การประเมินความคุ้มค่าของโครงการ

Download Report

Transcript การประเมินความคุ้มค่าของโครงการ

LOGO
การประเมินความคุ้มค่ า
การปฏิบัติภารกิจของภาครัฐ
KM กองแผนงาน
ประจาปี งบประมาณ พ.ศ. 2557
โดย
กลุ่มงานตรวจสอบและติดตามผลงาน กองแผนงาน
เนือ้ หาการบรรยาย
1. ความเป็ นมา
2. ความหมาย
3. วัตถุประสงค์ ของการประเมินความคุ้มค่า
4. ขอบเขตการประเมินความคุ้มค่ า
5. กรอบการประเมินความคุ้มค่ า
6. ขั้นตอนการประเมินความคุ้มค่ า
7. ข้ อมูลทีใ่ ช้ ในการประเมินความคุ้มค่ า
8. ตัวอย่างการวิเคราะห์
กลุ่มงานตรวจสอบและติดตามผลงาน
1. ความเป็ นมา
 พระราชกฤษฎีกาว่ าด้ วยหลักเกณฑ์ และวิธีการบริหารกิจการบ้ านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546
กาหนดให้ มีการประเมินความคุ้มค่ าในการปฏิบัตภิ ารกิจของรัฐในมาตราที่ 22
 หน่ วยงานที่รับผิดชอบ
* สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสั งคมแห่ งชาติ และสานักงบประมาณ
* ปัจจุบนั การประเมินความคุ้มค่ าเป็ นส่ วนหนึ่งทีร่ วมอยู่ในการประเมิน PART ในหมด จ
การประเมินผลในระดับผลผลิตและผลลัพธ์
 การดาเนินงาน
* นาร่ อง ปี พ.ศ. 2550 ในกลุ่ม 3 กระทรวงหลัก ได้ แก่ กระทรวงมหาดไทย กระทรวง
อุตสาหกรรม และกระทรวงสาธารณสุ ข
* ขยายผลครอบคลุมทุกกระทรวงปี พ.ศ. 2552 และกรมชลประทานได้ เลือกผลผลิตการ
จัดการนา้ ชลประทานเพือ่ นาร่ อง
ทีม่ าข้ อมูล : สถาบันเพิม่ ผลผลิตแห่ งชาติ
2. ความหมาย
การประเมินความคุ้มค่ า (Value for Money : VFM) หมายถึง การประเมินการ
ดาเนินภารกิจของภาครัฐเพือ่ ให้ ได้ ผลผลิต ผลลัพธ์ ตามวัตถุประสงค์ ที่
กาหนดอย่ างมีประสิ ทธิภาพ และมีผลประโยชน์ ทสี่ มดุลกับทรัพยากรที่ใช้
ทั้งนี้ ผลลัพธ์ ทเี่ กิดขึน้ อาจเป็ นได้ ท้งั ผลสาเร็จที่พงึ ประสงค์ และผลกระทบ
ในทางลบที่เกิดขึน้ แก่ประชาชนและสั งคม ทั้งที่สามารถคานวณเป็ นตัวเงินได้
และไม่ สามารถคานวณเป็ นตัวเงินได้
ทีม่ าข้ อมูล : สถาบันเพิม่ ผลผลิตแห่ งชาติ
3. วัตถุประสงค์ ของการประเมินความคุ้มค่ า
มุ่งให้ ส่วนราชการประเมินความคุ้มค่ าการปฏิบัตภิ ารกิจด้ วยตนเอง (Selfassessment) เพือ่
1) ประเมินว่ าการปฏิบัติภารกิจ มีประสิ ทธิภาพ ประสิ ทธิผล และได้ ก่อให้ เกิด
ผลประโยชน์ ต่ อประชาชนและภาครัฐมากหรือน้ อยกว่ าค่ าใช้ จ่ายและผลเสี ยที่เกิดขึน้
เพียงใด
2) เป็ นข้ อมูลสาหรับส่ วนราชการในการทบทวนจัดลาดับความสาคัญในการเลือกปฏิบัติ
ภารกิจ หรือเป็ นข้ อมูลสาหรับรัฐบาลเพือ่ พิจารณายุบเลิกภารกิจ รวมทั้งการปรับปรุง
วิธีการปฏิบัติภารกิจ (Self-improvement) ให้ มีประสิ ทธิผล และประสิ ทธิภาพเพิม่ ขึน้
3) เป็ นแนวทางในการพิจารณาจัดตั้งงบประมาณของส่ วนราชการในปี ต่ อไป (Selfcontrol)
ทีม่ าข้ อมูล : สถาบันเพิม่ ผลผลิตแห่ งชาติ
4. ขอบเขตการประเมินความคุ้มค่ า
1) หน่ วยของการประเมิน เป็ นการประเมินภารกิจในระดับกรม แต่ อย่ างไรก็ตามหลักการ
ประเมินสามารถประยุกต์ ได้ ทั้งในระดับกรม กลุ่มภารกิจ หรือกระทรวง
2) ภารกิจที่ต้องประเมิน ให้ ความสาคัญเฉพาะภารกิจหลัก (Core Business) ของ
หน่ วยงาน โดยหน่ วยงานต้ องเป็ นผู้กาหนดด้ วยตนเอง ประกอบด้ วย
* ภารกิจหลักหรืองานหลัก
* ผลผลิตหลัก
* โครงการสาคัญเพือ่ ผลักดันภารกิจ
ทีม่ าข้ อมูล : สถาบันเพิม่ ผลผลิตแห่ งชาติ
5. กรอบการประเมินความคุ้มค่ า
มิติ
มิติที่ 1
ประสิ ทธิผลการปฏิบัติภารกิจ
ลักษณะการประเมิน
หมายเหตุ
เป็ นการประเมินการบรรลุวตั ถุประสงค์ หรือเป้ าหมายของการปฏิบัติ
ภารกิจ โดยเปรียบเทียบผลทีไ่ ด้ รับจากการปฏิบัติภารกิจว่ ามีความ
สอดคล้องเป็ นไปตามวัตถุประสงค์ เป้ าหมาย และผลทีค่ าดว่ าจะ
ได้ รับทีก่ าหนดไว้ ก่อนดาเนินการหรือไม่ โดยพิจารณาจากตัวชี้วดั 2
ด้ าน ได้ แก่
* การบรรลุวตั ถุประสงค์ เน้ นผลลัพธ์ ทเี่ กิดขึน้ (Outcome)
* ความพึงพอใจ
หลีกเลีย่ งการประเมิน
ความสาเร็จของการ
ดาเนินงาน (Process)
เป็ นการประเมินความเหมาะสมสอดคล้องของการใช้ ทรัพยากรและ
กระบวนการทางานเพือ่ ให้ ได้ มาซึ่งผลผลิตตามวัตถุประสงค์ โดย
พิจารณาจากผลผลิตเทียบกับต้ นทุนทั้งหมด การจัดหาทรัพยากรที่
มิติที่ 2
ได้ มาตรฐาน มีค่าใช้ จ่ายทีเ่ หมาะสม รวมทั้งมีกระบวนการทางานที่
ประสิ ทธิภาพการปฏิบัติภารกิจ ประหยัดทรัพยากร ทั้งนี้ ตัวชี้วดั มี 2 ด้ าน ได้ แก่
* ประสิ ทธิภาพการผลิต เช่ นต้ นทุนปริมาณเท่ าเดิมแต่ ส่งให้ พนื้ ที่
ชลประทานมากขึน้
* การประหยัด
www.themegallery.com
(ต่ อ)
มิติ
มิติที่ 3
ผลกระทบ
ลักษณะการประเมิน
หมายเหตุ
เป็ นการประเมินผลอันสื บเนื่องมาจากการปฏิบัติภารกิจ ทั้งที่
คาดหมายหรือตั้งใจ และไม่ ได้ คาดหมาย ทั้งทีเ่ กิดขึน้ ระหว่ างและ
ภายหลังการปฏิบัติภารกิจ ทีอ่ าจกระทบต่ อการโดยพิจารณาจาก
ตัวชี้วดั 2 ด้ าน ได้ แก่
* การบรรลุวตั ถุประสงค์
* ความพึงพอใจ
หมายเหตุ : ความคุ้มค่าไม่ จาเป็ นต้ องลดต้ นทุน (Cost) แต่ เป็ นการลงทุนเพือ่ ให้ เกิดประโยชน์ ที่เพิม่ ขึน้ เช่ น การเพิม่
ประสิทธิภาพชลประทานโดยลงทุนงานคันคูนา้ ในเขตพืน้ ที่ชลประทาน
www.themegallery.com
6. ขั้นตอนการประเมินความคุ้มค่ า
1
ทบทวนผลผลิตของหน่ วยงาน
2
ทบทวนและกาหนดตัวชี้วดั และพิจารณาความ
สมบูรณ์ ของข้ อมูล
3
กาหนดผลตอบแทนและค่ าใช้ จ่าย
4
สรุ ปผลการประเมินความคุ้มค่ า
5
จัดทาข้ อเสนอแนะจากการประเมินความคุ้มค่ า
www.themegallery.com
7. ข้ อมูลทีใ่ ช้ ในการประเมินความคุ้มค่ า
 ด้ านยุทธศาสตร์ /ความเชื่อมโยง
* แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสั งคมแห่ งชาติ
* แผนการบริหารราชการแผ่ นดิน
* แผนยุทธศาสตร์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
* แผนกลยุทธ์ ของกรมชลประทาน
 ด้ านข้ อมูลองค์ กร
* โครงสร้ างองค์ กร อัตรากาลังขององค์ กร และงบประมาณรายจ่ ายประจาปี
 ด้านการวิเคราะห์
* การวิเคราะห์ ทางการเงิน และการวิเคราะห์ ทางเศรษฐศาสตร์
ทีม่ าข้ อมูล : สถาบันเพิม่ ผลผลิตแห่ งชาติ
7.1 การวิเคราะห์ ด้านการเงินและเศรษฐศาสตร์ (ด้ านประสิ ทธิผล)
ด้ านการเงิน
ด้ านเศรษฐศาสตร์
* การวิเคราะห์ ต้นทุน ( คิดต้ นทุนทางตรงอย่ างเดียว)
* การวิเคราะห์ ต้นทุน (คิดทั้งต้ นทุนทางตรงและต้นทุนทางอ้อม)
- คิดเฉพาะค่ าใช้ จ่ายภายในโครงการ ไม่ รวมค่ าใช้ จ่าย
ทางอ้อมอืน่ ๆ
- ไม่ คดิ ในรู ปค่ าเสี ยโอกาส
* การวิเคราะห์ ผลประโยชน์
- คิดเฉพาะผลตอบแทนทีม่ ตี ัวตน (ผลประโยชน์ ทางตรง)
- คิดทั้งค่ าใช้ จ่ายภายในโครงการและใช้ ค่าใช้ จ่ายทางอ้อมอืน่ ๆ เช่ น
ค่ าก่อสร้ างอ่างเก็บนา้ และมูลค่ าของพืชพันธุ์สัตว์ ป่าทีส่ ู ญเสี ยไปจาก
การมีโครงการ
- คิดค่ าเสี ยโอกาสของการใช้ แรงงานและทุนของตนเอง เช่ น
เกษตรกรเพาะปลูกในพืน้ ทีท่ ากินของตนเอง ต้ องคิดค่ าเช่ าทีด่ ิน และ
ค่ าแรงเป็ นต้ นทุนด้ วย
* การวิเคราะห์ ผลประโยชน์ (คิดทั้งผลประโยชน์ ทางตรงและ
ทางอ้อมทางสังคมโดยรวม)
www.themegallery.com
(ต่ อ)
ประเด็นการวิเคราะห์
1. มูลค่ าปัจจุบันสุ ทธิ
(Net Present Value : NPV)
ความหมาย
หมายถึง ค่าความแตกต่างระหว่างมูลค่า
ปัจจุบนั ของผลตอบแทนหรื อผลประโยชน์
(PVB) กับมูลค่าปัจจุบนั ของต้นทุน (PVC)
วิธีคดิ
NPV = PVB – PVC
n
∑
=
(Bt-Ct)
t
t=1 (1+r)
โดย Bt
ผลประโยชน์ของโครงการในปี ที่ t
Ct ต้นทุนของโครงการ ในปี ที่ t
r อัตราคิดลดหรื ออัตราดอกเบี้ย
n อายุของโครงการ
t ระยะเวลาของโครงการ(1,2,3,...)
หาก NPV  0 แสดงว่ าโครงการคุ้มค่ าแก่
การลงทุน
www.themegallery.com
(ต่ อ)
ประเด็นการวิเคราะห์
2. อัตราส่ วนผลประโยชน์ ต่อต้ นทุน
(Benefit-Cost Ratio : B/C Ratio)
ความหมาย
วิธีคดิ
หมายถึงอัตราส่ วนระหว่างมูลค่าปัจจุบนั ของ B/C Ratio = PVB/PVC
ผลตอบแทน (PVB) กับมูลค่าปัจจุบนั ของ
n
n
(Bt-Ct)
ต้นทุน (PVC)
∑
∑
=
t
t=1 (1+r)
Ct
t
t=1 (1+r)
หาก B/C Ratio  1 แสดงว่ าโครงการ
คุ้มค่ าแก่การลงทุน
หมายเหตุ : 1. ให้ ความสาคัญการตั้งสมมุตฐิ านในการวิเคราะห์ เช่ น การกาหนดต้ นทุนผลประโยชน์ มีความครอบคลุม
และสอดคล้องกับข้ อเท็จจริงอย่ างไร 2.อัตราคิดลดที่ใช้ (โครงการของภาครัฐ สศช. กาหนดไว้ที่ร้อยละ 9-12)
www.themegallery.com
(ต่ อ ตัวอย่างการพิจารณาผลการวิเคราะห์ )
ผลผลิต/โครงการ
A
NPV = PVB-PVC
20,000 ล้ านบาท
(กรณี PVB = 25,000 และ PVC = 5,000)
B
100,000 ล้ านบาท
(กรณี PVB = 300,000 และ PVC = 200,000)
C
10,000 ล้ านบาท
(กรณี PVB = 12,000 และ PVC = 2,000)
B/C Ratio = PVB/PVC
5
1.5
6
หมายเหตุ : กาหนดอายุโครงการ 20 ปี อัตราคิดลดร้ อยละ 12
www.themegallery.com
15