย
แบบฝึ กหัดอ่านจาใจความสาคัญ
5. วรรณกรรมชิ้นเอกของโลกไม่ ว่าจะเป็ น “สงคราม
และสั น ติ ภ าพ” ของ ลีโ อ ตอลสตอย “เฒ่ า ผจญ
ทะเล” ของเฮมิงเวย์ “กระท่ อมน้ อยของลุงทอม”
ของ แฮเรียต บีเซอร์ สโตว์ “แม่ ” ของแมกซิม เอกกี้
ฯลฯ ผลงานเหล่ านี้สะท้ อนสั จจะที่นักเขียนกระทา
สั จธรรมให้ ปรากฏในบรรณโลกโดยอาศัยวรรณศิลป์
แบบฝึ กหัดอ่านจาใจความสาคัญ
คาตอบ- วรรณกรรมชิ้นเอกของโลกสะท้ อน
สั จจะที่ นั ก เขี ย นกระท าสั จธรรมให้
ปรากฏในบรรณโลกโดยอาศัยวรรณศิลป์
แบบฝึ กหัดอ่านจาใจความสาคัญ
6. หยก” ตามความหมายที่แท้ จริงในหนังสื อโบราณของจี น
ได้ บันทึกไว้ ว่า เป็ นก้ อนหินชนิดหนึ่งที่มีความสวยงามอยู่
ในตัวตามธรรมชาติ มีคุณสมบัติเฉพาะตัว 4 อย่ างด้ วยกัน
คือ มีความแข็งแกร่ ง หนาแน่ น ลื่น และเมื่อมองแล้ วให้
ความรู้ สึ ก อ่ อ นโยน นุ่ ม นวล และแต่ ล ะคุ ณ สมบั ติ ก็ มี
ความหมายอย่ างลึกซึ้งแตกต่ างกันไปกล่ าวคือ ความแข็ง
และความหนาแน่ นของหยกนั้น ชาวจีนส่ วนใหญ่ เชื่ อว่ า
เปรี ยบเสมือนความฉลาดและความกล้ าหาญ ความลื่น
เทียบได้ กับความยุติธรรม และการให้ ความรู้ สึกนุ่มนวล
ของหยกนั้นแสดงถึงความกตัญญูร้ ู คุณ เป็ นต้ น
แบบฝึ กหัดอ่านจาใจความสาคัญ
ค าตอบ-“หยก” มี คุ ณ สมบั ติ เ ฉพาะตั ว 4 อย่ า ง
ด้ วยกันคือ มีความแข็งแกร่ ง หนาแน่ น ลื่น และ
ให้ ความรู้ สึกอ่อนโยน นุ่มนวลเมือ่ มองดู
แบบฝึ กหัดอ่านจาใจความสาคัญ
7.
นักวิทยาศาสตร์ ยังคงมีความเห็นแย้ งกันอยู่ว่า ด้ วยเหตุใด
แมลงวันจึงสามารถเดินบนเพดานได้ กลุ่มหนึ่งระบุว่าถ้ าหาก
เราส่ องกล้ องจุลทรรศน์ ดูบริเวณเท้ าของแมลงวันดี ๆ จะพบเยือ่
พังผืดลักษณะคล้ ายฟูกสองอัน หุ้ มด้ วยขนเล็กๆ ที่ส่วนปลาย
ของแต่ ละเส้ นจะมีลักษณะเหมือนจานกลมๆ เจ้ าจานกลมปลาย
ขนที่อ้ ุงเท้ าของแมลงวันนี่แหละที่ทาหน้ าที่เป็ นเหมือนตัวดูด
สุ ญญากาศทาให้ แมลงวันเดินบนเพดานได้ เพราะ
แบบฝึ กหัดอ่านจาใจความสาคัญ
น้ า หนั ก ที่ ก ดลงไปจะไปไล่ อ ากาศภายในจานกลมดั ง กล่ า ว
ออกไป แรงกดอากาศจากภายนอกที่มากกว่ าจึงกดมันติดไว้
กับเพดานนั่นเองเลยทีเดียวแต่ ผ้ ูเชี่ยวชาญด้ านแมลงอีกส่ วน
ชี้ว่าปลายขนบริเวณอุ้งเท้ าของแมลงวันจะมีท่อขนาดจิ๋วอยู่
ท่ อดังกล่ าวจะทาหน้ าที่ฉีดน้าเหนียว ๆ ออกมาเพื่อทาหน้ าที่
คล้ ายกาวยึดตัวมันติดกับผนังหรือเพดานแบบห้ อยหัวลงมา
ได้ ว่ ากันว่ าแมลงวันสามารถผลิตกาวเหนียวเหล่ านี้และฉีด
ออกมาได้ ตามใจไม่ มวี นั หมด
แบบฝึ กหัดอ่านจาใจความสาคัญ
ค าตอบ- นั ก วิ ท ยาศาสตร์ มี ค วามเห็ น แย้ ง กั น อยู่ ว่ า ด้ ว ยเหตุ ใ ด
แมลงวันจึงสามารถเดินบนเพดานได้ กลุ่มหนึ่งระบุว่าปลาย
ขนทีอ่ ้ งุ เท้ าของแมลงวันทาหน้ าที่เป็ นเหมือนตัวดูดสุ ญญากาศ
ท าให้ แ มลงวั น เดิ น บนเพดานได้ แต่ ผ้ ู เ ชี่ ย วชาญด้ า นแมลง
อีกส่ วนระบุ ว่า ปลายขนบริ เวณอุ้งเท้ าของแมลงวันจะมีท่อ
ขนาดจิ๋วทาหน้ าที่ฉีดน้าเหนียว ๆ ออกมาเพื่อทาหน้ าที่คล้ าย
กาวยึดตัวมันติดกับผนังหรือเพดาน
แบบฝึ กหัดอ่านจาใจความสาคัญ
8. การเว้ นระยะห่ างในขณะทีม่ กี ารพบปะพูดคุยกัน ไม่ ว่าจะเป็ น
การยืนหรือนั่งคุยกัน ถ้ าเว้ นระยะนั้นไม่ ห่างจากกันแสดงว่ า
คนสองคนนั้ น มี ค วามสนิ ท สนมกั น พอสมควร ในทาง
กลับกันถ้ ายืนหรื อนั่งห่ างกันก็แสดงว่ าไม่ สนิ ทกัน ดังนั้น
ระยะห่ างหรือการเว้ นระยะระหว่ างบุคคลจะสื่ อความหมาย
ทางสั งคมคื อ บอกถึ ง ความสนิ ท สนมระหว่ า งบุ ค คล
นอกจากจะบอกถึ ง ความสนิ ท สนมแล้ ว ช่ องว่ า งหรื อ
ระยะห่ างยังบอกถึงสถานภาพทางสั งคมของคู่สนทนาด้วย
แบบฝึ กหัดอ่านจาใจความสาคัญ
คาตอบ-ระยะห่ างหรือการเว้ นระหว่ างบุคคล
ในการสนทนาจะบอกถึงความสนิทสนม
ระหว่ างบุคคลและสถานภาพทางสั งคม
ของคู่สนทนา
แบบฝึ กหัดอ่านจาใจความสาคัญ
9. สมัยก่ อนเมืองไทยยังไม่ มีโรงพยาบาล ไม่ มีแพทย์ ไม่ มียา
รั ก ษาโรคดี ๆ อย่ างสมั ย นี้ คนไทยสมั ย นั้ นก็ ใ ช้ ห มอ
กลางบ้ าน ใช้ ยากลางบ้ านหรื อยาแพทย์ แผนโบราณรั กษา
โรค ซึ่ งเรี ยกว่ ารั กษากันตามมีตามเกิด แต่ ก็ได้ ช่ วยรั กษา
ชี วิตคนไว้ ได้ ส่วนหนึ่ง เพราะสมัยก่ อนโรคแปลกๆ อย่ าง
ไวรั ส ตั บ อั ก เสบบี โรคมะเร็ ง หรื อ โรคเอดส์ ยั ง ไม่ มี ยา
กลางบ้ านจึงมีบทบาทกับชีวติ คนไทยอย่ างมหาศาลทีเดียว
แบบฝึ กหัดอ่านจาใจความสาคัญ
ค าตอบ-ยากลางบ้ า นมี บ ทบาทต่ อ ชี วิ ต คนไทย
สมัยก่อนอย่ างมาก
แบบฝึ กหัดอ่านจาใจความสาคัญ
10.การแพทย์ เมืองไทยยังกระจายไม่ ทั่วถึง บางพืน้ ที่ขาดแคลน
ผู้ เ ชี่ ย วชาญเฉพาะทาง บางพื้น ที่ ก็ ข าดอุ ป กรณ์ เ ครื่ อ งไม้
เครื่ องมือ การเคลื่อนย้ ายผู้ป่วยไปรั กษาในที่ที่พร้ อมกว่ าจึง
เป็ นสิ่ งจาเป็ น แต่ บางครั้งระยะทางและความไม่ เชี่ ยวชาญก็
เป็ นอุปสรรค เพราะการเคลื่อนย้ ายแต่ ละครั้ ง ต้ องพิจารณา
อย่ างรอบคอบโดยวิธีการและพาหนะที่ใช้ ในการเคลื่อนย้ าย
แพทย์ จะเป็ นผู้ตดั สิ นโดยพิจารณาจากอาการของผู้ป่วย
แบบฝึ กหัดอ่านจาใจความสาคัญ
คาตอบ- ระยะทางและความไม่ เชี่ ยวชาญในการ
เคลื่ อ นย้ า ยผู้ ป่ วยเป็ นอุ ป สรรคส าคั ญ ในการ
เคลือ่ นย้ ายผู้ป่วยไปรักษาในทีท่ พี่ ร้ อมกว่ า
การสอนอ่านอย่ างเป็ นกระบวนการ
ยุทธศาสตร์ การอ่าน PAR
• P คือ preparation หรือขั้นเตรียม
• A คือ assistance หรือขั้นให้ ความช่ วยเหลือ
• R คือ reflection หรือขั้นสะท้ อนความคิด
การสอนอ่านอย่ างเป็ นกระบวนการ
ยุทธศาสตร์ การอ่ าน PAR
1. ขั้นเตรี ยมการ คือ การศึกษาพืน้ ฐานความรู้เดิมของ
ผู้เรียนด้ วยการสนทนาและพยายามเชื่ อมโยงหรื อ
ปู พื้น ความรู้ ที่ จ าเป็ นส าหรั บ การอ่ า น เช่ น เล่ า
ภาพรวมเนื้อหา โดยบรรยาย หรื อหาอาสาสมัคร
หรือใช้ คาถามสนทนา ฯลฯ
การสอนอ่ านอย่ างเป็ นกระบวนการ
ยุทธศาสตร์ การอ่ าน PAR
2. ขั้นให้ ความช่ วยเหลือ มีเป้าหมายให้ ผ้ ูเรี ยนเกิดความเข้ าใจในตัว
บท โดยแก้ ไขปั ญหาต่ างๆ ระหว่ างการอ่ าน เช่ น ความเข้ าใจ
คาศัพท์ ประโยค
กิจ กรรมที่ ใ ห้ ค วามช่ ว ยเหลือ เช่ น เทคนิ ค คิด ออกเสี ย ง การใช้
คาถามให้ เกิดการสนทนา การอภิป รายแลกเปลี่ยนมุ ม มอง
เพื่อขยายประเด็นเกี่ยวกับคาศัพท์ /ประโยค การให้ ผู้เรี ยนพูด/
เขี ย นเพื่ อ ท านายเหตุ ก ารณ์ สรุ ปย่ อ การวาดแผนผั ง
แผนภาพเพือ่ แสดงการวิเคราะห์ หรือสรุปเนือ้ หา
การสอนอ่ านอย่ างเป็ นกระบวนการ
ยุทธศาสตร์ การอ่ าน PAR
3. ขั้นสะท้ อนความคิด มีจุดประสงค์ ที่เชื่อมโยงความคิดหรื อข้ อมูลที่ได้
จากการอ่ านกับชี วิตของผู้เรี ยน ไม่ ใช่ การทบทวนเนือ้ หาและตอบ
คาถามว่ า ใคร ทาอะไร ที่ไหน เมื่อไหร่ อย่ างไร เช่ น
- ข้อคิดทีไ่ ด้จากการอ่ านครั้งนี้คอื อะไร
- สิ่งทีอ่ ่ านมีอะไรสอดคล้ องกับตนเอง หรื อเห็นด้ วย/ไม่ เห็นด้ วยอย่ างไร
- สิ่งทีอ่ ่ านมีคณ
ุ ค่ าพอทีจ่ ะต้ องอ่ านซ้าหรื อบอกเล่ าผ้ อู ื่นทราบหรื อไม่ อย่ างไร
- สิ่งทีอ่ ่ านให้ ประเด็นความคิดทีเ่ ป็ นประโยชน์ ต่อการนาไปใช้ ในชีวิตจริ งอย่ างไร
การสอนอ่ านอย่ างเป็ นกระบวนการ
ขั้นตอนการอ่ านเป็ นกระบวนการ (อ่ านแบบบูรณาการ) 7 ขั้นตอน
1. การถามนาก่ อนการอ่ าน ตั้งคาถามโดยการยกข้ อความจาก
ในเนือ้ เรื่องมาพูดคุยกับนักเรียน เพือ่ ให้ คาดคะเนล่ วงหน้ า
ว่ า เรื่ องที่จะอ่ านเกี่ยวกับอะไร ตัวละครจะลงเอยอย่ างไร
กระตุ้นเร้ าให้ นักเรียนหาคาตอบ
2. การทาความเข้ าใจศัพท์ เพือ่ ให้ นักเรียนเกิดความมั่นใจว่ า
ค าศั พ ท์ บ างค าที่ เ ป็ นตั ว บ่ ง ชี้ ค วามหมายนั้ นนั ก เรี ย นมี
ความเข้ าใจชัดเจน (อาจทาเป็ นใบงานให้ นักเรียนทา)
การสอนอ่ านอย่ างเป็ นกระบวนการ
ขั้นตอนการอ่านเป็ นกระบวนการ (อ่านแบบบูรณาการ) 7 ขั้นตอน
3. การอ่ านเนือ้ เรื่อง ภายในเนือ้ เรื่องควรประกอบด้ วยคาถามแทรกอยู่
ในเนือ้ หา และครู คอยแนะนาช่ วยเหลือระหว่ างการอ่ าน
4. การทาความเข้ าใจเนือ้ เรื่อง ตรวจสอบความเข้ าใจ โดยให้ เติม
ข้ อความในประโยคปลายเปิ ดให้ เป็ นประโยคทีส่ มบูรณ์ ตาม
เนือ้ เรื่องที่อ่าน
5. การถ่ ายโอนข้ อมูลในรู ปแบบอืน่ นาความรู้ หรือข้ อมูลทีไ่ ด้ จากการ
อ่ านมานาเสนอในรู ปแบบใหม่ เช่ น นาคาหรือข้ อมูลมาเสนอ
ในรู ปตาราง แผนภูมิ แผนทีต่ ามความเหมาะสมของข้ อมูล
การสอนอ่ านอย่ างเป็ นกระบวนการ
ขั้นตอนการอ่ านเป็ นกระบวนการ (อ่ านแบบบูรณาการ) 7 ขั้นตอน
6. การท าแบบฝึ กหั ด ต่ อ ชิ้ น ส่ วนประโยคและเรี ย งโครงสร้ า ง
อนุ เฉท แจกชิ้ นส่ วนประโยคที่เกี่ยวข้ องให้ นักเรี ยนแต่ ละ
กลุ่ม และต่ อชิ้นส่ วนประโยคให้ อยู่ในรู ปอนุเฉททีถ่ ูกต้ อง
7. การประเมินผลและการแก้ ไข ประเมินผลความเข้ าใจส่ วนรวม
อี ก ครั้ งหนึ่ ง และแก้ ไขการใช้ ภาษาในแบบฝึ กหั ด
ประกอบการอ่ าน
เทคนิคการอ่ านคิดออกเสี ยง (การคิดดัง)
1.
จัดทาตัวแบบกลยุทธ์
1. กลยุทธ์ : คิดโยงไปถึงสิ่งทีเ่ คยร้ ูมาแล้ วในเนื้อหาเรื่ องราว
คาอธิบาย : ก่ อนทีเ่ ราจะอ่ าน เราควรดูชื่อเรื่อง ผู้เขียน และ
รู ปภาพ แล้ วคิดถึงสิ่ งทีเ่ คยรู้ มาบ้ างเกีย่ วกับเรื่องราวนั้น
2. กลยุทธ์ : คาดการณ์ เรื่ องราวที่เกิดขึน้ หรื อสิ่งที่จะเกิดขึน้ ต่ อไป
คาอธิบาย : ใช้ ชื่อเรื่อง รู ปภาพ และข้ อมูลรายละเอียดทีเ่ รารู้
มาแล้ วเรื่องราวดังกล่ าว เราต้ องรู้ จกั คาดการณ์ เรื่องราว
เทคนิคการอ่ านคิดออกเสี ยง (การคิดดัง)
3. กลยุทธ์ : ตั้งคาถามและหาคาตอบของคาถามนั้น
คาอธิ บาย : ขณะที่เรากาลังอ่ าน เราต้ องหยุดและถามตัวเอง
เกีย่ วกับเรื่องราวที่อ่าน และหาคาตอบของคาถามนั้น
4. กลยุทธ์ : เดาหรื อคาดการณ์ สิ่งที่จะเกิดขึน้
คาอธิบาย : ขณะที่เราอ่ าน เราต้ องตรวจสอบสิ่ งที่เราเดา หรื อ
สิ่ งที่เราคาดการณ์ ไว้ เราทบทวนแก้ ไข และเริ่มต้ นเดาหรือ คาดการณ์
ต่ อไป
เทคนิคการอ่ านคิดออกเสี ยง (การคิดดัง)
5. กลยุทธ์ : เชื่อมโยงสิ่งทีอ่ ่ านทีร่ ั บฟังกับความร้ ูเดิม
คาอธิบาย : เราเชื่อมโยงสิ่ งทีก่ าลังอ่ านเข้ ากับความรู้ เดิมทีเ่ รามีอยู่
นั่นคือ เราคิดถึงสิ่ งที่เกิดขึน้ ในเรื่อง เหมือนกับสิ่ งทีเ่ ราเคยรู้
มาก่ อนแล้ ว
6. กลยุทธ์ : ตรวจความหมายโดยอ่ านซ้าทวนสิ่งที่ไม่ เข้ าใจ
ความหมาย
คาอธิบาย : ถ้ าอ่ านข้ อความในเนือ้ เรื่องแล้ วไม่ เข้ าใจความหมาย
เราต้ องหยุดและอ่ านซ้าทวน เราต้ องคิดถึงคาและความหมายได้
เทคนิคการอ่ านคิดออกเสี ยง (การคิดดัง)
7. กลยุทธ์ : ใช้ ข้อความประโยคแนะความหมายเพือ่ เรี ยนร้ ู
ความหมายของคา
คาอธิบาย : เมื่ออ่ านมาถึงคาใหม่ เราต้ องใช้ ข้อความหรื อ
ประโยค แนะความหมาย คาดคะเนความหมายคานั้นขึน้ มา
เราใช้ คา/กลุ่มคาที่อยู่รอบๆ คาใหม่ คาดคะเนความหมายหรื อ
อ่ านไปจนจบประโยค แล้ วใช้ ความหมายของเนือ้ หาคาดคะเน
ความหมาย
เทคนิคการอ่ านคิดออกเสี ยง (การคิดดัง)
8. กลยุทธ์ :เล่ าเรื่ องบางส่ วน
คาอธิบาย : เราหยุดอ่ านเป็ นช่ วงๆ เพือ่ ตรวจสอบความเข้ าใจสิ่ งที่
อ่ านมาแล้ ว เราควรอ่ านส่ วนนั้นซ้าหรือเล่ าเรื่องให้ ตนเองฟัง
9. กลยุทธ์ : บรรยายภาพเรื่องราวทีอ่ ยู่ในจิตของตน
คาอธิบาย : ในฐานะที่เป็ นนักอ่ านที่ดี ต้ องรู้ จักสร้ างภาพเรื่องราวที่
อ่ านขึ้นในใจด้ วย ต้ องคานึงเห็นภาพที่บรรยายพรรณนา ตั วละคร
ฉาก และเหตุการณ์ ในเนือ้ เรื่อง
เทคนิคการอ่ านคิดออกเสี ยง (การคิดดัง)
10. กลยุทธ์ :สรุปเรื่ องราวหรื อเล่ าสิ่งทีส่ าคัญใในเรื่ อง
คาอธิบาย : เมื่ออ่ านจบเราต้ องสรุ ปเรื่อง หรือเล่ าสิ่ งที่
สาคัญในเรื่องที่เราอ่ านมาแล้ ว
ตัวอย่ างการสาธิตแบบกลยุทธ์ การอ่ าน
การอ่ านเรื่อง “หมูบินจอมพลัง”
ครู : ฉันเลือกอ่ านเรื่ อง หมูบินจอมพลัง จริงแล้ วฉันรู้ ว่าหมูบินไม่ ได้ หรอก
ดัง นั้ น เรื่ องนี้ต้ อ งเป็ นเรื่ อ งที่ ฝั น เฟื่ องแน่ น อน เพราะวรรณกรรม
ประเภทนี้ สั ตว์ และสิ่ งของต่ างๆ พูดและทาสิ่ งทีไ่ ม่ เป็ นจริงแล้ วฉันยัง
รู้ อกี ว่ าหมูเป็ นสั ตว์ ที่สมมติให้ มีลกั ษณะค่ อนข้ างเฉลียวฉลาด จากรู ป
หน้ าปกฉันเห็นหมูตัวหนึ่ง ทาท่ าเหมือนบินอยู่เหนือไร่ อาจเป็ นหมู
ตัวเอกที่ฝันว่ าตัวเองบินได้ ฉันคาดว่ ามันต้ องใช้ ความฝั นเฟื่ องแก้ ปม
ปัญหาในเรื่องได้ แน่
นักเรี ยน: คุณครู คิดถึงสิ่ งที่เคยรู้ มาก่ อนเกี่ยวกับหมูและนิทาน แล้ วคุณครู
ยังมองดูรูปภาพ และคาดการณ์ เรื่องราวทีค่ วรเป็ นไปในเรื่อง
ครู : บทที่ 1 ชื่อเรียกว่ า “ถูกพาไป” ใครถูกพาไป ฉันมองไปที่รูปภาพ เห็น
ลูกหมูตัวจิ๋วตัวหนึ่งในคอกกับแม่ หมู หนึ่งในสองตัวนีต้ ้ องถูกพาไป
ใช่ ไหม?
นักเรียน: คุณครู ถามคาถาม.....(พร้ อมทาเครื่องหมายทีก่ ลยุทธ์ )
ครู : เริ่มอ่ านเนือ้ เรื่อง... “โอ้ ! ไม่ ใช่ นะ! ไม่ มีไรเกิดขึน้ หรอก” แม่ หมูพูด ครู
ว่ าหมูตวั เล็กต้ องไม่ สบายแน่ เลย อาจเป็ นเจ้ านี่ทตี่ ้ องถูกพาตัวไป
นักเรียน: คุณครู บรรยายภาพในใจ ใช่ ม้ยั ค่ ะ
ครู : แม่ หมูเป็ นหมูลายแต้ มพันธุ์แท้ จากต่ างประเทศ มีหูต้ัง สี ขาวลายจุดดา
เหมือนกับยักษ์ สะบัดพู่กันสี ดาใส่ ตัว ฉันมองเห็นแม่ หมูตัวใหญ่ อ้วน
ดา-ขาว มีหางม้ วนส่ งเสี ยงคารามอู๊ดๆ อ้ าดๆ ขณะเดินไปรอบไร่
นักเรียน: คุณครู บรรยายภาพในจิตใจ
ครู : ในคืนที่แม่ หมูออกลูกมา 8 ตัวนั้น ลูก 7 ตัวมีขนาดเท่ ากันหมด อ้ วน
กลมดูรูปร่ างแข็งแรง และดูดนมแม่ อิ่มเรี ยบร้ อย แต่ เจ้ าตัวที่แปดซิ
ขณะนีแ้ ม่ หมูมองเห็นตัวมันแล้ ว เป็ นสั ตว์ ตวั เล็ก เรียวยาว...
คาว่ า “เรี ยวยาว” หมายความว่ าอะไร ประโยคนี้เริ่ มต้ นด้ วยคาว่ า
“แต่ ” ซึ่งหมายความว่ าเป็ นสิ่ งที่ตรงกันข้ าม เพราะฉะนั้นตรงข้ ามกับ
คาว่ า “อ้ วนกลม” และ รู ปร่ างแข็งแรงทีผ่ ้ ูเขียนบรรยายลูกหมูตัวอืน่ ๆ
แน่ ฉันคิดอย่ างนีน้ ะ แล้ วฉันจะต่ อละ...
ตั ว ใหญ่ เ ท่ า ครึ่ ง หนึ่ ง ของตั ว อื่น ๆ เท่ า นั้ น มี หั ว ผอมบางเท่ า ล าตั ว
สี หน้ ามองดูไร้ ชีวติ ชีวา หมดหวังเสี ยจริง
จากประโยคนี้ ฉั น บอกได้ เ ลยว่ า ค า เรี ย วยาว หมายถึ ง เล็ ก หรื อ
ผอมลง หรื อผอมบาง หรื อบอบบาง
นักเรียน: คุณครู ใช้ เนือ้ ความประโยคแนะความหมาย คาดเดาความหมาย
ของคาว่ า เรียวยาว
ครู : มันเป็ นลูกหมูแคระแกร็ น เกิดมาด้ วยสาเหตุบางประการ ตัวจึงผอม
กว่ าและอ่ อนแอกว่ าพีช่ ายพีส่ าว
นี่...ทาให้ ฉันหวนนึกถึงแมวของฉั น มันเป็ นแมวแคระแกร็ น หรื อ
เป็ นลูกแมวทีเ่ ล็กทีส่ ุ ดในครอก
นักเรียน: คุณครู เชื่อมโยงสิ่ งทีอ่ ่ านกับความรู้ เดิม
ครู : ในอังกฤษหลายๆ แห่ งเรียกชื่อหมูเช่ นนีแ้ ตกต่ างกันไป เช่ นหมูตวั ยาว
ผอมแห้ ง หมูแหลม ในกลอสเตอร์ เชียร์ เรียกหมูพวกนีว้ ่ า หมูเตีย้
ดังนั้นหมูเตีย้ คือ หมูแคระแกร็นนั่นเอง และฉากเรื่องนีค้ อื ไร่ แห่ ง
หนึ่งในอังกฤษ
นักเรียน: คุณครู ใช้ เนือ้ ความประโยคแนะความหมาย บอกความหมายของ
คาหมูเตีย้ และสถานทีเ่ กิดเหตุในเรื่อง
ครู : มีเสี ยงแกรกกรากตะกุยคอกข้ างๆ และหัวของแม่ หมูตวั หนึ่งโผล่ มา
เหนือกาแพง “อุ๊ยตายแล้ ว...เธอจา!” “ไม่ ใช่ จ๊ ะ” แม่ หมูตอบ
พวกแม่ หมูดูหวาดวิตกกังวลมากทีม่ ลี ูกหมูตวั หนึ่งเป็ นหมูเตีย้ หมู
พวกนี้ วิตกว่ าลูกหมูตวั เล็กจิว๋ และอ่ อนแอใช่ ไหม หรือว่ าจะเป็ นตัวนี้
ทีต่ ้ องถูกพาไป
นักเรียน: คุณครู ถามคาถาม
ครู : แม่ หมูพนั ธุ์ลายแต้ มส่ วนใหญ่ ในบริเวณเขตเลีย้ งสั ตว์ 9 แห่ ง โอกาส
ออกลูกเป็ นหมูเตีย้ หนึ่งตัวในช่ วงชีวติ ที่เป็ นแม่ หมูบางช่ วงได้ นี่ไม่ ใช่
เป็ นเรื่ องน่ าดูหมิ่นดูแคลน หรื อนินทราว่ าร้ าย เพราะไม่ ใช่ ความผิด
ของใคร แต่ เป็ นสิ่ งที่น่าสงสารเวทนา สาหรั บแม่ หมูทุกตัวแล้ วต่ าง
ใฝ่ ฝั นอยากเลี้ย งดู ลู ก หมู ที่สุ ข ภาพแข็งแรงให้ โตเป็ นหมู วัยรุ่ นกัน
ทั้งนั้น และแล้ วข่ าวที่แพร่ สะพัดในเช้ าวันนั้นก่ อให้ เกิดความกังวล
จนทุกตัวกรอกสายตาไปมา พลางส่ งเสี ยงฮืดๆฮาดๆพร้ อมกับใบหู
ยาวสั่ นเท่ าหลู่หลบลง ฉันคิดถูกแล้ ว แม่ หมูรู้ สึกวิตกกังวล ที่มีลูกหมู
แคระเตีย้ เกิดขึน้ มา เพราะว่ าแม่ หมูอยากได้ ลูกทีม่ ีสุขภาพแข็งแรง
นักเรียน: คุณครู ตรวจสอบคาตอบคาถามทีถ่ ามไว้
ครู : คนรับใช้ ก็ไม่ ต้องการเช่ นกัน พวกหมูพูดต่ อๆกันไป พวกมันคิดว่ าคน
เลีย้ งหมูคือคนรั บใช้ เพราะว่ าไม่ ได้ ทาสิ่ งใดเลย นอกจากปฏิบัติตาม
สิ่ งที่พวกมันต้ องการ เขาต้ องดู แลขุนน้าขุนอาหารให้ พวกมัน ทา
ความสะอาดและปูคอกใหม่ ๆ ให้ พวกมันด้ วย พวกมันพูดถึงเขา และ
พูดกับเขาด้ วย แม้ ว่าเขาไม่ เข้ าใจอะไรก็ตาม ก็เขาเป็ นแค่ “คนเลีย้ ง
หมู ” นี่ น า เหมื อ นกั บ ผู้ ดี ที่ โ รมั น พู ด ถึ ง “พวกทาส” นั่ น แหละ
ข้ อความส่ วนนี้อ่านไม่ เข้ าใจ ฉั นต้ องอ่ านซ้ าและคิดไปด้ วยขณะที่
อ่ าน (อ่ านข้ อความซ้าใหม่ ) ตอนนี้ฉันเข้ าใจดี พวกหมูหมายถึง คน
เลีย้ งหมู ที่ต้องดูแลทาทุกสิ่ งทุกอย่ างตามที่พวกมันต้ องการ พวกมัน
คิดว่ าเขาเป็ นคนรับใช้ หรือข้ าทาสของพวกมัน
นักเรียน: คุณครู อ่านข้ อความทีค่ รู ไม่ เข้ าใจซ้า และเล่ าเรื่องตอนนั้นด้ วย
ครู : คนเลีย้ งหมูไม่ ยนิ ดีกบั ลูกหมูเตีย้ ถ้ าหมูเตีย้ มีชีวติ อยู่ต่อไป เจริญเติบโต
ช้ า และก่ อปั ญหาให้ มากกว่ าประโยชน์ ที่ได้ รับ เรื่ อง “หมู บินจอม
พลัง” เป็ นนิทานฝันเฟื่ องที่เกิดขึน้ ในไร่ แห่ งหนึ่งในอังกฤษ ในคืนที่
ลูกหมูตกคลอดออกมาจากท้ องแม่ หมู หนึ่งในแปดของลูกหมูเป็ นหมู
แคระแกร็น ทีเ่ รียกว่ าหมูเตีย้ แม่ หมูทุกตัววิตกกังวลที่มีหมูเตีย้ เกิดมา
เพราะต่ างอยากให้ ลูกหมูสุขภาพดี พวกหมูพูดถึงผู้เลีย้ งดูพวกมันว่ า
ต้ อ งไม่ ยิ น ดี ที่ ห มู เ ตี้ย มาเกิ ด เพราะเขาคิ ด ว่ า มั น ต้ อ งก่ อ ปั ญ หาให้
มากกว่ าประโยชน์ ฉันคาดการณ์ เอาว่ าคนเลีย้ งหมูต้องเอาหมูเตีย้ ไป
แน่ นอน แต่ แล้ วเจ้ าหมูเตีย้ อาจบิน จากไปก็ได้
นักเรียน: ครู สรุปเรื่องเล่ าสิ่ งที่สาคัญในเรื่องที่อ่านมา และยังคาดการณ์ สิ่งที่
จะเกิดขึน้ ต่ อไปอีกด้ วย
ครู : ใต้ ข้อความรายการมีช่องว่ างสาหรั บให้ ผ้ ูฟังเรื่องเขียนแสดง
ความคิดเห็น เด็กๆอยากพูดสิ่ งใดไหมเกีย่ วกับกลยุทธ์ อ่านทีค่ รู
ใช้ อยู่
นักเรียน: คุณครู ใช้ กลยุทธ์ อ่านตามรายการนี้ ผมจึงเกิดความคิด
ได้ ว่า ผมจะใช้ วธิ ีเช่ นนี่บ้างเมือ่ ผมอ่ าน
แบบใบงานกิจกรรมคิดดัง
-ชื่อผู้อ่าน..........................................................
-ชื่อเรื่องที่อ่าน...................................................
-ชื่อผู้ฟังเรื่อง....................................................
รายการทีผ่ ู้ฟังปฏิบัติ
ผู้ อ่ า นพู ด ถึ ง กลยุ ท ธ์ วิ ธี อ่ า นเหล่ า นี้ห รื อ ไม่ โปรดท าเครื่ อ งหมาย
ต่ อจากกลยุทธ์ อ่านแต่ ละข้ อทีใ่ ช้ ก่อนการอ่ าน
-คิดโยงไปถึงสิ่ งทีเ่ คยรู้ มาแล้ วในเนือ้ หาหัวข้ อเรื่องนี้
-คาดการณ์ เรื่องราวที่เกิดขึน้ และสิ่ งที่จะเกิดต่ อไป
แบบใบงานกิจกรรมคิดดัง
ขณะอ่ าน
- ตั้งคาถาม
- หาคาตอบของคาถามนั้น
- เดาหรือคาดการณ์ สิ่งที่จะเกิดขึน้
- ตรวจสอบสิ่ งที่เดาหรือสิ่ งที่คาดการณ์ ไว้
- เชื่อมโยงสิ่ งทีอ่ ่ านกับความรู้ เดิม
- ตรวจสอบความหมายโดยอ่ านซ้าทวนส่ วนที่ไม่ เข้ าใจความหมาย
- ใช้ ข้ อ ความ/ประโยคแนะความหมายเพื่ อ เรี ย นรู้ ค าใหม่ ห รื อ รู้
ความหมายของคา
-เล่ าเรื่องบางส่ วน -บรรยายภาพเรื่องราวทีอ่ ยู่ในจิตใจคน
แบบใบงานกิจกรรมคิดดัง
หลังการอ่ าน
-สรุปเรื่องราวหรือเล่ าสิ่ งทีส่ าคัญในเรื่อง
ข้ อเสนอแนะของผู้ฟัง
.................................................................................................
.................................................................................................
.................................................................................................
....................................................
แบบใบงานกิจกรรมคิดดัง
- เมื่อสาธิตการอ่ านเสร็จแล้ ว ให้ นักเรียนจับคู่และใช้ เทคนิคการอ่ านดัง
- แจกแผ่ นใบงานรายการกลยุทธ์ การอ่ านแก่ นักเรียน
- นักเรี ยนแต่ ละคู่ผลัดกันอ่ านคนละ 10 นาที โดยให้ อีกคนเป็ นคนฟัง และ
คนอ่ านต้ องหยุดอ่ านเป็ นระยะ และคิดออกมาดังๆ เหมือนทีค่ รู ทา
- คนฟั ง ตรวจสอบว่ า คนอ่ า นใช้ ก ลยุ ท ธ์ อ่ า นแบบใดในใบงานรายการ
กลยุทธ์ ทแี่ จกไป
- หากคนอ่ านไม่ ใช้ กลยุทธ์ ใด คนฟังอาจแนะนากลยุทธ์ น้ันให้ คนอ่ านลอง
ทาดู
- เมื่อหมดเวลา 10 นาที คนฟังต้ องเขียนข้ อคิดเห็นแง่ บวกว่ าคนอ่ านใช้
กลยุทธ์ อ่านได้ อย่ างไร
แบบใบงานกิจกรรมคิดดัง
- ครู คอยให้ คาชมเชย ให้ กาลังใจ และข้ อแนะนา พร้ อมทั้งเตือนเมื่อ
ใกล้ หมดเวลา
- ครู อาจช่ วยถามคาถามต่ อไปนี้
- เข้ าใจความหมายของเรื่องตอนนี้หรือไม่
- เล่ าเรื่องทีอ่ ่ านได้ ไหม
- คิดวาดภาพอะไรในใจบ้ าง
- อ่ านถึงตอนนี้คดิ ว่ าจะเกิดอะไรขึน้ ต่ อไป
กิจกรรมการสอนเพือ่ พัฒนาการคิด
ต่า
ปริมาณน้ อย
ขาดความหลากหลาย
แข็ง-เปลีย่ นแปลงยาก
ขอบเขตจากัด
ไม่ มีเอกลักษณ์ เฉพาะตัว
ไม่ มีจินตนาการ
ธรรมดา
ขาดรายละเอียด
ไม่ ตกแต่ ง
ง่ าย
ความคิดคล่อง
ความคิดยืดหยุ่น
ความคิดริเริ่ม
ความคิด
ละเอียดลออ
สู ง
ปริมาณมาก
ความหลากหลายกว้ าง
ยืดหยุ่น
ขอบเขตกว้ างขวาง
เอกลักษณ์ เฉพาะตัว
มีจินตนาการ
ไม่ ธรรมดา
มีรายละเอียด
ตกแต่ ง
ซับซ้ อน
หลักภาษาไทย
ชนิดของคา
• คานาม สามานยนาม วิสามานยนาม สมุหนาม ลักษณนาม อาการนาม
• คาสรรพนาม
• คากริยา อกรรม สกรรม วิกตรรถ กริ ยานเุ คราะห์
• คาวิเศษณ์
• คาบุพบท
• คาสั นธาน
• คาอุทาน บอกอาการ เสริ มบท
หลักภาษาไทย
วลีหรือกลุ่มคา : นามวลี
๑. นาม-ปริมาณวิเศษณ์ -ลักษณนาม แมวสี่ ตัว
๒. นาม-ปริมาณวิเศษณ์ -ลักษณนาม-นิยมสรรพนาม
๓. นาม-ลักษณนาม-ปริมาณวิเศษณ์ รถคันแรก
๔. นาม-ลักษณนาม-นิยมสรรพนาม เด็กคนนี้
๕. นาม-วิเศษณ์ บ้ านใหม่
๖. นาม-วิเศษณ์ -ลักษณนาม-นิยมสรรพนาม บ้ านใหม่ หลังโน้ น
หลักภาษาไทย
วลีหรือกลุ่มคา : นามวลี
๗. นาม-วิเศษณ์ -ปริมาณวิเศษณ์ -ลักษณนาม-นิยมสรรพนาม
๘. นาม-วิเศษณ์ -ลักษณนาม-ปริมาณวิเศษณ์
๙. นาม-ลักษณนาม-วิเศษณ์
๑๐. นาม-นาม ผู้ต้องหาคดีอาญา เจ้ าหน้ าทีเ่ ทคนิค
๑๑. นาม-บุพบท-นาม/สรรพนาม บ้ านของฉัน
หลักภาษาไทย
วลีหรือกลุ่มคา : กริยาวลี
๑. กริยา-กริยาช่ วย (กาลัง คง จะ อาจ เคย ต้ อง ไม่ น่ า มัก ชอบ
/อยู่ แล้ ว อยู่แล้ ว)
๒. กริยา-วิเศษณ์ พูดเก่ ง คิดเร็ว
๓. กริยา-ปริมาณวิเศษณ์ ไปบ่ อยมาก ดูทุกครั้ง อ่ านสามครั้ง
๔. กริยา-นิยมสรรพนาม พูดอย่ างนั้น คิดเช่ นนี้
หลักภาษาไทย
วลีหรือกลุ่มคา : กริยาวลี
๕. กริยา- วิภาคสรรพนาม คุยกัน ดืม่ บ้ าง
๖. กริยา-วลีชนิดอืน่ เล่ นนอกบ้ าน คุยเมื่อวาน
๗. กริยา-วลีชนิดอืน่ -กริยาช่ วย น่ าจะเดินอยู่นอกบ้ าน
หลักภาษาไทย
ความหมายของประโยค
ข้ อความทีไ่ ด้ ใจความสมบูรณ์ ประกอบด้ วย ภาคประธานและภาคแสดง
ภาคแสดงได้ แก่ กริยา ซึ่งมีกรรมหรือไม่ กไ็ ด้ และทั้งภาคประธาน
ภาคแสดงอาจมีส่วนขยาย(ทีเ่ ป็ นกลุ่มคาหรืออนุประโยค) เช่ น
พีท่ ากับข้ าว
พีข่ องฉัน ทา กับข้ าวหลายอย่ าง
พีช่ ายของฉันที่เพิง่ กลับจากอเมริ กา ทา กับข้ าวหลายอย่ าง
หลักภาษาไทย
ลาดับของคาในประโยค
ลาดับคาในประโยคจะบ่ งบอกหน้ าที่ของคาและความหมายของประโยค
วินจบู น้า
น้าจบู วิน
แต่ บางครั้งการลาดับคาไม่ ส่งผลต่ อการเปลีย่ นแปลงความหมายของ
ประโยค แต่ ขนึ้ อยู่กบั การเน้ นความ
เสื้อเลอะหมึก
หมึกเลอะเสื้อ
หลักภาษาไทย
ชนิดของประโยค
1. ประโยคความเดียว
ประโยคทีม่ ่ ุงกล่ าวถึงสิ่ งใดสิ่ งหนึ่ง คน สั ตว์ หรือเหตุการณ์ ที่
แสดงกิริยาอาการเพียงอย่ างเดียว
2. ประโยคความรวม
ประโยคทีม่ ขี ้ อความบริบูรณ์ มากกว่ าหนึ่งข้ อความ (ความเดียว
2 ประโยคขึน้ ไป)
หลักภาษาไทย
ชนิดของประโยค
3. ประโยคความซ้ อน
ประโยคที่มีใจความสาคัญเพียงใจความเดียวซึ่ง
ประกอบด้ วยประโยคหลักกับประโยคย่อย (ประโยคย่ อย
ความเดียว ประโยคย่ อยซ้ อน) ที่ทาหน้ าที่ประธาน ขยาย
ประธาน กรรม หรือขยายกรรม
หลักภาษาไทย
• โครงสร้ างประโยคความเดียว
ภาคประธาน
-
ประธาน
นกบิน
นกกินแมลง
นกตัวใหญ่ บิน
นกบินเร็ว
ภาคแสดง
กริ ยา
-นกกินแมลงหลายชนิด
(กรรม)
หลักภาษาไทย
โครงสร้ างประโยคความซ้ อน
ส่ วนของประโยค (ประธาน กริยา กรรม) มีการขยายความให้ รายละเอียด
โดยข้ อความทีน่ ามาขยายมีลกั ษณะเป็ นประโยค ส่ วนมากจะถูกเชื่อม
ด้ วยสั นธาน ที่ ซึ่ง อัน
- นกทีอ่ ย่ บู นต้ นไม้ บิน
- คนทางานหนักมักติดกาแฟ
- นกบินตอนทีพ่ ายพุ ดั มา
- นกกินแมลงทีอ่ ย่ บู นต้ นไม้
- ฉันไม่ ชอบคนไม่ ทางาน
หลักภาษาไทย
การสร้ างประโยคความซ้ อน
ประโยคซ้ อนทีเ่ กิดจาก ประโยคสามัญ+ประโยคสามัญ
อ.เชิดชัย เขียนหนังสือ
อ.เชิดชัยทีเ่ ป็ นครูเขียนหนังสือ
อ.เชิดชัย เป็ นครู
หลักภาษาไทย
การสร้ างประโยคความซ้ อน
ประโยคซ้ อนทีเ่ กิดจาก ประโยคสามัญ+ประโยคความรวม
อ.เชิดชัย เขียนหนังสือ
+
หนังสือมีเนื้อหาดีและทารูปเล่ มสวย
อ.เชิดชัยเขียนหนังสือทีม่ ีเนื้อหาดีและทารูปเล่ มสวย
หลักภาษาไทย
การสร้ างประโยคความซ้ อน
ประโยคซ้ อนทีเ่ กิดจาก ประโยคสามัญ+ประโยคซ้ อน
อ.เชิดชัย เขียนหนังสือ
+
หนังสือทีส่ านักพิมพ์สนใจมีหลายเล่ ม
อ.เชิดชัยเขียนหนังสือทีส่ านักพิมพ์สนใจ (มี)หลายเล่ ม
หลักภาษาไทย
โครงสร้ างประโยคซ้ อนขยายประธาน
นักเรียนที่ได้ รับรางวัล เป็ น ลูกผู้อานวยการ
อาหารซึ่งทาตั้งแต่ เมื่อเช้ า ไม่ มีใครกิน
ครู ทมี่ าใหม่ จบจากต่ างประเทศ
หลักภาษาไทย
โครงสร้ างประโยคซ้ อนขยายกรรม
นักเรียนชอบภาษาไทยทีค่ รู สมศรีสอน
คนต่ างชาติสนใจอาหารไทยที่มีรสไม่ เผ็ด
ครู ส่งรายงานทีเ่ พิง่ เขียนเสร็จให้ ผู้อานวยการ
หลักภาษาไทย
โครงสร้ างประโยคซ้ อนขยายกริยา
ตอนที่เธอเป็ นนักเรียน เธอซนมาก
ครู บอกฉันว่ าให้ ส่งรายงานภายในวันนี้
ฉันจะรายงานผอ. หลังจากที่ไปกินข้ าวเที่ยงแล้ว
หลักภาษาไทย
ข้ อสั งเกต
๑. ประโยคซ้ อนอาจมีประโยคย่ อยเป็ นประธานของประโยคหลัก
คนไม่ ทางานชอบประจบเจ้ านาย
๒. ประโยคซ้ อนอาจมีประโยคย่ อยเป็ นกรรมของประโยคหลัก
ฉันไปดูเขาอภิปรายโจมตีรัฐบาล
เห็นไหม เขาทางานไม่ เป็ น
* ไม่ มีสันธานหรือคาเชื่อมใดๆ
หลักภาษาไทย
ข้ อสั งเกต
๓. สั นธานอืน่ ๆ ทีป่ รากฏในประโยคซ้ อน (ทีเ่ ชื่อมประโยคหลักกับประโยคย่ อย)
๓.๑ สั นธานที่เชื่อมประธานของประโยคหลัก เช่ น ที่ การที่ อย่ าง ที่ว่า
ตามที่ว่า อย่ างที่ว่า
๓.๒ สั นธานที่เชื่อมขยายกริยาของประโยคหลัก ได้ แก่
๓.๒.๑ ความหมายเกีย่ วกับเวลา เช่ น ก่ อน ก่ อนหน้ า พอ ทันทีที่
ขณะที่ จน กระทัง่ เมื่อ ตั้งแต่ ระหว่ างที่ ตอนที่
หลักภาษาไทย
ข้ อสั งเกต
๓.๒.๒ ความหมายเกีย่ วกับเหตุ เช่ น เพราะ ก็เพราะ
เพราะว่ า โดยเหตุที่ เนื่องจาก ด้ วยเหตุที่
๓.๒.๓ ความหมายเกีย่ วกับความมุ่งหมาย เช่ น เพือ่ ก็เพือ่
เพือ่ ให้ เพือ่ ทีว่ ่ า
๓.๒.๔ ความหมายเกีย่ วกับเงื่อนไข เช่ น ถ้ า หาก แม้
ทัง้ ๆ ที่ ต่ อเมื่อ นอกเสียจาก เว้ นเสียแต่ เว้ นแต่ ถ้ าเผื่อว่ า
หลักภาษาไทย
ข้ อสั งเกต
๓.๒.๕ ความหมายเกีย่ วกับการประมาณ เช่ น
อย่ างกับ ราวกับ เท่ ากับที่ ดุจดัง เสมือนหนึ่ง ประดุจ
๓.๒.๖ ความหมายเกีย่ วกับผล เช่ น จน กระทัง่
หลักภาษาไทย
ประโยคความรวม
ประโยคความเดียว
ประธาน
ภาคแสดง
สั นธาน ประโยคความเดียว
ประธาน
ภาคแสดง
โดยมากมักจะเชื่อมด้ วยสั นธาน แต่ จึง หรือ และ
หลักภาษาไทย
- เขาชอบเรียนหนังสือและเล่ นกีฬา
- นักเรียนชายชอบเรียนวิทยาศาสตร์ แต่ นักเรียนหญใิงชอบเรียน
ภาษา
- ตารวจยิงโดนผ้ รู ้ ายหรือโดนผ้ รู ้ ายยิง
- มรสุมพัดถล่ มพืน้ ทีภ่ าคใต้ หลายโรงเรี ยนจึงประกาศหยดุ เรี ยน
- เขานอนหลับแล้ วจะไปทางานได้ ยงั ไง
วรรณคดี
ตรีมิตใิ นการจัดการเรียนรู้วรรณคดี
๑. การสอนวรรณคดี ใ นฐานะเป็ นมรดกทาง
วัฒนธรรม
๒. การสอนวรรณคดีในฐานะเป็ นศิลปภาษา
๓.การสอนวรรณคดีในฐานะเป็ นประสบการณ์ ชีวิต
วรรณคดี
จตุรวิธีในการสอนวรรณคดีเชิงวิจกั ษณ์
๑. รอบรู้ ศัพท์
๒. สดับเสี ยง
๓. เรียงจินตภาพ
๔. ทราบข้ อคิด
วรรณคดี
วิธีจดั การเรียนรู้ วรรณคดี
๑. วิธีในการถอดคาประพันธ์ (paraphrastic approach)
๒. วิธีการวิเคราะห์ (analytical approach )
๓. วิธีการทางจิตวิทยา (psychological approach)
๔. วิธีการทางอารมณ์ (emotional approach)
๕. วิธีการตอบสนอง (responding approach)
๖. วิธีการทางศีลธรรม (didactic approach)
๗. วิธีการทางประวัติศาสตร์ (historical approach)
วรรณคดี
มโนทัศน์ ทคี่ ลาดเคลือ่ นในการจัดการเรียนรู้ วรรณคดี
๑. เป้าหมายหลักในการจัดการเรียนรู้ วรรณคดีไทย คือ การสอน
คุณธรรมและจริยธรรม
๒. วิธีสอนบรรยายเป็ นวิธีการจัดการเรียนรู้ วรรณคดีไทยที่มี
ประสิ ทธิภาพมากทีส่ ุ ด
๓. การจัดการเรียนรู้ วรรณคดีไทย คือ การสร้ างความเข้ าใจประวัติ
วรรณคดีและเนือ้ เรื่อง
๔. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ วรรณคดี ต้ องเน้ นการวัด
ความรู้ ด้านเนือ้ หา
กิจกรรมและเทคนิคการเรียนการสอน
ภาษาไทย
เทคนิคการสอนภาษาไทย
เทคนิคการสอน หมายถึง กลวิธีหรื ออุปกรณ์ ต่างๆ ที่ครู
น ามาใช้ เ พื่อ ส่ งเสริ ม หรื อ สนั บ สนุ น ให้ ผู้ เ รี ย นเกิดการ
เรียนรู้ ตามจุดประสงค์ การเรียนรู้ ได้ ดียิ่งขึน้ รวดเร็วขึน้
หรือสะดวกขึน้
เทคนิคการสอนภาษาไทย
ตัวอย่ างการออกแบบการใช้ เทคนิคการสอน
กระบวน
การสอน
ขั้นนา
ขั้นสอน
ขั้นสรุป
การใช้ การใช้ การใช้
เกม เพลงและ สื่อ
คีตลีลา
มวลชน
การใช้
ศิลปะ
การใช้
คาถาม
พัฒนา
การคิด
การใช้
แผนภาพ/
แผนผัง




เทคนิคการสอนภาษาไทย
เกมเดินตามตัวอักษร
จุดประสงค์ : ฝึ กแต่ งประโยคและทบทวนศัพท์
1. นึกถึงชื่อคน สถานที่ และคาศัพท์ ทอี่ ธิบายคุณสมบัตขิ องคนๆ นั้น
2. ผู้สอนบอกตัวอักษรหนึ่งตัวแก่ นักเรียน เช่ น บ แล้ วให้ นักเรียน
แต่ งประโยค 3 ประโยค ดังนี้
- ฉันรู้ จกั คนคนหนึ่ง ชื่อ บดินทร์
- เขาอยู่ที่ บ่ อทอง
- เขาเป็ นคน บ้ องแบ๊ ว
เทคนิคการสอนภาษาไทย
เกมหมวดหมู่คา
จุดประสงค์ : จาแนกชนิดของคาและทบทวนคาศัพท์
1. สร้ างตารางในกระดาษโดยแบ่ งเป็ น 4 คอลัมน์
เทคนิคการสอนภาษาไทย
เกมหมวดหมู่คา
2. สุ่ มเลือกตัวอย่ างอักษรทีน่ ักเรียนเสนอ นามาใส่ ในคอลัมน์ แรก
ค
พ
น
อืน่ ๆ
เทคนิคการสอนภาษาไทย
เกมหมวดหมู่คา
3. สุ่ มประเภทของคา เช่ น คานาม ได้ แก่ สั ตว์ อาหาร ผลไม้
สี ฯลฯ มาใส่ ในคอลัมน์ ทสี่ อง
ค
สั ตว์
พ
อาหาร
น
สี
อืน่ ๆ
เทคนิคการสอนภาษาไทย
เกมหมวดหมู่คา
4. นักเรียนคาศัพท์ ตามหมวดทีป่ รากฏในคอลัมน์ ทสี่ อง และ
ขึน้ ต้ นด้ วยพยัญชนะตามทีร่ ะบุในคอลัมน์ แรก เช่ น
ค
สั ตว์
ควาย
พ
อาหาร
พะแนง
น
สี
นา้ เงิน
อืน่ ๆ
เทคนิคการสอนภาษาไทย
เกมหมวดหมู่คา
5. ใส่ คะแนนในคอลัมน์ สุดท้ ายขวามือ โดยมีเกณฑ์ ว่า ตอบได้ ถูกต้ อง
ได้ 1 คะแนน และคาตอบต่ างจากเพือ่ น (ไม่ ซ้า) ได้ 2 คะแนน เช่ น
ค
พ
น
อืน่ ๆ
สั ตว์
อาหาร
สี
ควาย
พะแนง
นา้ เงิน
1
2
1
เทคนิคการสอนภาษาไทย
เกมทดสอบการอ่ าน
ฝนตกปรอยกรกนกคนตลกชวนดวงกมลคนผอมรอชมภมรดม
ดอมดอกขจรสองคนชอบจอดรถตรงตรอกยอมทนอดนอนอดกรน
รอยลภมรดมดอกหอมบนขอนตรงคลองมอญลมบนหวนสอบจน
ปอยผมปรกคอสองสมรสมพรคนจรพบสองอรชรสมพรสมปองสอง
สมรยอมลงคลองลอยคอมองสองอรชรมองอกมองคอมองผมมอง
จนสองคนฉงนสมพรบอกชวนสองคนถอนสมอลงชลลองสองหน
สองอรชรถอยหลบสมพรวอนจนพลพรรคสดสวยหมดสนกรกนก
ชวนดวงกมลชงนมผงรอชมภมรบนดอนตรงจอมปลวก
เทคนิคการสอนภาษาไทย
เทคนิคการใช้ เพลงและคีตลีลา
หมายถึง การใช้ เพลงหรือท่ วงทานอง การอ่ าน การขั บ
การเห่ การกล่ อ ม การร้ อง หรื อ การแสดงลี ล าการ
เคลื่ อ นไหวประกอบจั ง หวะอื่ น ๆ ในการสร้ างความ
น่ าสนใจหรือเป็ นสื่ อในการเรียนรู้
เทคนิคการสอนภาษาไทย
เทคนิคการใช้ เพลงและคีตลีลา
ตัวอย่ างการสอนมาตราตัวสะกด
เพลง “แม่ กก”
อยากถามทรามวัย แม่ กกไงจาได้ ไหมว่ า ตัวสะกด
ไม่ ตรงมาตรา แม่ กกหนามีตัวอะไร จาไว้ ให้ ดี ขอ คอ
นีจ้ าให้ ขนึ้ ใจ อีก ฆอ ระฆัง นั่นไง จาไว้ จาไว้ ให้ ดี
เทคนิคการสอนภาษาไทย
การใช้ สื่อมวลชน
สื่ อ มวลชนทั้ ง ในรู ป แบบข่ า วสาร สารคดี ละคร รายการ
โทรทัศน์ โฆษณา ฯลฯ มีประโยชน์ ต่อการพัฒนาความรู้ เกี่ยวกับ
หลัก การใช้ ภ าษาไทยทั้ ง สิ้ น เพราะข้ อ ดีป ระการหนึ่ ง ของการใช้
เทคนิ ค การสอนโดยอาศั ย สื่ อ สารมวลชนก็ คื อ การปรากฏขึ้ น
ในบริบทของการใช้ ภาษาจริง ผู้เรียนจะได้ สังเกตตัวอย่ างของการใช้
ภ า ษ า ที่ ป ร า ก ฏ ใ น สื่ อ ส า ร ม ว ล ช น ห รื อ ใ ช้ ใ น ก า ร สื่ อ ส า ร
ในชีวติ ประจาวัน
เทคนิคการสอนภาษาไทย
107
เทคนิคการสอนภาษาไทย
108
เทคนิคการสอนภาษาไทย
พุทธิพสิ ั ยตาม
แนวคิดของ Bloom
(1956)
แนวคิดทีป่ รับปรุงใหม่ ของ Anderson และ Krathwohl (2001)
พุทธิพสิ ั ย
1. ความรู้
1. จา
(knowledge)
(remembering)
2. ความเข้ าใจ 2. เข้ าใจ
comprehension (understanding)
3. การ
ประยุกต์
(application)
3. ประยุกต์
(applying)
พฤติกรรม
ตัวอย่ างคาถามพัฒนาการคิด
จา ระลึก หรือเรียกคืน
ความรู้ ทอี่ ยู่ในความทรงจาได้
-คานามคืออะไร
-คานีส้ ะกดด้ วยอักษรใดบ้ าง
สร้ างความหมายจากสิ่ ง -ทฤษฎีหรือหลักการนี้
หมายความว่ าอย่ างไร
ต่ างๆ
ใช้ ความคิดในเชิง
กระบวนการ (procedure)
เกีย่ วกับการปฏิบัติใน
สถานการณ์ ทกี่ าหนดให้ หรือ
ในบริบทใหม่
-เราจะพิจารณาอย่ างไรว่ า คาใด
เป็ นคาเป็ นและคาใดเป็ นคาตาย
-คาบุพบททีค่ วรนามาใช้ ใน
ข้ อความนีค้ อื อะไร
-การแก้ ไขถ้ อยคาหรือประโยคนี้
ใช้ ชัดเจนยิง่ ขึน้ ทาอย่ างไร
เทคนิคการสอนภาษาไทย
พุทธิพสิ ั ยตาม
แนวคิดของ Bloom
(1956)
4. การวิเคราะห์
(analysis)
แนวคิดทีป่ รับปรุงใหม่ ของ Anderson และ Krathwohl (2001)
พุทธิพสิ ั ย
4. วิเคราะห์
(analyzing)
พฤติกรรม
จาแนกมโนทัศน์ หรือสิ่ งที่
ศึกษาออกเป็ นส่ วนๆ และ
พิจารณาว่ าสั มพันธ์ กนั อย่ างไร
5. การสั งเคราะห์ 5. การประเมินค่า ตัดสิ นใจเชิงคุณค่ าเกีย่ วกับสิ่ง
(evaluating)
ที่ศึกษา โดยใช้ เกณฑ์ หรือ
(synthesis)
มาตรฐานการคิด
6. การประเมิน 6. การสร้ างสรรค์ นาความรู้ ทักษะหรือ
ใหม่
แนวความคิดเกีย่ วกับข้ อมูล
ค่ า
(creating)
ต่ างๆมาหลอมรวมเพือ่ สร้ าง
(evaluation)
เป็ นสิ่ งใหม่
ตัวอย่ างคาถามพัฒนาการคิด
-คานีเ้ หมือน/คล้ าย/ต่ างจากคานี้
อย่ างไร
-เรื่องนีก้ ่ อให้ เกิดผลอย่ างไรต่ อไป
-เรื่องนีม้ คี ุณค่ าต่ อสั งคมหรือการ
ดาเนินชีวติ ประจาวันมากน้ อย
เพียงใด เพราะอะไร
-จากหลักการ ความรู้ ทไี่ ด้ ศึกษา
ไปจะวางแผนดาเนินการหรือ
สร้ างวิธีการดาเนินการอย่ างไร
-ความรู้เรื่องนีส้ ามารถสร้ าง
110 อะไร
แนวคิดความคิดหรือสิ่ งใหม่
เทคนิคการสอนภาษาไทย
การใช้ แผนผังกราฟิ ก
แผนผังกราฟิ ก (graphic organizers) หรืออีกชื่อหนึ่งคือ
แผนภาพความหมาย (semantic organizers) เป็ นเทคนิค
การสอนที่พฒ
ั นาขึน้ จาก “ทฤษฎีปัญญาการเรียนรู้ ด้วยการ
รับอย่ างมีความหมาย” (cognitive theory of meaningful
reception learning) ของ Ausubel (1963,1968)
เทคนิคการสอนภาษาไทย
แผนผังก้ างปลา (Fishbone diagrams)
112
เทคนิคการสอนภาษาไทย
แผนผังวงจร (Cycle diagrams)
113
เทคนิคการสอนภาษาไทย
แผนผังดวงดาว (Star diagrams)
เทคนิคการสอนภาษาไทย
เกณฑ์ การประเมินผลงาน
ผลงานที่แสดงการคิดวิเคราะห์
1. แผนภาพสรุป
ความคิดรวบยอด
4
ระดับคุณภาพของผลงานทีแ่ สดงการคิดวิเคราะห์ แต่ ละระดับ
- จัดทาแผนภาพเป็ นระบบ
- วิเคราะห์ เนือ้ หาครบถ้ วนทุกประเด็น
- วิเคราะห์ เนือ้ หาถูกต้ อง
- สื่ อความหมายชัดเจน เข้ าใจง่ าย
- สี สันและภาพประกอบสวยงาม
3
- จัดทาแผนภาพเป็ นระบบ
- วิเคราะห์ เนือ้ หาไม่ ครบถ้ วน
- วิเคราะห์ เนือ้ หาถูกต้ อง
- สื่ อความหมายชัดเจน เข้ าใจง่ าย
- สี สันและภาพประกอบสวยงาม
2
- จัดทาแผนภาพเป็ นระบบ
- วิเคราะห์ เนือ้ หาไม่ ครบถ้ วน
- วิเคราะห์ เนือ้ หาถูกต้ อง
- สื่ อความหมายไม่ ชัดเจน
- สี สันและภาพประกอบสวยงาม
1
- จัดทาแผนภาพไม่ เป็ นระบบ
- วิเคราะห์ เนือ้ หาไม่ ครบถ้ วน
- วิเคราะห์ เนือ้ หาไม่ ถูกต้ อง
- สื่ อความหมายไม่ ชัดเจน
- สี สันและภาพประกอบสวยงาม
เทคนิคการสอนภาษาไทย
ตัวอย่ างสาระการเรียนรู้ เรื่องการสร้ างคาทีเ่ น้ นการคิดวิเคราะห์
ขั้นตอน
กิจกรรม
1. การจาแนก 1.1 ให้ นักเรียนพิจารณาชื่อจังหวัดต่ อไปนี้
ส่ วนประกอบ อ่างทอง นครราชสี มา น่ าน นนทบุรี แพร่ เลย ขอนแก่น นราธิวาส
เชียงใหม่ ยะลา สตูล ลาพูน อุตรดิตถ์ นครนายก พิจิตร
1.2 แบ่ งกลุ่มนักเรียนให้ จาแนกชื่อจังหวัดในข้ อ 1.1 โดยพิจารณา
โครงสร้ างของคา (แบ่ งได้ เป็ น 3 กลุ่มดังนี้ กลุ่มที่ 1 : แพร่ เลย
ยะลา สตูล พิจิตร น่ าน กลุ่มที2่ : ลาพูน เชียงใหม่ อ่ างทอง
ขอนแก่น กลุ่มที่ 3 : นนทบุรี นครราชสี มา อุตรดิตถ์ นครนายก
นราธิวาส)
เทคนิคการสอนภาษาไทย
ตัวอย่ างสาระการเรียนรู้ เรื่องการสร้ างคาทีเ่ น้ นการคิดวิเคราะห์
ขั้นตอน
2. การพิจารณา
ความสั มพันธ์
3. การพิจารณา
ข้ อสรุป
กิจกรรม
2.1 ให้ นักเรียนพิจารณาความสั มพันธ์ ของชื่อจังหวัดที่จาแนกได้
2.2 นาเสนอคาตอบเพือ่ แลกเปลีย่ นเรียนรู้ ร่วมกัน (กลุ่มที่ 1 คามูล
พยางค์ เดียวหรือหลายพยางค์ กลุ่มที่ 2 คาประสม นาคามูลมา
รวมกัน กลุ่มที่ 3 คาสมาส
3.1 นักเรียนแต่ ละกลุ่มช่ วยกันสรุ ปหลักสั งเกตคามูล คาประสม
และคาสมาส
3.2 นาเสนอข้ อสรุ ปของแต่ ละกลุ่ม ครู และนักเรียนช่ วยกัน
พิจารณาความถูกต้ อง
กิจกรรมการเรียนการสอน
รูปแบบการสอนมโนทัศน์
ขั้นตอนที่ ๑ การนาเสนอข้ อมูลและการระบุมโนทัศน์
- ครูนาเสนอข้ อมูล ๒ ประเภท (ใช่ /ไม่ ใช่ )
- นักเรียนพิจารณาลักษณะร่ วมของข้ อมูลและ
- จดบันทึกเป็ นสมมุตฐิ านว่ าคืออะไร มีลกั ษณะ
สาคัญอย่ างไร
กิจกรรมและเทคนิคการเรียนการสอน
รูปแบบการสอนมโนทัศน์
ขั้นตอนที่ ๒ การทดสอบความเข้ าใจมโนทัศน์
- ครูนาเสนอตัวอย่ างชุดใหม่
- นักเรียนระบุด้วยตัวเอง (ใช่ /ไม่ ใช่ )
- นักเรียนปรับปรุงสมมุตฐิ าน
- นักเรียนยกตัวอย่างข้ อมูล
กิจกรรมและเทคนิคการเรียนการสอน
รูปแบบการสอนมโนทัศน์
ขั้นตอนที่ ๓ การวิเคราะห์ กลยุทธ์ การคิด
- นักเรียนวิเคราะห์ กลยุทธ์ โดยอธิบายวิธีคดิ ของตนเอง
- นักเรียนแต่ ละคนนาเสนอกระบวนการคิด
- ครูและนักเรียนช่ วยกันสรุป และระบุชื่อมโนทัศน์
ลักษณะสาคัญ คุณสมบัติ
กิจกรรมและเทคนิคการเรียนการสอน
รู ปแบบการสอนมโนทัศน์
การสอนเรื่อง “คาเป็ น” ใช้ บัตรคา
เป็ นมโนทัศน์
กา
ตู้
รอ
สี
บัตรคา
ไม่ เป็ นมโนทัศน์
กะ
ตุ
เราะ
สิ
กิจกรรมและเทคนิคการเรียนการสอน
รู ปแบบการสอนกระบวนการคิดแก้ ปัญหา (Problem solving)
การคิดแก้ ปัญหาประกอบด้ วยกระบวนการ 5 ขั้นตอน ได้ แก่
1. การระบุปัญหา
2. การกาหนดนิยามปัญหาและเป้ าหมายในการแก้ ปัญหา
3. การสารวจและเลือกวิธีแก้ ปัญหา
4. การใช้ วธิ ีแก้ ปัญหา
5. การตรวจสอบและประเมินวิธีแก้ ปัญหา
กิจกรรมและเทคนิคการเรียนการสอน
การจัดกระบวนการเรียนรู้ ตามกระบวนการคิดแก้ ปัญหา
ขั้นตอนการจัดการเรียนรู้
1. การระบุปัญหา
กิจกรรมการเรียนรู้
คาอธิบาย
1.1 ครู สนทนากับนักเรียน
เกีย่ วกับการสร้ างคา แล้วให้
พิจารณาตัวอย่าง และใช้ คาถาม
พัฒนาการคิดเพือ่ ระบุประเด็น
ปัญหา
1.2 นักเรียนต้ องเข้ าใจปัญหา
ให้ ชัดเจนด้ วยการวิเคราะห์ จาก
ประสบการณ์ ของตนเอง
ปัญหาทีน่ ักเรียนเผชิญ
ในทีน่ ีค้ อื คาทีจ่ ะนามา
สร้ างคา เป็ นคาอะไร
ได้ บ้าง มีโครงสร้ าง
ของคาอย่ างไร
123
กิจกรรมและเทคนิคการเรียนการสอน
การจัดกระบวนการเรียนรู้ ตามกระบวนการคิดแก้ ปัญหา
ขั้นตอนการจัดการเรียนรู้
2. การกาหนดนิยาม
ของปัญหาและ
เป้าหมายในการ
แก้ ปัญหา
กิจกรรมการเรียนรู้
2.1 นักเรียนช่ วยกันกาหนดนิยามของ
ปัญหา โดยใช้ คาถามพัฒนาความคิด
-ไม่ เข้ าใจองค์ ประกอบของคา
-ไม่ มคี วามรู้ เรื่องชนิดของคา
-ไม่ เข้ าใจโครงสร้ างของคา ฯลฯ
จากนั้นแบ่ งกลุ่มให้ ไปสื บค้ นข้ อมูล
เพือ่ นามาแก้ ปัญหา นาข้ อมูลมา
อภิปรายร่ วมกัน ครู อธิบาย
คาอธิบาย
ครูต้องให้ นักเรียน
วิเคราะห์ ปัญหา
ออกเป็ นประเด็น
ต่ างๆ สาหรับการ
รวบรวมข้ อมูล
เบือ้ งต้ นเพือ่ หา
คาตอบ
กิจกรรมและเทคนิคการเรียนการสอน
การจัดกระบวนการเรียนรู้ ตามกระบวนการคิดแก้ ปัญหา
ขั้นตอนการจัดการเรียนรู้
3. การสารวจและ
เลือกวิธีแก้ ปัญหา
กิจกรรมการเรียนรู้
3.1 นักเรียนสารวจและเลือกวิธี
แก้ปัญหาโดยใช้ คาถามพัฒนาความคิด
-จากการรวบรวมข้ อมูลเบือ้ งต้ นเพือ่ ทา
ความเข้ าใจปัญหานักเรียนจะใช้ วิธีการ
แก้ ปัญหาใด เพราะเหตุใด (แนวคาตอบ
: ใช้ วธิ ีอภิปรายกลุ่ม, ใช้ วธิ ีแลกเปลีย่ น
เรียนรู้ กบั เพือ่ น, สอบถามผู้เชี่ยวชาญ
ฯลฯ)
คาอธิบาย
ข้ อมูลทีร่ วบรวมยัง
ไม่ ใช่ คาตอบ ครู ต้องให้
นักเรียนตัดสิ นใจว่ าจะ
เลือกใช้ วธิ ีการใด ทั้งนี้
ครู อาจเสนอแนะวิธี
เพิม่ เติม แต่ ควรให้
นักเรียนเลือกวิธีการ
เองก่อน
กิจกรรมและเทคนิคการเรียนการสอน
การจัดกระบวนการเรียนรู้ ตามกระบวนการคิดแก้ ปัญหา
ขั้นตอนการจัดการเรียนรู้
4. การดาเนินการ
ใช้ วธิ ีแก้ ปัญหา
กิจกรรมการเรียนรู้
คาอธิบาย
4.1 นักเรียนดาเนินการตาม ครูสังเกตพฤติกรรมการ
วิธีทไี่ ด้ เลือก จากนั้นร่ วม แก้ปัญหา และให้ คาแนะนา
พร้ อมทั้งบันทึกคาตอบของ
สรุปคาตอบว่ าวิธีการ
แต่ ละกลุ่มไว้ แล้วให้ นักเรียน
ขั้นตอนแก้ปัญหามี
ทั้งชั้นช่ วยกันสรุ ปขั้นตอน
อะไรบ้ าง
การแก้ปัญหาเพือ่ ใช้ คาตอบ
4.2 ให้ นักเรียนวิเคราะห์
เป็ นแนวทางสร้ างคา
โครงสร้ างของคา หรือสร้ าง
คาใหม่ ตามใบงานทีก่ าหนด
กิจกรรมและเทคนิคการเรียนการสอน
การจัดกระบวนการเรียนรู้ ตามกระบวนการคิดแก้ ปัญหา
ขั้นตอนการจัดการเรียนรู้
5. การตรวจสอบ
และประเมินวิธี
แก้ ปัญหา
กิจกรรมการเรียนรู้
5.1 ครู และนักเรียนร่ วมกันพิจารณา
คาทีส่ ร้ างขึน้ และประเมินวิธี
แก้ปัญหาด้ วยคาถามพัฒนาความคิด
-วิธีการที่นักเรียนใช้ แก้ปัญหามีข้อดี
และข้ อเสี ยอย่างไร
-คาทีส่ ร้ างขึน้ มีลกั ษณะอย่ างไร
ความหมายอย่างไร
-มีวธิ ีการอืน่ หรือไม่ ทจี่ ะสร้ างคาได้
หลากหลายกว่ านี้
คาอธิบาย
หลังจากแก้ปัญหา
แล้ว นักเรียนต้ อง
ประเมินว่ าวิธีการมี
ประสิ ทธิภาพหรือไม่
นักเรียน
อาจอภิปรายร่ วมกัน
แล้วสรุปเป็ น
แผนภาพ
กิจกรรมและเทคนิคการเรียนการสอน
ตัวอย่ างใบงาน เรื่องการสร้ างคาในภาษาไทย
คาอธิบาย พิจารณาคาทั้งสองกลุ่มต่ อไปนี้ แล้ วยกตัวอย่ างคาเพิม่
กลุ่มละ 6 คาลงในช่ องว่ าง โดยคาที่เติมต้ องมีโครงสร้ างคา
สอดคล้ องกับคาอืน่ ๆ ในกลุ่มด้ วย
กลุ่มที่ 1
นา้ ตา แผ่นดิน ผ้าป่ า
นางฟ้า พระสงฆ์ เครื่องนอน
............ ............. ..............
............ ............. ..............
กลุ่มที่ 2
พระพิมพ์ กรุ งเก่ า
นา้ ค้ าง ทางลัด
............. ............
............ .............
ตุ๊กตาไม้
ผู้เรียน
............
............
กิจกรรมและเทคนิคการเรียนการสอน
กระบวนการคิด
1.ปัญหาคืออะไร
2. ต้ องค้ นคว้ าเรื่องอะไรเพิม่ เติม
3. วิธีแก้ ปัญหาทาอย่ างไร
4. การเติมคาในกลุ่มที่ 1 นักเรียนใช้ หลักการใด
5. การเติมคาในกลุ่มที่ 2 นักเรียนใช้ หลักการใด
6. มีวธิ ีการอืน่ ที่ง่ายกว่ าหรือไม่ อย่ างไร
คาตอบ
กิจกรรมและเทคนิคการเรียนการสอน
รู ปแบบการสอนกระบวนการคิดแก้ปัญหาด้ วยเรื่อง
ขาขัน
เน้ นการใช้ ประโยชน์ จากกลุ่มและเทคนิค
การระดมสมองทุกขั้นตอน ผู้เรียนสามารถใช้ ความรู้
ที่ได้ มาแก้ปัญหา
กิจกรรมและเทคนิคการเรียนการสอน
รู ปแบบการสอนกระบวนการคิดแก้ ปัญหา
ตัวอย่ างการสอนสาระการอ่ านและการเขียน (ปรับจาก
สานวน นิรัตติมานนท์ , ม.ป.ป.)
เรื่อง “เรียกพ่ อซิลูก”
วันหนึ่งขณะทีแ่ ม่ และลูกสาววัยรุ่นกาลังนั่งดูโทรทัศน์
กันอยู่ในบ้ านอย่ างอบอุ่น มีผ้ ูชายรู ปร่ างสู งใหญ่ แต่ งกายภูมฐิ าน
เดินเข้ าในบ้ านพร้ อมกล่ าวทักทาย
กิจกรรมและเทคนิคการเรียนการสอน
รู ปแบบการสอนกระบวนการคิดแก้ ปัญหา
ผู้ชาย : สวัสดีครับ
แม่ : สวัสดีค่ะ และหันกลับมาบอกลูกสาวว่ า “หญิงเรียกพ่ อสิ ลูก”
ลูกสาว : ทาหน้ างง พลางคิดในใจ “ฉันมีพ่อเพียงคนเดียว คนนีไ้ ม่ ใช่
พ่อฉัน หรือว่ าแม่ ของฉันมีสามีใหม่ เป็ นไปไม่ ได้ ”
ลูกสาวเงยหน้ ามองแล้ งก็ก้มหน้ าลง แต่ ในใจลึกๆ คิดเสี ยใจ
เป็ นอย่ างมาก และบอกกับตัวเองว่ า “ไม่ จริง”
กิจกรรมและเทคนิคการเรียนการสอน
รู ปแบบการสอนกระบวนการคิดแก้ ปัญหา
แม่ : แม่ บอกให้ เรียกพ่อไงจ๊ ะ เรียกพ่อสิ (แม่ เริ่มโมโหทีล่ ูกสาว
ไม่ ยอมเรียกพ่อ)
ลูกสาว : คิดในใจ “ไม่ ฉันไม่ ยอมรับนายคนนีเ้ ป็ นพ่อเด็ดขาด
เขาไม่ ใช่ พ่อฉัน ฉันมีพ่อเพียงคนเดียวเท่ านั้น
แม่ : โมโห ตบลูกสาวฉาดใหญ่ ดงั เพีย๊ ะ !!
กิจกรรมและเทคนิคการเรียนการสอน
รู ปแบบการสอนกระบวนการคิดแก้ ปัญหา
ผู้ชาย : ตกใจ บอกผู้เป็ นแม่ ว่า “อย่ าทาครับ อย่ าทา เขาไม่ เรียก
ก็ไม่ เป็ นไร ผมทนรอได้ ครับ”
ในขณะนั้น ลูกสาวเจ็บทั้งตัวและเจ็บทั้งใจ และครุ่นคิดว่ า
ทาไมแม่ ถึงทาแบบนี้ พลางร้ องไห้ ไป สะอึกสะอืน้ ไป
แม่ : ตบลูกสาวอีกฉาดใหญ่ แล้ วบอกว่ า “แกนี่เรียกพ่ อสิ ทาไม
ไม่ เรียกพ่อ”
กิจกรรมและเทคนิคการเรียนการสอน
รูปแบบการสอนกระบวนการคิดแก้ ปัญหา
ลูกสาว : สะอึกสะอืน้ กลั้นใจพูดออกมาเบาๆ ว่ า “พ่ อ”
แม่ : แกเรียกเบาๆ แบบนี้ พ่อแกอยู่หลังบ้ านจะได้ ยนิ เหรอ
รีบไปบอกพ่อแกเลยนะว่ า ผู้จัดการธนาคารเขามา เร็วๆ
เลยนะ เดี๋ยวนีเ้ ลย
กิจกรรมและเทคนิคการเรียนการสอน
รู ปแบบการสอนกระบวนการคิดแก้ ปัญหา
เมื่อนักเรี ยนอ่ านเรื่ องจบแล้ ว ให้ นักเรี ยนคิดวิเคราะห์ วจิ ารณ์
เรื่ องที่อ่าน ดังนี้
- การใช้ ภาษาสื่ อความหมายถูกต้ องหรือไม่ อย่ างไร
- ใครคือคนทีใ่ ช้ ภาษาสื่ อความหมายไม่ ถูกต้ อง เพราะอะไร
- ลูกสาวเป็ นคนโง่ หรือคนฉลาดเพราะอะไร
- ใครคือคนทีเ่ ข้ าใจผิด ระหว่ างลูกหรือผู้มาเยือน เพราะอะไร
กิจกรรมและเทคนิคการเรียนการสอน
รู ปแบบการสอนกระบวนการคิดแก้ปัญหา
- แม่ โมโหลูกสาวทาไม
- ทาไมลูกสาวจึงร้ องไห้
กิจกรรมและเทคนิคการเรียนการสอน
รู ปแบบการสอนกระบวนการคิดแก้ ปัญหา
การแก้ ไขภาษาให้ สื่อความหมายทีถ่ ูกต้ องชัดเจน
1. หญิงเรียกพ่ อสิ ลูก
หญใิงลกุ ขึน้ ไปเรี ยกคณ
ุ พ่ อทีท่ างานอย่ ขู ้ างหลังบ้ านสิลกู
2. แม่ บอกให้ เรียกพ่อไงจ๊ ะ เรียกพ่อสิ
แม่ บอกให้ ไปเรี ยกคณ
ุ พ่ อทีท่ างานอย่ หู ลังบ้ านไงจ๊ ะ ลกุ ขึน้
ไปเรี ยกคณ
ุ พ่ อมาสิ
กิจกรรมและเทคนิคการเรียนการสอน
รู ปแบบการสอนกระบวนการคิดแก้ ปัญหา
3. อย่ าทาครับ อย่ าทา เขาไม่ เรียกไม่ เป็ นไร ผมทนรอได้ ครับ
อย่ าทาครั บ อย่ าทาลกู เลยครั บ เขาไม่ ไปเรี ยกคณ
ุ พ่อ
ของเขาก็ไม่ เป็ นไร ผมนั่งรอก่ อนได้ ครับ
4. แกนี่เรียกพ่อสิ ทาไมไม่ เรียกพ่อ
แกนี่ลกุ ไปเรี ยกพ่ อสิ ทาไมไม่ ไปเรี ยกพ่ อ
กิจกรรมและเทคนิคการเรียนการสอน
รู ปแบบการสอนกระบวนการคิดแก้ ปัญหา
5. พ่อ
คณ
ุ พ่ อขา มีคนมาหาค่ ะ
6. แกเรียกเบาๆ แบบนี้ พ่ อแกอยู่หลังบ้ านจะได้ ยนิ เหรอ
รีบไปบอกพ่ อแกเลยนะว่ า ผู้จัดการธนาคารเขามา เร็วๆ
เลยนะ เดีย๋ วนีเ้ ลย .......
กิจกรรมและเทคนิคการเรียนการสอน
รูปแบบการสอนกระบวนการคิดแก้ ปัญหา
การบอกโครงสร้ างประโยค
แม่ บอกให้ ไปเรียกคุณพ่อ
ประธาน : แม่
กริยา : บอกให้ ไปเรียก
กรรม : คุณพ่อ
กิจกรรมและเทคนิคการเรียนการสอน
รูปแบบการสอนกระบวนการคิดสร้ างสรรค์
(Synectics Instructional Model)
เปิ ดโอกาสลองคิดแก้ปัญหาด้ วยวิธีการที่ไม่ เคยคิด
มาก่ อน คิดโดยสมมติตวั เองเป็ นคนอืน่ /สิ่ งอืน่ เน้ นการ
คิดเปรียบเทียบอุปมาอุปไมยเพือ่ กระตุ้นความคิด
กิจกรรมและเทคนิคการเรียนการสอน
รู ปแบบการสอนกระบวนการคิดสร้ างสรรค์
ขั้นตอนที่ 1 ขั้นนา ให้ ผ้ ูเรียนทางานต่ างๆ ทีต่ ้ องการให้
ผู้เรียนทา เช่ น เขียน บรรยาย เล่ า แสดง วาดภาพ เสร็จแล้ ว
เก็บผลงานไว้
ขั้นตอนที่ 2 ขั้นการสร้ างอุปมาหรือเปรียบเทียบ เสนอ
คาคู่ให้ ผ้ ูเรียนเปรียบเทียบความเหมือน-ต่ าง หลายๆ คู่ เช่ น
แม่ นา้ ฝน และสมมติตัวเองเป็ นสิ่ งนั้น
กิจกรรมและเทคนิคการเรียนการสอน
รู ปแบบการสอนกระบวนการคิดสร้ างสรรค์
ขั้นตอนที่ 3 ขั้นสร้ างอุปมาคาคู่ขดั แย้ งหรือไม่ เข้ ากัน ให้ ผ้ ูเรียน
นาคาที่ได้ เปรียบเทียบไปแล้ วมาประกอบเป็ นคาใหม่ ที่มีความหมาย
ขัดแย้ งกัน เช่ น ฟ้าต่า ไฟเย็น
ขั้นตอนที่ 4 ขั้นการอธิบายความหมาย ผู้เรียนช่ วยอธิบาย
ความหมายของคาคู่ขดั แย้ งทีส่ ร้ างขึน้
ขั้นตอนที่ 5 ขั้นนาความคิดใหม่ มาสร้ างสรรค์ งาน นางานใน
ขั้นตอนที่ 1 มาทบทวนและปรับปรุงโดยใช้ นาความคิดใหม่ มาใช้
กิจกรรมและเทคนิคการเรียนการสอน
รู ปแบบการสอนกระบวนการคิดสร้ างสรรค์
ตัวอย่ างการเปรี ยบเทียบอปุ มากับการสอนวรรณคดี
กิจกรรมการเปรียบเทียบพฤติกรรมและลักษณะของตัวละคร
กับวัตถุ สิ่ งของหรือเหตุการณ์ ต่างๆ พร้ อมแสดงเหตุผล เช่ น
- อาจเปรียบกษัตริย์ทไี่ ร้ อานาจกับลูกโป่ ง เพราะลูกโป่ งมีขนาด
ใหญ่ แต่ ภายในกลับกลวงมีเพียงอากาศ นา้ หนักเบา เทียบได้
กับกษัตริย์ทสี่ ู งศักดิ์ แต่ แท้ จริงอ่ อนแอ ภายในกลับไม่ มกี าลัง
ต่ อสู้ ศัตรู ได้
กิจกรรมและเทคนิคการเรียนการสอน
ตัวอย่ างการสอนมาตราตัวสะกด แม่ กก
นาด้ วยเพลง
แสดงตัวอย่ าง
เลือกคา
นาไปแต่ งเรื่อง
เล่ าเรื่องและแสดงละครตามเรื่องที่แต่ ง
กิจกรรมและเทคนิคการเรียนการสอน
รู ปแบบการสอนกระบวนการคิดอย่ างมีวจิ ารณญาณ (Critical
thinking)
มีจุดประสงค์ ประสงค์ ให้ นักเรียนสามารถคัดกรองข้ อมูล
และนาข้ อมูลไปใช้ ประโยชน์ สูงสุ ดเพือ่ แก้ ปัญหาของตนเอง
การคิดอย่ างมีวจิ ารณญาณ เป็ นกระบวนการให้ เหตุผล
ในระดับสู ง ทีม่ เี ป้าหมายเพือ่ ตัดสิ นใจแก้ ปัญหา พิสูจน์ ข้อโต้ แย้ ง
หรือเลือกสรรวิธีดาเนินการกับข้ อมูล
กิจกรรมและเทคนิคการเรียนการสอน
ขั้นตอนการสอนกระบวนการคิดอย่ างมีวจิ ารณญาณ
1. ขัน้ ระบุประเด็นปัญใหาหรื อทาความเข้ าใจปัญใหา ผู้เรียนกาหนด
และตีความข้ อมูลหรือประสบการณ์ เพือ่ เข้ าใจความหมาย
2. ขัน้ รวบรวมข้ อมูลทีเ่ กีย่ วข้ อง ผู้เรียนค้ นคว้ าข้ อมูลแหล่ งต่ างๆ
เพือ่ สร้ างความเข้ าใจทีช่ ัดเจน
3. ขั้นพิจารณาความน่ าเชื่อถือของแหล่ งข้ อมูล ผู้เรียนต้ องจาแนก
ความคลุมเครือออกจากข้ อมูล ข้ อมูลทีจ่ าเป็ น/ไม่ จาเป็ น หรือข้ อเท็จจริง/
ข้ อคิดเห็น ความสั มพันธ์ ระหว่ างข้ อมูล
กิจกรรมและเทคนิคการเรียนการสอน
ขั้นตอนการสอนกระบวนการคิดอย่ างมีวจิ ารณญาณ
4. ขัน้ ระบุลักษณะของข้ อมูล ผู้เรียนจาแนกความแตกต่ าง
ข้ อมูล จัดลาดับความสาคัญ
5. ขั้นตั้งสมมติฐาน ผู้เรียนสร้ างคาตอบหรือคาดเดาสิ่ งที่
เป็ นไปได้ เกีย่ วกับปัญหา
กิจกรรมและเทคนิคการเรียนการสอน
ขั้นตอนการสอนกระบวนการคิดอย่ างมีวจิ ารณญาณ
6. ขั้นการสร้ างข้ อสรุป ผู้เรียนต้ องสร้ างข้ อสรุปด้ วย
กระบวนการคิด สามารถอธิบายเพิม่ เติม หาหลักฐานมาสนับสนุน
เกีย่ วกับคาตอบหรือแนวทางทีค่ าดเดาไว้ ในขั้นที่ 5
7. ขั้นการประเมินผล ผู้เรียนจะต้ องวิเคราะห์ และ
ประเมินผลเกีย่ วกับการคิดการแก้ ปัญหาทีไ่ ด้ ดาเนินการมาทั้งหมด
กิจกรรมและเทคนิคการเรียนการสอน
ตัวอย่ างใบงานการสอนกระบวนการคิดอย่ างมีวจิ ารณญาณ
สถานการณ์
ป้ายรอรถประจาทางแห่ งหนึ่ง มีรถหมายเลข 40 และ
159 มาจอดเพียงสองสาย โดยรถหมายเลข 40 จะขับออกจาก
ป้ายนีใ้ นเวลา 10.00 น. หากเราเห็นประชาชนจานวนหนึ่ง
ยืนอยู่ทปี่ ้ ายรอรถประจาทางแห่ งนีใ้ นเวลา 10.05 น.....
กิจกรรมและเทคนิคการเรียนการสอน
ตัวอย่ างใบงานการสอนกระบวนการคิดอย่ างมีวจิ ารณญาณ
ก.
ข.
ค.
พิจารณาข้ อความต่ อไปนีว้ ่ าข้ อใดถูกต้ อง
ประชาชนกลุ่มนีท้ ุกคนอาจขึน้ รถประจาทางหมายเลข 40 ไม่ ทัน
ประชาชนกลุ่มนีไ้ ม่ ได้ รอรถประจาทางทั้งสองหมายเลข
ประชาชนกลุ่มนีบ้ างคนอาจรอรถหมายเลข 159
1. ก. และ ข. ถูก
2. ค. และ ข. ผิด
3. ค. ถูกเพียงข้ อเดียว
4. ไม่ มีข้อใดถูก
กิจกรรมและเทคนิคการเรียนการสอน
ตัวอย่ างใบงานการสอนกระบวนการคิดอย่ างมีวจิ ารณญาณ
พยางค์ ทมี่ พี ยัญชนะต้ นเป็ นอักษรต่า คาตาย สระเสี ยงสั้ น
มีพนื้ เสี ยงเป็ นเสี ยงตรี ส่ วนพยางค์ ทมี่ พี ยัญชนะต้ น
เป็ นอักษรต่า คาตาย สระสี ยงยาว มีพนื้ เสี ยงเป็ นเสี ยงโท
กิจกรรมและเทคนิคการเรียนการสอน
ตัวอย่ างใบงานการสอนกระบวนการคิดอย่ างมีวจิ ารณญาณ
จากหลักการข้ างต้ น พิจารณาข้ อความต่ อไปนี้ ข้ อใดถูกต้ องทีส่ ุ ด
ก. พยางค์ ทขี่ นึ้ ต้ นด้ วยอักษรตา่ จะไม่ มีรูปวรรณยุกต์ ไม้ ตรีใช้
ข. คาว่ า “คะ” และ “ค่ ะ” มีเสี ยงวรรณยุกต์ ตรีและเอกตามลาดับ
ค. รู ปวรรณยุกต์ ไม้ ตรี ใช้ เฉพาะพยางค์ ทขี่ นึ้ ต้ นด้ วยอักษรกลาง
1. ก. และ ข. ถูก
2. ข. ถูกข้ อเดียว
3. ก. ถูกข้ อเดียว
4. ก. และ ค. ถูก
กิจกรรมและเทคนิคการเรียนการสอน
ตัวอย่ างใบงานการสอนกระบวนการคิดอย่ างมีวจิ ารณญาณ
“สภาวะโลกร้ อน (ก) เกิด จากมี แ ก๊ ส เรื อ นกระจกในบรรยากาศ
มากเกินไป แก๊ สที่สาคัญ ได้ แก่ คาร์ บอนไดออกไซด์ (ข) ซึ่งเกิดจาก
การเผาไหม้ เ ชื้ อ เพลิ ง เพื่ อ ใช้ งาน มนุ ษ ย์ เ องเป็ นผู้ ป ล่ อ ยแก๊ ส นี้
ออกมาเป็ นจานวนมากเพื่อนาพลังงานมาใช้ ยิ่งเราใช้ พลั งงานมาก
เท่ าใด ก็ยิ่งได้ แก๊ สเรื อนกระจก (ค) ออกมามากขึ้นเป็ นเงาตามตัว
หากเราพิจารณาอัตราการใช้ พลังงานในช่ วงครึ่ งศตวรรษที่ผ่ านมา
จะพบว่ าสอดคล้ องกับการเพิ่มปริ มาณแก๊ สคาร์ บอนไดออกไซด์
ในอากาศ
155
กิจกรรมและเทคนิคการเรียนการสอน
ตัวอย่ างใบงานการสอนกระบวนการคิดอย่ างมีวจิ ารณญาณ
และไม่ มีแนวโน้ มว่ าจะลดลงในระยะเวลาอันใกล้ นี้ ปรากฏการณ์
ต่ างๆ ที่เกิดขึน้ ต่ อเนื่องกันนี้ แท้ จริ งแล้ วเป็ นกระบวนรั กษาตัวเอง
ของโลก หากเป็ นสภาวะที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ โลกจะกลับมาสู่
สภาวะสมดุลได้ ในเวลาไม่ นานนัก แต่ เนื่องจากมนุษย์ เราเร่ งผลิต
แก๊ ส เรื อ นกระจกออกมามากเกิน ขีด ความสามารถของโลกที่ จ ะ
เยีย วยาตั ว เองได้ ทั น การเกิด สภาวะโลกร้ อ นอย่ า งรวดเร็ ว และ
รุ น แรงจึ ง เกิ ด ขึ้น กล่ า วโดยสรุ ป ก็คือ สาเหตุ ที่ ท าให้ เ กิด สภาวะ
โลกร้ อนในครั้งนี้ คือมนษุ ย์ (ง) นั่นเอง”
156
กิจกรรมและเทคนิคการเรียนการสอน
ตัวอย่ างใบงานการสอนกระบวนการคิดอย่ างมีวจิ ารณญาณ
ข้ อใดกล่ าวถูกต้ องเกีย่ วกับคาในบทความ
1. ก. เป็ นสาเหตุให้ เกิด ข. 2. ง. ไม่ มีส่วนเกีย่ วข้ องกับ ก.
3. ข. เป็ นส่ วนหนึ่งของ ค. 4. ข. ไปยับยั้งไม่ ให้ เกิด ก.
เทคนิคการสอนภาษาไทย
เทคนิคหมวก 6 ใบ (Edward de Bono, 1985)
1.หมวกสี ขาว = การคิดเกี่ยวกับข้ อเท็จจริ งหรื อข้ อมูลต่ างๆ เช่ น ครู ให้
นักเรียนคิดเกีย่ วกับลาดับเหตุการณ์ ในเรื่อง
2. หมวกสี แดง = การคิดแบบใช้ อารมณ์ และความรู้ สึกเป็ นหลักในการ
พิจ ารณาเรื่ อ งต่ า งๆ เช่ น ให้ นั ก เรี ย นอธิ บ ายความรู้ สึ ก เกี่ ย วกั บ
เหตุการณ์ พฤติกรรมหรือบทสนทนาของตัวละคร
3.หมวกสี ด า = การคิด ด้ า นลบ มี เ ป้ าหมายเพื่อ ป้ องกัน ปั ญ หา เช่ น
พฤติกรรมของตัวละครส่ งผลเสี ยอย่ างไรบ้ าง ใครเป็ นต้ นเหตุสาคัญ
ฯลฯ
เทคนิคการสอนภาษาไทย
เทคนิคหมวก 6 ใบ (Edward de Bono, 1985)
4. หมวกสี เหลือง = การคิดในด้ านบวกเกีย่ วกับเหตุการณ์ หรือประเด็น
อันจะนาไปสู่ การแสวงหาแนวทางปฏิบัติ/ดาเนินการกับเรื่ องนั้น
ต่ อไป
5. หมวกสี เขียว = การคิดอย่ างสร้ างสรรค์ เช่ น อาจใช้ คาถาม เพื่อไม่ ให้
เกิด การทะเลาะระหว่ า งตัว ละครในเรื่ อ ง ทุ ก คนควรด าเนิ น การ
อย่ างไร หรื อ ถ้ าทุกคนต้ องการที่ดินจนทะเลาะกันแล้ ว เหตุใดจึงไม่
หาทรัพย์ สินอืน่ มาทดแทน เพราะอาจมีค่าเท่ ากันหรือมากกว่ า
เทคนิคการสอนภาษาไทย
เทคนิคหมวก 6 ใบ (Edward de Bono, 1985)
6. หมวกสี นา้ เงิน = การคิดเชิงควบคุม เป็ นการคิดทีม่ ีลกั ษณะเป็ นกลาง
และคอยควบคุมความคิดของหมวกสี อื่นๆ หรือเป็ นการคิดเกี่ยวกับ
การคิดของตนเองว่ าควรคิดอย่ างไร เช่ น จากเหตุการณ์ ที่ทะเลาะกัน
ของตัวละครนั้น หากคิดโดยใช้ หมวกสี ขาวก็เป็ นสิ่ งที่ข าดเหตุผล
แต่ ห ากใช้ หมวกสี แ ดงก็ เ ข้ า ใจได้ ว่ า ความโลภเป็ นธรรมชาติ
อย่ างหนึ่งของมนุษย์
กิจกรรมและเทคนิคการเรียนการสอน
เทคนิคการพัฒนาควาวมคิดจีพาส (GPAS)
1.การรวบรวมข้ อมูล (Gathering: G) เป็ นการกาหนดประเด็นในการ
รวบรวมข้ อมูล กาหนดเป้าหมาย/วัตถุประสงค์ การคิด แล้ วดึงข้ อมูลเดิม
มาสร้ างเป็ นความคิดรวบยอด
2. การจัดกระทาข้ อมูล (Processing: P) เป็ นการจาแนกเปรียบเทียบ จั ด
กลุ่ม จัดลาดับ สรุ ป เชื่ อมโยงต่ อความสั มพันธ์ การไตร่ ตรองด้ วยเหตุผล
วิจารณ์ และตรวจสอบข้ อมูลทีไ่ ด้ รับ
กิจกรรมและเทคนิคการเรียนการสอน
3. การนาข้ อมูลไปประยุกต์ ใช้ (Applying: A) เป็ นการเลือกข้ อมูลการ
ประเมินทางเลือก แล้ วทาความรู้ ที่ค้นพบไปใช้ อย่ างสร้ างสรรค์ ซึ่ งนาไป
ปรับใช้ ในสถานจริง
4. การกากับตนเอง (Self-regulating: S) เป็ นการจัดกระทาตนเองให้ เกิด
เป็ นนิสัย หรือเป็ นพฤติกรรมทีถ่ าวรในด้ านการตรวจสอบและ1และควบคุม
ความคิ ด การเห็ น คุ ณ ค่ า ของการคิ ด และการน าทั ก ษะการคิ ด ไปใช้
ประโยชน์
ตัวอย่ างการสอนเทคนิค GPAS
เรื่อง การแต่ งบทร้ อยกรองประเภท กลอนสุ ภาพ
ขั้นตอนการ
จัดการเรียนรู้
กิจกรรมการเรียนรู้
1. การรวบรวม 1.1ครูให้ นักเรียนพิจารณาตัวอย่ างกลอน
ข้ อมูล
สุ ภาพ อาจให้ นักเรียนศึกษากลอนสุ ภาพที่
เคยเรียนมาแล้ว
1.2 ครูให้ นักเรียนค้ นคว้ าหาตัวอย่ างกลอน
สุ ภาพทีส่ นใจจากแหล่งต่ างๆ
ทักษะที่พฒ
ั นา
1.การสั งเกต
2.การจาแนก
3.การเปรียบเทียบ
4.การจัดหมวดหมู่
5.การเชื่อมโยง
6.การอ่านและเขียน
ตัวอย่ าง การสอนเทคนิค GPAS
ขั้นตอนการ
จัดการเรียนรู้
2 การจัด
กระทา
ข้ อมูล
กิจกรรมการเรียนรู้
2.1 ครูแบ่ งกลุ่มนักเรียน โดยให้ แต่ ละกลุ่ม
สนทนาเกีย่ วกับลักษณะและฉันทลักษณ์
ของกลอนสุ ภาพทีค่ ้ นคว้ ามา จากนั้นครูใช้
คาถามพัฒนาการคิดเพือ่ ให้ นักเรียน
เปรียบเทียบและจัดลักษณะของตัวอย่ าง
กลอนสุ ภาพ
(มีต่อ)
ทักษะที่พฒ
ั นา
1.การพูดสื่ อสาร
2.การอ่าน
3.การสั งเกต
4.การจัดประเภท
5.การเปรียบเทียบ
6.การวาดภาพ
7.การวิเคราะห์
8.การวาดเขียน
ตัวอย่ างการสอนเทคนิค GPAS
ขั้นตอนการ
จัดการเรียนรู้
2. การจัด
กระทา
ข้ อมูล
กิจกรรมการเรียนรู้
ทักษะทีพ่ ฒ
ั นา
ประเด็นการอภิปราย
-การจัดวรรคและจานวนคา
-การส่ งสั มผัสระหว่ างวรรคและระหว่ างบท
-การใช้ ศิลปะการประพันธ์
คาถามพัฒนาการคิด
1 กลอนสุ ภาพแตกต่ างจากคาประพันธ์ อนื่ ๆ อย่ างไร
2 ลักษณะร่ วมของกลอนสุ ภาพที่ค้นคว้ ามามี
อะไรบ้ าง และการส่ งสั มผัสมีลกั ษณะอย่ างไร
3 นักเรียนแต่ ละกลุ่มสรุ ปเป็ นแผนผังกราฟิ ก
1.การพูดสื่ อสาร
2.การอ่าน
3.การสั งเกต
4.การจัดประเภท
5.การเปรียบเทียบ
6.การวาดภาพ
7.การวิเคราะห์
8.การวาดเขียน
ตัวอย่ างการสอนเทคนิค GPAS
ขั้นตอนการ
จัดการเรียนรู้
กิจกรรมการเรียนรู้
3. การนาไป 3.1 ครู ให้ นักเรียนนาความรู้ มาแต่ งคา
ประยุกต์ ใช้ ประพันธ์
ทักษะทีพ่ ฒ
ั นา
1.การประยุกต์ ใช้
2.การเชื่อมโยง
3.2 ครู ให้ นักเรียนอ่ านผลงานหน้ าชั้น 3.การอ่ าน
เรียน เพือ่ นและครู ช่วยกันปรับปรุ งและ ออกเสี ยง
แก้ ไขให้ สมบูรณ์
4.การพูดสื่ อสาร
5.การประเมิน
ตัวอย่ างการสอนเทคนิค GPAS
ขั้นตอนการ
จัดการเรียนรู้
กิจกรรมการเรียนรู้
ทักษะที่พฒ
ั นา
4. การกากับ 4.1 ครู ให้ นักเรียนเขียนสรุปความคิด 1.การไตร่ ตรอง
เกีย่ วกับการแต่ งคาประพันธ์ ของตนเอง 2.การทบทวน
ตนเอง
ทั้งเรื่องข้ อบกพร่ อง ข้ อควรปรับปรุง 3.การปรับเปลีย่ น
และข้ อเสนอแนะวิธีต่างๆทีจ่ ะช่ วย
4.การประเมิน
พัฒนาการแต่ งคาประพันธ์ ของตนเอง
ให้ ดขี นึ้
ตัวอย่ างเกณฑ์ การประเมินเขียนเรียงความ
ระดับคะแนน
3 ดี
2 ผ่าน
1 ปรับปรุ ง
0
ระดับคุณภาพของผลงานหรือการปฏิบตั ิ
มีองค์ ประกอบของเรี ยงความครบถ้ วน (คานา เนื้อเรื่ อง สรุ ป), เนือ้ หาตรงตาม
ประเด็นหรื อหัวข้ อที่กาหนด, ใช้ สานวนภาษาระดับทางการ สละสลวย สะกด
ถูกต้ อง เขียนหรือพิมพ์ อย่ างเป็ นระเบียบ
มีองค์ ประกอบของเรียงความครบถ้ วน (คานา เนือ้ เรื่อง สรุ ป), เนือ้ หาตรงตาม
ประเด็นหรื อหัวข้ อที่กาหนด, ใช้ สานวนภาษากึ่งทางการ สะกดถูกต้ อง เขียน
หรือพิมพ์อย่างเป็ นระเบียบ
มีองค์ ประกอบของเรียงความไม่ ครบถ้ วน (ขาดองค์ ประกอบอย่ างใดอย่ างหนึ่ง
หรื อแต่ ละองค์ ประกอบไม่ มีความชั ดเจน), เนื้อหายังไม่ สอดคล้ องกับ ประเด็น
หรื อ หั ว ข้ อ ที่ ก าหนด, ใช้ ส านวนภาษาที่ ไ ม่ เ ป็ นภาษามาตรฐานหรื อ ต่ า กว่ า
กึง่ ทางการ เขียนสะกดผิด หรือเขียน หรือพิมพ์อย่างไม่ เป็ นระเบียบ
ไม่ มีผลงาน
การประเมินตามสภาพจริง
องค์ ประกอบ
ที่ประเมิน
ระดับคุณภาพของผลงานหรือการปฏิบตั ิ
1
ต้ องปรับปรุง
2
ผ่ าน
องค์ ประกอบ เรียงความมี เรียงความมี
ของเรียงความ องค์ ประกอบ องค์ ประกอบ
(คานา เนือ้ ไม่ ครบ
ครบถ้ วน
เรื่อง สรุป) หรือไม่
สามารถจาแนก
องค์ ประกอบ
ได้ ชัดเจน
3
ดี
4
ดีมาก
เรียงความมี
องค์ ประกอบ
ครบถ้ วน และ
ใช้ กลวิธีการ
เขียนในแต่ ละ
องค์ ประกอบที่
ทาให้ เกิดความ
น่ าสนใจ
เรียงความมี
องค์ ประกอบ
ครบถ้ วน และ
ใช้ กลวิธีการ
เขียนใน แต่ ละ
องค์ ประกอบ
ที่ทาให้ เกิด
ความน่ าสนใจ
อย่ างยิง่
การประเมินตามสภาพจริง
องค์ ประกอบ
ทีป่ ระเมิน
ระดับคุณภาพของผลงานหรือการปฏิบัติ
1
ต้ องปรับปรุง
ย่ อหน้ าไม่ มี
การ
เรียบเรียง ประโยค
ย่ อหน้ า ใจความสาคัญ
และยังขาด
รายละเอียด
สนับสนุน
2
ผ่ าน
3
ดี
4
ดีมาก
ทุกย่ อหน้ ามี
ประโยคใจความ
สาคัญแต่ ยงั ไม่
สามารถขยาย
รายละเอียดหรือ
ยกเหตุผล
สนับสนุนได้
เพียงพอ
ทุกย่ อหน้ ามี
ประโยค
ใจความสาคัญ
และมีการขยาย
รายละเอียดที่
สนับสนุน
ประโยค
ใจความสาคัญ
ทุกย่ อหน้ ามี
ประโยคใจความ
สาคัญชัดเจน และ
มีการขยายให้
รายละเอียดที่
สนับสนุนประโยค
ใจความสาคัญ
อย่างชัดเจนและ
สมเหตุสมผล
การประเมินตามสภาพจริง
องค์ ประกอบ
ทีป่ ระเมิน
สานวน
ภาษา
ระดับคุณภาพของผลงานหรือการปฏิบตั ิ
1
ต้ องปรับปรุง
2
ผ่ าน
ใช้ สานวนภาษาที่ ใช้ สานวน
ไม่ เป็ นภาษา
ภาษาระดับ
มาตรฐาน เช่ น
กึง่ ทางการ
ภาษาระดับกันเอง
ภาษาระดับสนทนา
การร้ อยเรียง
ประโยคไม่ ราบรื่น
3
ดี
4
ดีมาก
ใช้ สานวน
ภาษามาตรฐาน
เป็ นภาษาระดับ
ทางการ และ
ร้ อยเรียง
ประโยคได้
อย่ างราบรื่น
ใช้ สานวนภาษา
มาตรฐาน เป็ น
ภาษาระดับทางการ
ร้ อยเรียงประโยค
ได้ อย่างราบรื่น
เลือกสรรคาถ้ อยคา
มาใช้ อย่างไพเราะ
เหมาะสม
การประเมินตามสภาพจริง
วิธีการประเมินจิตพิสัย
1. การรายงานตนเอง (self-report)
2. การสั งเกตพฤติกรรม (observation)
3. การสั งเกตร่ องรอยของพฤติกรรม (obtrusive)
4. การสั มภาษณ์ (interview)
5. เทคนิคการสะท้ อนภาพ (projective technique)
การประเมินตามสภาพจริง
แบบตรวจสอบรายการสั งเกตพฤติกรรมการมีมารยาทในการอ่ าน
ข้ อ
ประเด็นพฤติกรรม
1
ไม่ ส่งเสี ยงดังรบกวนเพือ่ นขณะอ่ านหนังสื อ
2
ไม่ เขียนข้ อความ พับหรื อฉีกทาลายหนังสื อ
ที่มิใช่ ของของตน
น าข้ อ ความหรื อ ข้ อ มู ล จากการอ่ า นไปใช้
ในงานตนเองโดยมิได้ อ้างอิงแหล่ งที่มา
3
มี
ไม่ มี
การประเมินตามสภาพจริง
มาตรจาแนกความหมายของออสกูด (Osgood) มาตรวัดทีใ่ ช้ คาคุณศัพท์
ทีม่ ีความหมายตรงกันข้ าม
ตัวอย่ างมาตรวัดค่ านิยมการรักษาภาษาไทยไว้ เป็ นสมบัตชิ าติ
ยาก
1
ภาษาไทย
2
3
4
ทันสมัย
5
4
3
2
1
โบราณ
เกลียด
1
2
3
4
5
ชอบ
สาคัญ
5
4
3
2
1
ไม่ สาคัญ
ไร้ คุณค่ า
1
2
3
4
5
มีคุณค่ า
5
ง่ าย
การประเมินตามสภาพจริง
ลักษณะข้ อทดสอบที่ใช้ ในการวัดและประเมินทักษะ
ภาษา
1. ข้ อทดสอบแบบถูก-ผิด (true – false)
2. ข้ อทดสอบแบบจับคู่ (association)
3. ข้ อทดสอบแบบเลือกตอบ (multiple choice)
4. ข้ อทดสอบแบบเติมความ (gap filling)
การประเมินตามสภาพจริง
ลักษณะข้ อทดสอบที่ใช้ ในการวัดและประเมินทักษะ
ภาษา
5. ข้ อทดสอบแบบตอบสั้ นๆ (short answers)
6. ข้ อทดสอบแบบโคลซ (cloze test)
7. ข้ อทดสอบแบบเรียงความ (essay)
การประเมินทักษะทางภาษาตามสภาพจริง
เป็ นการประเมินที่เน้ นการประเมินภาระงานที่
ปฏิบัติจริง (performance) และมีความเกีย่ วข้ อง
อย่ างยิง่ กับสมรรถภาพ (competence) ของผู้ใช้
ภาษา
การประเมินทักษะทางภาษาตามสภาพจริง
ตัวอย่ างภาระที่แสดงทักษะภาษาในการใช้ ตามสภาพจริง
การฟัง: การจับใจความสาคัญ (skimming)
1) ฟังข่ าวแล้ วให้ นักเรียนเขียนชื่อบุคคล สถานทีเ่ กิดเหตุการณ์
2) ฟังการเล่ าเรื่องหรือนิทานแล้ วตั้งชื่อเรื่อง
3) ฟังการเล่ าหรืออธิบายเกีย่ วกับสถานที่ สิ่ งของ
บุคคล ภาพยนตร์ หรือเหตุการณ์ แล้ วตั้งชื่อชื่อเรื่อง
4) ฟังรายการวิทยุแล้ วสรุ ปสาระสาคัญ
การประเมินทักษะทางภาษาตามสภาพจริง
ตัวอย่ างภาระทีแ่ สดงทักษะภาษาในการใช้ ตามสภาพจริง
การพูด
ภาระงานการพูดโดยอิสระในสถานการณ์ ต่างๆ ควรให้
ผู้เรียนพูดแสดงลาดับเรื่อง หรือพูดนาเสนอข้ อมูลจากสื่ อต่ างๆ
โดยใช้ การสนทนาและสั มภาษณ์ และควรกาหนดเนือ้ หาในการ
สั มภาษณ์ ให้ เหมาะสมกับระดับความสามารถและความสนใจ
ของนักเรียน
การประเมินทักษะทางภาษาตามสภาพจริง
ตัวอย่ างภาระที่แสดงทักษะภาษาในการใช้ ตามสภาพจริง
การอ่ าน
1. ให้ นักเรียนอ่ านข้ อความที่มีความยาวตามความเหมาะสมที่เป็ น
งานเขียนประเภทต่ างๆ เช่ น บทความ รายงานต่ างๆ
2. ให้ นักเรียนอ่ านกราฟ ตาราง แผนภูมิ แผนภาพ แผนที่ที่มีตัวเลข
ประกอบ คาบรรยาย หรือคาอธิบายทีเ่ กีย่ วข้ อง
3. ให้ อ่านบทอ่ านที่มีการละข้ อความไว้ หรือมีข้อความไม่ สมบูรณ์
การประเมินทักษะทางภาษาตามสภาพจริง
ตัวอย่ างภาระที่แสดงทักษะภาษาในการใช้ ตามสภาพจริง
การเขียน: การเขียนเรียงความ
1) ให้ ดูภาพแล้ วเขียนคาบรรยาย
2) ให้ คาหรือกลุ่มคา แล้ วนามาเขียนเล่ าเรื่อง
3) ให้ บทสนทนาแล้ วให้ เขียนใหม่ เป็ นเรื่องเล่ า
4) ให้ สถานการณ์ แล้ วกาหนดขอบเขตให้ เขียน
5) ให้ ฟังข้ อความแล้ วเขียนสรุ ปความ
6) ให้ เขียนเล่ าเรื่องตามสถานการณ์ ที่กาหนดให้
7) กระตุ้นความคิดให้ เขียน โดยใช้ ประเด็นต่ างๆ ในสั งคม
แบ่ งกลุ่มทากิจกรรม
สาระ
การอ่าน
การเขียน
การฟัง การดูและการพูด
หลักการใช้ ภาษา
เทคนิค/กระบวนการคิด
กระบวนการสร้ างมโนทัศน์
กระบวนการคิดอย่างมีวจิ ารณญาณ
กระบวนการคิดวิเคราะห์
กระบวนการคิดสร้ างสรรค์
กระบวนการคิดอย่างมีวจิ ารณญาณ
กระบวนการคิดสร้ างมโนทัศน์
กระบวนการคิดแก้ปัญหา
กระบวนการคิดวิเคราะห์
วรรณคดีและวรรณกรรม กระบวนการคิดอย่างมีวจิ ารณญาณ
กระบวนการคิดสร้ างสรรค์
กระบวนการคิดแก้ปัญหา
182
บรรณานุกรม
โครงการยกระดับคุณภาพครู ท้ งั ระบบตามแผนปฏิบตั ิการไทยเข้มแข็ง. 2553. คู่มอื ฝึ กอบรม
ภาษาไทย ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย. กรุ งเทพฯ : คณะครุ ศาสตร์ จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย.
เฉลิมลาภ ทองอาจ. 2555. การสอนอ่านอย่ างเป็ นกระบวนการ. (ออนไลน์) สื บค้นจาก :
http://www.myfirstbrain.com/teacher_view.aspx?ID=88815 [ 23 เมษายน 2556]
จินตนา ใบกาซูย.ี 2547. วิธีการสอนทักษะการอ่ านจับใจความแบบฝรั่ง. (ออนไลน์) สื บค้น
จาก : http://www.myfirstbrain.com/teacher_view.aspx?ID=20842 [ 23
เมษายน 2556]
ชาญชัย ยมดิษฐ์. 2548. เทคนิคและวิธีการสอนร่ วมสมัย. กรุ งเทพฯ : หลักพิมพ์.
บรรณานุกรม
ถนอมเพ็ญ ชูบวั . 2554. การพัฒนาทักษะการอ่านเพือ่ ความเข้ าใจ ด้ วยวิธีการสอนอ่านแบบ
บูรณาการของเมอร์ ดอ็ ค (MIA). (ออนไลน์) สื บค้นจาก :
http://www.myfirstbrain.com/teacher_view.aspx?ID=88808 [ 23 เมษายน 2556]
ทิศนา แขมมณี . 2552. ศาสตร์ การสอน : องค์ ความรู้ เพือ่ จัดกระบวนการเรียนรู้ ทมี่ ี
ประสิ ทธิภาพ. กรุ งเทพฯ : สานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ประทีป แสงเปี่ ยมสุ ข. 2543. การสอนกระบวนการคิดโดยใช้ ทกั ษะการะบวนการ. กรุ งเทพฯ :
โอเดียนสโตร์ .
วิชาญ สว่างพงศ์. 2533. นวัตกรรมการจัดกิจกรรมการสอนอ่ านและเขียนภาษาไทยสาหรับชั้น
ประถมศึกษา. กรุ งเทพฯ : โอเดียนสโตร์ .
อาภรณ์ ใจเที่ยง. 2540. หลักการสอน. กรุ งเทพฯ : โอเดียนสโตร์ .