การให้การปรึกษาเพื่อ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยง

Download Report

Transcript การให้การปรึกษาเพื่อ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยง

VCT for same day
result
Prapaporn Kijwattanachai
Udonthani hospital
วัตถุประสงค์ การออกหน่ วยบริการ RAMP-VCT
2
• เพื่อเชื่อมโยงกลุ่มเป้าหมายที่ผ่านกระบวนการ RAMP กับการเข้ า
รับบริการ VCT
• เพื่อสร้ างความตระหนักต่ อการรับรู้สถานภาพการติดเชือ้
• เพื่อสร้ างความตะหนักต่ อการป้องกันการติดเชือ้ เอชไอวีและการรับ
เชือ้ เพิ่ม
• เพื่อแนะนาผู้ตดิ เชือ้ ให้ เข้ าสู่ระบบการดูและรักษา ให้ มีคุณภาพชีวิต
ที่ดี
วิธีการให้ การปรึกษาและตรวจเอชไอวี
3
•
•
•
•
•
•
•
ให้ การปรึกษาก่ อนตรวจ
สารวจความพร้ อมและความสมัครใจ ในการตรวจเอชไอวี
ตรวจเลือดหาการติดเชือ้
วินิจฉัยการติดเชือ้
ให้ คาปรึกษาหลังการตรวจ
แจ้ งผลการตรวจ
กรณีผลเลือดเป็ นบวก ส่ งต่ อเพื่อตรวจCD4 ที่นภาคลินิก(เจ้ าหน้ าที่
ทีมเดิม)
• กรณีผลเลือดเป็ นลบ ให้ การปรึกษาเพื่อลดพฤติกรรมเสี่ยง
ผังการทางานแบบทราบผลวันเดียว
4
สง่ ต่อจากกิจกรรมกลุม
่
ผู ้ให ้การปรึกษา 1
ผล
เลือด
ผู ้ให ้การปรึกษา 2
เจาะเลือด
ตรวจเลือด
ผล
เลือด
การจัดสถานที่
5
• Drop in Center
 ห้ องให้ การปรึกษา
 ห้ องตรวจเลือด
• ชุมชน (บ้ านเพื่อน ร้ านเสริมสวย ศูนย์ ศสมช.)
 มุมให้ การปรึกษา(ส่ วนตัว)
 มุมตรวจเลือด(มีปลั๊กไฟ มิดชิด)
บัตรตรวจสุ ขภาพ ชายที่มีเพศสัมพันธ์กบั ชาย
6
มีตรายางเซ็นยินยอมให้เจาะเลือด
บัตรประจาตัว/ใบนัด
7
บ ัตรประจาต ัวเพือ
่ ออกรห ัสตรวจเลือด
อุปกรณ์
8
• ชุดตรวจเลือด
ประสบการณ์ การให้ บริการแบบทราบผลในวันเดียว
9
• ความรู้ความเข้ าใจของพยาบาล
 การตรวจ เอชไอวี แบบทราบผลในวันเดียว
 การให้ คาปรึกษาเบื ้องต้ น (basic counseling)
• ผู้รับบริการรู้สึกมั่นใจและอยากตรวจ
 การให้ การปรึกษาก่อนตรวจเอชไอวีที่ดี (pre-test counseling)
 การอธิบายเรื่ อง วิธีการตรวจแบบทราบผลในวันเดียวให้ ขดั เจน เช่น
ประสบการณ์ การให้ บริการแบบทราบผลในวันเดียว(ต่ อ)
10
• สถานที่
 มิดชิด
 ไม่ มีส่ งิ รบกวน
 กรณีเป็ นที่โล่ ง ไม่ มีห้องส่ วนตัว
o จัดมุมนั่ง
• การรั กษาความลับ
 กรณีมีเจ้ าหน้ าที่ drop-in หรือ คนอื่นๆอยู่บริเวณใกล้ เคียง
o ตัวอย่ าง
• การรอคิว
 ควรแจ้ งผลตามคิวการเจาะเลือด
ประสบการณ์ การให้ บริการแบบทราบผลในวันเดียว(ต่ อ)
11
• ประโยชน์ ของแบบสอบถามหลังการเข้ ากลุ่มครัง้ ที่ 3
 ช่วยในการทบทวนการตัดสินใจตรวจเอชไอวีของผู้รับบริ การ
 กรณีผ้ รู ับบริ การปฏิเสธการตรวจ ทาให้ คยุ ในประเด็นที่เกี่ยวข้ อง
• ความสาคัญของระยะเวลาในการแจ้ งผล
 ไม่วา่ ผลเลือดเป็ นบวกหรื อลบควรใช้ เวลาเท่ากัน
• การแจ้ งผลกรณีผลบวก
 ข้ อควรระวัง
o อารมณ์ความรู้สกึ ของผู้รับบริ การ
 ชัดเจน และกระชับ
 นัดหมาย ให้ เบอร์ โทรติดต่อ
เคล็ดลับของCounsellor.
12
•
•
•
•
•
ต้ องตัง้ สติให้ ดี
มั่นใจในการให้ การปรึกษา
ชัดเจนในสิ่งที่บอก
มั่นใจกับวิธีการตรวจแบบRapid test.
กรณีมีพยาบาลหลายคน
 ให้ คนที่ให้ การปรึกษาก่ อนตรวจเอชไอวี (pre-test counseling) เป็ นคน
เดียวกันกับให้ การปรึกษาหลังตรวจ (post-test counseling)
 ถ้ ามีพยาบาลให้ การปรึกษาก่ อนตรวจหลายคน แต่ ให้ การปรึกษหลังตรวจคน
เดียว ให้ แจ้ งผู้มารั บบริการตัง้ แต่ ตอนให้ การปรึกษาก่ อนตรวจ
การจัดกิจกรรมกลุม่ RAMP
ในโครงการป้องกันการติดเชื ้อเอชไอวี และ
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
ในกลุม่ ชายรักชาย จังหวัดอุดรธานี
วัตถุประสงค์
• สร้ างความตระหนักและส่งเสริมพฤติกรรมการป้องกันโรคติดต่อทาง
เพศสัมพันธ์และโรคเอดส์ในกลุม่ ชายรักชาย
• เพิ่มการเข้ าถึงการรับคาปรึกษาเพื่อตรวจหาเชื ้อเอชไอวี ด้ วยความ
สมัครใจ
– รวมกลุม่ แกนนาชายรักชายในชุมชน
– ขยายพื ้นที่การทางานเพื่อเข้ าถึงชายรักชายในอาเภอเมืองและอาเภอใน
เครื อข่ายการทางานการป้องกันเอดส์ของชายรักชาย
คุณสมบัตขิ องผู้ทเี่ ข้ าร่ วมกิจกรรมกลุ่ม RAMP
• ชายรักชายในชุมชนเดียวกัน
• มีลักษณะที่คล้ ายกัน เช่ น กลุ่ม TG กลุ่มเกย์
• สามารถเข้ าร่ วมกิจกรรมกลุ่มต่ อเนื่องทัง้ 3 ครัง้
ลักษณะของกิจกรรมกลุ่ม
• รวมกลุ่มชายรั กชายที่มีศักยภาพในการเป็ นแกนนาชุมชนชายรั ก
ชาย 12-16 คน ในการทากิจกรรมแต่ ละรุ่ น
• แต่ ละรุ่ นเข้ ากลุ่มทากิจกรรม รุ่ นละ 3 ครั ง้
• แต่ ละครั ง้ ใช้ เวลาประมาณ 3 ชั่วโมง
• กิจกรรมกลุ่มทาสัปดาห์ ละครั ง้ ต่ อเนื่องจนครบ 3 ครั ง้
• ทากลุ่มในช่ วงเช้ า(ถ้ าเป็ นไปได้ )
วิธีการทางาน
กิจกรรมกลุม
่ #1 (แบบประเมินพฤติกรรมก่อนเข ้ากลุม
่ )
ดูหนัง “บททดสอบรัก”ตอนที่ 1-2
ี่ ง/ค ้นหาปั ญหา
สะท ้อนพฤติกรรมเสย
กิจกรรมกลุม
่ #2
ดูหนัง“บททดสอบรัก”ตอนที่ 2-3
แก ้ปั ญหา/คิดกิจกรรมการป้ องกันเอดสใ์ น
ชุมชน
นัดหมายการทากิจกรรมในชุมชน
กิจกรรมกลุม
่ #3
ดูหนัง“บททดสอบรัก”ตอนที่ 5-6
3.1 วางแผนแก ้ไขปั ญหาของตนเอง และ
ื่ มต่อการบริการในพืน
เชอ
้ ที่
3.2 บันทึกข ้อมูลภาคสนาม
(แบบประเมินพฤติกรรมหลังเข ้าร่วมกิจกรรม) นัดหมาย
3.3 VCT
RAMP VCT (ทากลุ่มครั้งที่ 3)
• เพิ่มเทคนิค group counseling ในการทากลุม่ ครัง้ ที่ 3
• นาแบบบันทึกข้ อมูลของGF ที่ใช้ ในงานภาคสนาม
(เรื่ องพฤติกรรมเสี่ยง) พูดคุยกับแกนนาชุมชนเป็ นรายบุคคล
• แบบประเมินพฤติกรรมหลังเข้ าร่ วมกิจกรรม
• ให้ ใบส่งต่อและนามบัตรคลีนิก/โรงพยาบาล
• ทีม VCT mobile clinic ให้ บริการให้ คาปรึกษาเพื่อ
ตรวจหาเชื ้อเอชไอวี ด้ วยความสมัครใจ พร้ อมกับเจาะเลือด
ผู้ที่สมัครใจตรวจ
• ให้ ผ้ สู มัครใจตรวจเลือกว่าอยากรู้ผลภายในวันนัน้ หรื อฟั งวันหลัง
ที่โรงพยาบาล
• ให้ คาปรึกษาหลังการตรวจ และฟั งผล (วิทยากร RAMP ไม่อยูใ่ น
สถานที่ๆให้ คาปรึกษา)
ผลและกิจกรรมต่อเนือ
่ งจากการทากลุม
่
ผู ้เข ้าร่วมกิจกรรมรู ้จักแหล่ง
ให ้บริการ
ให ้คาปรึกษา ตรวจและ
รักษาโรคติดต่อทาง
ั พันธ์และโรคเอดส ์
เพศสม
ผู ้เข ้าร่วมกิจกรรมรู ้
ื้ ลและ
สถานภาพการติดเชอ
ื้ เข ้าสูร่ ะบบบริการ
ผู ้ติดเชอ
ดูแลรักษา
วิทยากรRAMP ติดต่อแกนนา
-ไปเยีย
่ มติดตามการปรับเปลีย
่ น
พฤติกรรม
และบันทึกข ้อมูลภาคสนาม
-ติดตามการทากิจกรรมในชุมชน/กลุม
่
ของ
กลุม
่ แกนนา
RAMP
นภาคลีนก
ิ และคลีนก
ิ เพือ
่ น
โรงพยาบาลชุมชนทัง้ 5
แห่ง
-กุดจับ
- หนองวัวซอ
- กุมภวาปี
-บ ้านดุง
-บ ้านผือ
แกนนาทากิจกรรมในชุมชน
เพือ
่ การป้ องกันเอดส ์
แกนนาพูดคุยเรือ
่ งพฤติกรรมการ
์ บ
ป้ องกันเอดสก
ั เพือ
่ นใหม่ และ
บันทึกข ้อมูลภาคสนาม
แบบฟอร์มให้ผูเ้ ข้าชมภาพยนตร์กรอก ก่อนฉายหนัง
แบบฟอร์มให้ผูเ้ ข้าชมภาพยนตร์กรอก หลังฉายหนัง
จานวน MSM
ที่ได้รับการให้การปรึกษาและตรวจเอชไอวี (Mobile VCT)
จานวนคน
ได้ รับ
คาปรึกษา
จานวนคน
ได้ รับการ
ตรวจเลือด
พ.ศ. 2552
15
8
8
6
2
พ.ศ. 2553
130
115
115
104
11
พ.ศ. 2554
140
107
106
97
9
พ.ศ. 2555
84
55
55
53
2
รวม
369
285
284
260
24
ที่มา
ผลเลือด
จานวนคน
ได้ รับการ
ฟังผล Negative Positive
กราฟแสดงจานวน MSM
ที่ได้รับการให้การปรึกษาและตรวจเอชไอวี (VCT)
จานวน
150
140
130
115
125
104
107
97
100
84
75
55
53
50
25
15
8 6
2
11
9
2
0
พ.ศ. 2552 พ.ศ. 2553 พ.ศ. 2554 พ.ศ. 2555
ร ับคาปรึกษา
ตรวจเลือด
ฟังผลเลือด
Negative
Positive
ทีม
่
า
ผลการออกหน่ วยบริการ VCT
แบบทราบผลวันเดียว จังหวัดอุดรธานี
24
กิจกรรมกลุม่ 168 ราย
รับคาปรึกษาก่อนตรวจ 145 ราย
สมัครใจตรวจ และรับคาปรึกษาหลัง
ตรวจ123 ราย
ติดเชื ้อ 13 ราย
รายเก่า 3 ราย
รายใหม่ 10 ราย
ไม่พบเชื ้อ 110 ราย
ไม่สมัครใจตรวจ 22
ราย
ทีบ
่ า้ นเพือ
่ น (ใน
ชุมชน)
ทีบ
่ า้ นเพือ
่ น (ในชุมชน)
ทีบ
่ า้ นเพือ
่ น (ใน
ทีบ
่ า้ นเพือ
่ น (ในชุมชน)
ทีบ
่ า้ นเพือ
่ น (ในชุมชน)
ทีบ
่ า้ นเพือ
่ น (ในชุม
ทีบ
่ า้ นเพือ
่ น (กลา
ทีบ
่ า้ นเพือ
่ น (กลางคืน)
ทีร่ า้ นคาราโอเกะ(เกย์)
ทีร่ า้ นคาราโอเกะ(เกย์)
ทีร่ า้ นคาราโอเกะ(เก
ทีร่ า้ นคาราโอเกะ(เกย์)
ทีโ่ รงพยาบาล(ห ้องประช
ทีโ่ รงพยาบาล(ห้องประชุม)
ทีโ่ รงพยาบาล (ห้องประชุม)
ั้ 1)
ที่ Drop in (ชน
ั้ 2)
ที่ Drop in (ชน
43
ห้องตรวจใน drop-in center
วินิจฉัยทางห้ องปฏิบตั ิการ (เคลื่อนที่)
บทเรียนจากการทางาน
• Mobile VCT ทาให้ สามารถเข้ าถึงกลุม่ เป้าหมายได้ ดีมาก
• การมีสว่ นร่วมของแกนนาMSM.ในการเตรี ยมกลุม่ เป้าหมายและเป็ น
ผู้นากระบวนการมีความสาคัญที่จะทาให้ งานสาเร็จ
• การตรวจเลือดแบบ Same day result. ช่วยลดปั ญหาการไม่
กลับมาฟั งผลเลือด
• การจัดรูปแบบบริการ One stop service.ในเรื่ อง VCT และการ
ให้ บริการดูแลรักษาด้ วยยาต้ านไวรัสเอดส์ทาให้ กลุม่ เป้าหมายสามารถ
เข้ ารับบริการได้ สะดวกกรณีพบAnti-HIV +ve.(ลดอุปสรรคในเรื่ อง
การส่งต่อ
ขอบคุณค่ ะ