การเรียนรู้ - ต์www.opp.go.th

Download Report

Transcript การเรียนรู้ - ต์www.opp.go.th

การประชุมเชิงปฏิบัตกิ าร
จัดการความรู้ ในงานของ สท. ประจาปี งบประมาณ ๒๕๕๘
วันที่ ๒๗-๒๙ พฤศจิกายน ๒๕๕๗
ณ อิมภูฮิลล์ รี สอร์ท อ.วังน้ าเขียว จ.นครราชสี มา
อ. ทรงพล
เจตนาวณิ ชย์
สถาบันเสริ มสร้างการเรี ยนรู้เพื่อชุมชนเป็ นสุ ข (สรส.)
มูลนิธิชุมชนท้องถิ่นพัฒนา
วัตถุประสงค์ ของการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการ
๑. เพือ่ ให้ บุคลากรของ สท.มีความรู้และความเข้ าใจเกีย่ วกับ
เทคนิคการจัดการความร้ ู อย่ างเป็ นระบบและมีประสิ ทธิภาพ
๒. เพือ่ ให้ บุคลากรของ สท.มีโอกาส แลกเปลีย่ นเรี ยนร้ ู
องค์ ความร้ ูทใี่ ช้ ในการปฏิบตั ิงาน
๓. เพื่อสร้างแรงจงู ใจด้ านการจัดการความร้ ูเพื่อให้ สท. ก้าวสู่ การเป็ น
องค์ กรแห่ งการเรี ยนร้ ูในอนาคต
กิจกรรมที่ ๑
ฝึ กทักษะการถอดความรู้และบทเรี ยนความเข้าใจเรื่ อง KM และ
การนา KM ไปใช้ประโยชน์
ขั้นตอน
๑.แบ่งกลุ่มตามกลุ่มงาน
๒.แจกชุดคาถาม
ชุ ดคาถามเพือ่ ประเมินผลการเรียนรู้ ก่อนและหลัง
๑.ท่านชอบ หรื อไม่ชอบ KM
๑.๑ ชอบ (หากคะแนนเต็ม ๑๐) ท่านให้คะแนนความชอบของตนเองที่เท่าไหร่
เพราะอะไร................คะแนนที่หายไป คืออะไร.............................
๑.๒ ไม่ชอบ เพราะอะไร...............................................
๒.ตามความเข้าใจของท่าน KM คืออะไร
๓.ท่านเคยนา KM ไปใช้ประโยชน์หรื อไม่ ในเรื่ องอะไร เกิดผลอย่างไน
๔.ประโยชน์ของ KM ในมุมมองของท่านมีอะไรบ้าง
๕.ท่านคิดว่าท่านเข้าใจขั้นตอนการนา KM ไปใช้ประโยชน์ได้ถกู ต้องดีแล้ว ?
(หากคะแนนเต็ม ๑๐ ท่านให้คะแนนความเข้าใจของตัวท่านเท่าไหร่ ?)
๖.ปัญหา อุปสรรค ของการนา
KM
ไปใช้ประโยชน์ของท่านคืออะไร
กิจกรรมที่ ๑
ฝึ กทักษะการถอดความรู้และบทเรี ยนความเข้าใจเรื่ อง KM และ
การนา KM ไปใช้ประโยชน์
ขั้นตอน
๑.แบ่งกลุ่มตามกลุ่มงาน
๒.แจกชุดคาถาม
๓.ให้แต่ละคนคิดทบทวน และเขียนคาตอบ ตามความรู ้และ
ประสบการณ์ของตนเองให้ครบทุกข้อ ( ๑๕-๒๐ นาที)
๔.ให้หวั หน้ากลุ่มเป็ น “คุณอานวย” พาชวนคิด ชวนคุย ทีละประเด็น
ให้กลุ่มเลือก “คุณลิขิต” เพื่อทาหน้าที่บนั ทึกสรุ ปความรู ้ของกลุ่ม
“คุณอานวย” พาสมาชิกกลุ่มแลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้ซ่ ึ งกันและกัน
(Team
Learning & Knowledge Sharing : Storytelling,Deep Listening ,
Knowledge Capture, Knowledge Creation)
๕.ให้“คุณอานวย”หรื อ “คุณลิขิตนาเสนอขอสรุ ปในวงใหญ่
วิทยากร
เติมเต็มและโยงเข้าสู่ แนวคิด หลักการ เครื่ องมือของ KM
กิจกรรมที่ ๒
ขั้นตอน
วิทยากร
ฝึ กทักษะการทา Team Learning
ผ่านการชมภาพยนตร์ครั้งที่ ๑
๑.ให้โจทย์ก่อนดูภาพยนต์
จับประเด็นความรู้จากภาพยนตร์
“ฉากไหนบ้างที่เป็ นการจัดการความรู้ของมนุษย์” ให้จดไว้
๒. เมื่อดูจบแล้ว ให้นามาแลกเปลี่ยนในวงเล็ก
๓. ให้ตวั แทนนาเสนอในวงใหญ่
เราได้ ข้อคิดใหม่ อะไรบ้ างเกีย่ วกับ
๑. กระบวนการแลกเปลี่ยนมุมมอง (Sharing)
๒.ความหมายและความสาคัญของ KM
เป้ าหมาย : แก้ ไขปั ญหา ป้ องกันปั ญหา พัฒนาให้ ดีขึน้
ความรู้ ความสามารถ ที่จาเป็ นและเพียงพอ
กิจกรรมที่ ๓ ตัวอย่างการจัดการความรู ้ใน “ภูมิปัญญาชาวบ้าน”
ขั้นตอน
๑.ถามว่า คืออะไร
๒.ขั้นตอนพัฒนาเครื่ องมือชิ้นนี้มีอะไรบ้าง
๓.ต้องมีความรู ้อะไรบ้างถึงทาสิ่ งนี้ได้
การจัดการความรู้ ในชีวติ ประจาวัน
๑.๑ การจัดการความรู้ ในชีวติ ประจาวัน
กิจกรรมที่ ๔
การจัดการความรู้ ในกรณีของการเรียนขับรถยนต์
๑. อยากขับรถเป็ นเพราะ...............
๒. สั งเกต (ส่ วนประกอบของรถ หน้ าที่ พฤติกรรมคนขับ)
๓. ถาม (มีคนให้ ถาม เพือ่ น กัลยาณมิตร ผู้รู้)
๔. อ่าน ค้ นคว้ า จากเอกสาร สื่ อ ต่ างๆ (รู้แหล่ งทีจ่ ะไปค้ นคว้ า)
๕. ทดลองลงมือปฏิบัติ (ใจทีก่ ล้ าทีจ่ ะเสี่ ยง ออกไปจากความคุ้นชินเดิม มีคนประคอง เรียนแบบ)
๖. ทาซ้าบ่ อยๆ (ความเพียร)
๗. การค่ อยๆสั มผัสกับประโยชน์ ทเี่ กิดขึน้ (ชัยชนะเล็กๆ ความภาคภูมใิ จ ความเชื่อมัน่ ความรรัทาา)
๘. เกิดความรู้ และทักษะ
(ใจ ฉันทะ) อยากขับรถเป็ น เพราะ…….
เรียนรู้ ตวั รถ
เรียนรู้ การใช้ รถ
• จากการสั งเกต
• ฝึ กขับจากผู้สอน
• ขับในสนาม
• ถามจากผู้รู้
• ขับออกถนน
• อ่ านจากคู่มอื หนังสื อ
ฯลฯ
• ศึกษาองค์ ประกอบ หน้ าที่
การใช้ งาน
การเรียนรู้ก่อนทา
(Learn before)
การเรียนรู้ระหว่ างทา
(Learn during)
ขับรถเป็ น
เรียนรู้ ผลจากการใช้ รถ
• ประโยชน์
• เปรียบเทียบกับชีวติ
การเรียนรู้ หลังทา
(Learn after)
การจัดการความรู้ ในกรณีของการเรียนขับรถยนต์
ใจ
( Heart)
๑. อยากขับรถเป็ นเพราะ...............
ความรู้
( Head)
ทักษะ
( Hand)
๒. สั งเกต (ส่ วนประกอบของรถ หน้ าที่ พฤติกรรมคนขับ)
๓. ถาม (มีคนให้ ถาม เพือ่ น กัลยาณมิตร ผู้รู้)
๔. อ่าน ค้ นคว้ า จากเอกสาร สื่ อ ต่ างๆ (รู้แหล่ งทีจ่ ะไปค้ นคว้ า)
๕. ทดลองลงมือปฏิบัติ (ใจทีก่ ล้ าทีจ่ ะเสี่ ยง ออกไปจากความคุ้นชินเดิม มีคนประคอง เรียนแบบ)
๖. ทาซ้าบ่ อยๆ (ความเพียร)
๗. การค่ อยๆสั มผัสกับประโยชน์ ทเี่ กิดขึน้ (ชัยชนะเล็กๆ ความภาคภูมใิ จ ความเชื่อมัน่ ความรรัทาา)
๘. เกิดความรู้ และทักษะ
กิจกรรมที่ ๕ ความเป็ นมาของ KM
การจัดการความร้ ู
(Knowledge Management)
ช่ วงทศวรรษ
นวัตกรรมทางด้ านการบริหาร
ก่ อนปี 1960 (2503)
• เน้ นคนเป็ นเครื่องจักร เป็ นแรงงานเพือ่ การผลิต (ทฤษฎี X)
• เน้ นประสิ ทธิภาพของการทางานเป็ นการเฉพาะ
1960 (2503)
• เริ่มให้ ความสาคัญในคุณค่ าของการเป็ นมนุษย์ มากขึน้ (ทฤษฎี Y)
• เน้ นประสิ ทธิภาพของการทางานควบคู่กบั คุณค่ าของแรงงาน
1970 (2513)
• การบริหารเชิงมุ่งหวังผล (Management By Objectives)
• เน้ นคุณภาพชีวติ ในการทางาน (Quality of Work Life)
1980 (2523)
• กลุ่มควบคุมคุณภาพ (Quality Control Circle)
• เน้ นประสิ ทธิภาพและประสิ ทธิผลในการทางาน (Work
• International Standard Organization
• Total Quality Management
Productivity)
ช่ วงทศวรรษ
1990 (2533)
ศตวรรษที่ 21
นวัตกรรมทางด้ านการบริหาร
• การปรับรื้อระบบ โดยการคิดใหม่ ท้งั หมด (Reengineering)
• ระบบองค์ กรเรียนรู้ (Learning Organization)
เพือ่ เน้ นศักยภาพและความ สามารถในการเรียนรู้ร่วมกันเป็ นทีม
ของบุคคลและองค์ กรในระยะยาว
•
ระบบการบริ หารความร้ ู
(Knowledge Management)
“ เก่ งจริง รู้ เท่ า รู้ ทนั ”
Director of Intellectual Capital
Vice President, Organizational Learning
Chief Knowledge Officer (CKO)
Learning
Organization
Dr. Perter M. Senge ศาสตราจารย์ แห่ ง MIT Sloan School of Management
“Mr. Learning Organization”
วินัย
5
ประการขององค์ กรแห่ งการเรียนรู้
๑. Shared Vision
(การเห็นภาพอนาคตที่สดใสร่ วมกัน)
(การเรี ยนรู ้ร่วมกัน)
๓. Systems Thinking (การเห็นหมากทั้งกระดาน เห็นช้างทั้งตัว)
๔. Mental Model (วิธีการมองโลก มองชีวติ และให้คุณค่า)
๕. Personal Mastery (การจัดการตัวเอง :การแปลงความรู ้สู่ ปฏิบตั ิ
และให้สัมผัสผล)
๒. Team Learning
๑. การจัดการความรู้ คอื อะไร
แนวคิด
หลักการ
เครื่องมือ
๑. สังคมและโลกเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ ว
๑.๑ สถานการณ์ปัญหาใหม่ๆ ที่ซบั ซ้อน เกิดขึ้นมากมาย
๑.๒ วิธีคิด ความรู ้ ทักษะ เดิมใช้ไม่ได้อีกต่อไปแล้ว
๑.๓ ทักษะการจัดการความรู้เป็ นทักษะที่มีความสาคัญยิง่
๒. การจาแนกความรู้ ความรู้จากภายนอก ความรู้ จากภายใน
๓. การให้ความสาคัญกับความรู ้ในตัวคนและจากประสบการณ์ตรง
เป้ าหมายในการพัฒนาที่ชดั เจน การเรี ยนรู ้ก่อนทา ระหว่างทา หลังทา
การเรี ยนลัด ผลงานที่เป็ นเลิศ วิธีการทางานที่สร้างผลงานที่เป็ นเลิศ
๑. เรื่ องเล่า เร้าพลัง (Strorytelling) การฟังอย่างลึกซึ้ ง จับประเด็น/สร้าง
๒.ชุมชนนักปฏิบตั ิ (Community of
Practice)
การชวนคยุ ชวนคิด
ในการพัฒนาคน งาน องค์ กร
๒. การจัดการความรู้ มปี ระโยชน์ อย่ างไร
ประโยชน์ ในการ
พัฒนาคน
พัฒนางาน
พัฒนาทีม กลุ่ม
พัฒนาองค์ กร
พัฒนาเครือข่ าย
๓. การจัดการความรู้ มขี ้นั ตอนอย่ างไร
๑. การระบุเป้าหมายทีต่ ้ องการพัฒนา ยกระดับให้ ชัดเจน
๒. การระบุความรู้ ความสามารถทีจ่ าเป็ นต้ องใช้
๒.๑ ทีม่ อี ยู่แล้ ว
๒.๒ ทีต่ ้ องแสวงหาเพิม่
๓. การกาหนดแหล่ งความรู้ และวิธีการได้ มาของความรู้
การจัดวงการเรียนรู้ (CoP)
• ตัวเดินเรื่อง
• ความเป็ นชุ มชน
• แนวปฏิบตั ิ
การจัดการความรู้
1.
2.
ขั้นตอน มาตรฐาน
K1
K2
๓. การจัดการความรู้ มขี ้นั ตอนอย่ างไร
๑. การระบุเป้าหมายทีต่ ้ องการพัฒนา ยกระดับให้ ชัดเจน
(มีตัวชี ว้ ดั เพื่อวัดการเปลี่ยนแปลงที่ชัดเจน)
๒. การระบุความรู้ ความสามารถทีจ่ าเป็ นต้ องใช้
๒.๑ ทีม่ อี ยู่แล้ ว
๒.๒ ทีต่ ้ องแสวงหาเพิม่
๓. การกาหนดแหล่ งความรู้ และวิธีการได้ มาของความรู้
ผ้ รู ้ ู ตารา เว็บไซด์ วงแลกเปลีย่ น
๔. การทดลองใช้ ความรู้ ประยุกต์ ปรับใช้
๕. การประเมินผลการใช้ ความรู้ รายทาง และปลายทาง
๖. การจัดเก็บความรู้ และสร้ างมูลค่ าเพิม่ ของความรู้
๔. การจัดการความรู้ มเี ครื่องมืออะไรบ้าง
๑. การถอดความรู้ และบทเรียนจากการทากิจกรรม
(After Action Review)
ชุ ดคาถาม
(๑) เป้ าหมาย การเปลี่ยนแปลที่อยากจะเห็น อะไร แค่ไหน
(๒) ผลที่เกิด เมื่อเทียบเคียงกับเป้ าหมาย
(๒.๑) อะไรที่บรรลุ ............เพราะอะไร....................................
(๒.๒) อะไรที่ไม่บรรลุ ............เพราะอะไร....................................
จะทาให้ดีข้ ึนได้อย่างไร
ถ้ ามีโอกาสทาใหม่ วิธีคดิ วิธีการ อะไรที่เราต้ องปรับเปลีย่ น
(๓) สรุ ปข้อคิด ความรู ้ใหม่ที่ได้จากการทบทวน
วิธีคดิ
ผลทีเ่ กิด
วิธีคดิ
ผลทีเ่ กิด
วิธีทา
ผลทีค่ าด
ผลทีเ่ กิดจริง
วิธีทา
ผลทีค่ าด
ผลทีเ่ กิดจริง
หลักคิดในการถอดความรู้และบทเรียนจากการทากิจกรรม
๔. การจัดการความรู้ มเี ครื่องมืออะไรบ้าง
๒. การถอดความรู้ และบทเรียนจากผู้ร้ ู
ชุ ดคาถาม
(๑) ความภาคภูมิใจ ความสาเร็ จคืออะไร ดีอย่างไร
(๒) หลักคิด หลักยึด วิธีการ ขั้นตอน ปั จจัยเอื้อ ที่จาเป็ นและเพียงพอ
๓. การจัดวงพูดคุยเพือ่ ให้ เกิดการแลกเปลีย่ น หาความรู้
และยกระดับความรู้
ก่ อนการจัดวงการเรียนรู้ ผูจ้ ดั (การความรู้) ต้องรู ้วา่
(๑) เป้ าหมายของการพัฒนา(การเปลี่ยนแปลงที่ตอ้ งการ) คืออะไร
(๒) ความรู้ที่ตอ้ งการ (วิธีคิด วิธีการ และปัจจัยที่จาเป็ นและเพียงพอ) คืออะไร
(๓) ใครคือผูร้ ู้
(๔) ใครคือผูอ้ ยากรู้
ผู้ร้ ู ผู้มปี ระสบการณ์
ผู้อยากรู้ และ
คุณกิจ
อยากร่ วมแลกเปลีย่ น
(เรื่องเล่ า เร้ าพลัง)
เรื่ อง...............
ผู้อยากรู้ และ
อยากร่ วมแลกเปลีย่ น
ผู้บันทึกความรู้
คุณลิขิต
คุณกิจ
คลังความรู้
ผู้ดาเนินรายการ
คุณอานวย (การเรียนรู้)
๔. การจัดการความรู้ มเี ครื่องมืออะไรบ้าง
ระหว่ างพูดคุย คุณอานวย(การเรียนรู้) ต้ องจัดการให้ เกิด
(๑) เรื่ องเล่าเร้าพลัง สร้ างแรงบันดาลใจ ข้ อคิด ความรู้ วิธีการ
(๒) การฟังอย่างลึกซึ้ ง
(๓) การจับประเด็นความรู้
(๔) การสร้างความรู้จากการฟัง
(๕) การโยงความรู้ไปใช้ประโยชน์
หลังการพูดคุย คุณอานวย กับคุณลิขิต ต้ อง
(๑) ทา AAR
(๒) ทา คลังความรู้ และสร้ างมูลค่ าเพิม่ ของความรู้
กิจกรรมที่ ๖ ฝึ กทักษะการทา Team
ผ่ านการชมภาพยนต์
Knowledge Capture
Knowledge Creation
Knowledge Sharing
Knowledge Utilization
Learning
ครั้งที่ ๒
คุณภาพของ
ฟัง คิด ถาม/แลกเปลีย่ น
สรุปประเด็น บันทึก
การโยงความรู้ ไปใช้ ประโยชน์
Knowledge Facilitator + Note Taker
(คุณลิขิต)
(คุณอานวยการเรียนรู้ )
ปัญหาทีม่ ักพบบ่ อยครั้งในวงพูดคุยมีอะไรบ้ าง
การสร้ างบรรยากาศ การมีส่วนร่ วม +การเรียนรู้
กิจกรรมที่ ๗ ตัวอย่ างการนาแนวคิด หลักการ เครื่องมือ
ของ KM ไปใช้ ประโยชน์ ในการขับเคลือ่ นงาน
กรณี อบต.วัดดาว
ขั้นตอนการจัดการความรู้
เป้ าหมายของการจัดการความรู้ แก้ไข ป้องกัน พัฒนา
๑.การบ่งชี้ความรู ้
๒.การสร้างและแสวงหาความรู้
๓.การจัดความรู้ให้เป็ นระบบ
๔.การประมวลและกลัน่ กรองความรู ้
๕.การเข้าถึงความรู้
๖.การแบ่งปั น แลกเปลี่ยน
๗.การเรี ยนรู้
๘.การยกย่อง ชมเชย
กิจกรรมที่ ๘ การใช้
KM
ในการขับเคลือ่ นยุทธศาสตร์ ของ สท.
๑.การเรียนรู้ ผ่านแผนการจัดการความรู้ ปี ๒๕๕๗
๒.การคิดแผนการจัดการความรู้ ปี ๒๕๕๘
แผนการจัดการความรู้ แผนที่ ๑
เป้าหมาย
องค์ ความรู้ ในการเสริมสร้ างและพัฒนาศักยภาพ
เครือข่ าย จานวน ๑ เรื่อง
การเสริมสร้ างและพัฒนาศักยภาพเครือข่ าย
ชุ ดคาถาม
๑. เครื อข่ายคือใคร
๒.ตัวชี้วดั ความเข้มแข็งของเครื อข่ายมีอะไรบ้าง
๓.จุดแข็ง จุดอ่อน ของเครื อข่ายเป้ าหมายมีอะไรบ้าง
๔.จุดอ่อนดังกล่าว มีสาเหตุมาจากอะไร
๕.วิธีการแก้ไขจุดอ่อน มีอะไรบ้าง
แผนการจัดการความรู้ แผนที่ ๒.๑
เป้าหมาย แนวทางการยกระดับศูนย์เด็กเล็กให้มีคุณภาพตาม
มาตรฐานศูนย์เด็กเล็กแห่งชาติ จานวน ๑ เรื่ อง
การยกระดับศูนย์เด็กเล็กให้มีคุณภาพตามมาตรฐาน
ศูนย์เด็กเล็กแห่งชาติ
ชุ ดคาถาม
(ข้ อมูล ความรู้
ความสามารถที่
จาเป็ นต้ องรู้ ต้ อง
มี
ในการ
ขับเคลือ่ นงานให้
บรรลุเป้ าหมาย)
๑. ตัวชี้วดั ของมาตรฐานศูนย์เด็กเล็กแห่งชาติมีอะไรบ้าง
๒. ศูนย์เด็กเล็กเป้ าหมายมีที่ไหนบ้าง
๓. จุดแข็ง จุดอ่อน ของแต่ละศูนย์มีอะไรบ้าง
๔. จุดอ่อนดังกล่าวมีสาเหตุ มาจากอะไร
๕. วิธีการแก้ไขจุดอ่อนมีอะไรบ้าง
แผนการจัดการความรู้ แผนที่ ๒.๒
เป้าหมาย เจ้าหน้าที่ สทย. จานวน ๕๐ คน และเยาวชน ๑,๕๐๐ คน
ได้รับความรู ้ในการป้ องกันปัญหาการตั้งครรภ์ก่อนวัย
อันควร
เยาวชน ๑,๕๐๐ คนสามารถป้ องกันปั ญหาการตั้งครรภ์
ก่อนวัยอันควร
เจ้าหน้าที่ สทย. ๕๐ คนสามารถทาให้เยาวชน ๑,๕๐๐ คน
สามารถป้ องกันปัญหาการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร
แผนการจัดการความรู้ แผนที่ ๒.๒
เป้าหมาย เยาวชน ๑,๕๐๐ คนสามารถป้ องกันปั ญหาการตั้งครรภ์
ก่อนวัยอันควร
ชุ ดคาถาม
๑.ปัญหาการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรมาจากสาเหตุอะไรบ้าง
๒.ข้อมูลพื้นฐานของเยาวชนกลุ่มเป้ าหมาย
๓.วิธีป้องกันที่สอดคล้องกับแต่ละกลุ่มเป้ าหมายมีอะไรบ้าง
แผนการจัดการความรู้ แผนที่ ๒.๒
เป้าหมาย เจ้าหน้าที่ สทย. ๕๐ คนสามารถทาให้เยาวชน ๑,๕๐๐ คน
สามารถป้ องกันปัญหาการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร
ชุดคาถาม ๑. ข้อมูลพื้นฐานของเจ้าหน้าที่ สทย. ควรมีอะไรบ้าง
๒. ความรู้ ความสามารถ ที่จาเป็ นและเพียงต่อการ
ทางานให้บรรลุเป้ าหมายของเจ้าหน้าที่มีอะไรบ้าง
๓. จะทาอย่างไรถึงจะทาให้เจ้าหน้าที่ที่เป็ น
กลุ่มเป้ าหมายมีความรู ้ความสามารถดังกล่าว
แผนการจัดการความรู้ แผนที่ ๓
เป้าหมาย ผูด้ อ้ ยโอกาสจานวน ๒,๐๐๐ คนได้รับการพัฒนา
ให้มีสวัสดิภาพและคุม้ ครองพิทกั ษ์สิทธิ
ชุ ดคาถาม
๑.ผูด้ อ้ ยโอกาสที่เป็ นกลุ่มเป้ าหมายหมายถึงใคร
๒.สวัสดิภาพและสิ ทธิของกลุ่มเป้ าหมายมีอะไรบ้าง
๓.ตัวชี้วดั และเกณฑ์ของสวัสดิภาพและสิ ทธิของ
กลุ่มเป้ าหมายมีอะไรบ้าง
๔.ข้อมูลพื้นฐานของกลุ่มเป้ าหมายที่จาเป็ นมีอะไรบ้าง
๕.วิธีการพัฒนาให้ได้ตามเกณฑ์ตอ้ งทาอย่างไร
แผนการจัดการความรู้ แผนที่ ๔
เป้าหมาย รู ปแบบของการเตรี ยมความพร้อมประชากรสู่
สังคมผูส้ ูงอายุ
ประชากรจานวน.......สามารถเตรี ยมความพร้อม
สู่สงั คมผูส้ ูงอายุ
ชุดคาถาม ๑.ตัวชี้วดั ความพร้อมของการเข้าสู่สังคมผูส้ ู งอายุมีอะไรบ้าง
๒.ประชากรกลุ่มเป้ าหมายเป็ นใครบ้าง
๓.ข้อมูลพื้นฐานที่สาคัญของกลุ่มเป้ าหมายมีอะไรบ้าง
๔.กลุ่มเป้ าหมายแต่ละกลุ่มมีเรื่ องอะไรต้องเตรี ยมความพร้อมบ้าง
๕.มีวธิ ีการเตรี ยมความพร้อมแต่ละเรื่ องแต่ละกลุ่มเป้ าหมาย
อย่างไรบ้าง
แผนการจัดการความรู้ แผนที่ ๕
เป้าหมาย จานวนกิจกรรมในการพัฒนาบุคลากร สท. เพื่อเข้าสู่
ประชาคมอาเซียน จานวน ๒ กิจกรรม
พัฒนาบุคลากร สท.จานวน...... เพื่อให้สามารถเข้าสู่
ประชาคมอาเซียน
ชุดคาถาม ๑.ตัวชี้วดั ความพร้อมของการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนมีอะไรบ้าง
๒.บุคลากร สท.ที่เป็ นกลุ่มเป้ าหมายเป็ นใครบ้าง
๓.ข้อมูลพื้นฐานที่สาคัญของกลุ่มเป้ าหมายมีอะไรบ้าง
๔.กลุ่มเป้ าหมายแต่ละกลุ่มมีเรื่ องอะไรต้องพัฒนาบ้าง
๕.มีวธิ ีการพัฒนากลุ่มเป้ าหมายแต่ละคนอย่างไรบ้าง
แผนการจัดการความรู้ แผนที่ ๖.๑
เป้าหมาย ระดับความสาเร็ จของการส่ งเสริ มกระบวนการสร้าง
นวัตกรรมองค์กร
สามารถส่ งเสริ มกระบวนการสร้างนวัตกรรมองค์กร
ชุดคาถาม ๑.กลุ่มเป้ าหมายเป็ นกลุ่มงานไหนบ้าง เกณฑ์ในการคัด ?
๒.ประเด็นที่จะสร้างนวัตกรรมคืออะไร
๓.มีวธิ ี สร้างอย่างไร
แผนการจัดการความรู้ แผนที่ ๖.๒
เป้าหมาย ร้อยละ ๗๐ ของการนาข้อมูลจากระบบคลังข้อมูล
ไปใช้ประโยชน์
ชุดคาถาม ๑. ปัญหา อุปสรรค ของการนาข้อมูลจากระบบคลังข้อมูล
ไปใช้ประโยชน์ที่ผา่ นมามีอะไรบ้าง
๒.ประโยชน์ของการนาข้อมูลจากระบบคลังข้อมูล
ไปใช้ประโยชน์ที่ผา่ นมามีอะไรบ้าง
๓.มีวธิ ีทาให้หน่วยงานต่างๆนาข้อมูลจากระบบคลังข้อมูล
ไปใช้ประโยชน์อย่างไรบ้าง