กลุ่มที่ 2 - ศูนย์วิจัยและพัฒนาการปศุสัตว์ เขต 4

Download Report

Transcript กลุ่มที่ 2 - ศูนย์วิจัยและพัฒนาการปศุสัตว์ เขต 4

่
กลุ่มที 2 เขต 2, 3 และ 4
ข้อ 3. ท่านมีแนวทางการปฏิบตั งิ านในระดับพื้นที่ เพือ่ สร้าง Smart
Farmer ให้บรรลุวตั ถุประสงค์ของโครงการในปี 2558 ทอย่างไร
ข้อ 4. กรมปศุสตั ว์มีนโยบายในการขับเคลือ่ นยุทธศาสตร์รายชนิดสัตว์
(โคเนื้อ-กระบือ) ด้านการปรับปรุงรูปแบบการเลี้ยงโคเนื้อ-กระบือ
แบบประณีต (Intensive Farming) ท่านมีแนวทางในการนารูปแบบ
ดังกล่าวไปขยายผลอย่างไร
ข้อ 3. ท่านมีแนวทางการปฏิบตั งิ านในระดับพื้นที่ เพือ่ สร้าง Smart
Farmer ให้บรรลุวตั ถุประสงค์ของโครงการในปี 2558 ทอย่างไร
1. แบ่งกกลุ่ม Smart Farmer เป็ น 4 ประเภทตามที่กรมปศุสตั ว์
กาหนด
2. คัดเลือกเกษตรกรโดยยึดหลักคุณสมบัติ 6 ข้อ
3. คัดเลือกจากกลุ่มเกษตรกร Developing Smart Farmer
4. คัดเลือกเกษตรกรตาม Zonning สัตว์ในแต่ละพื้นที่ คัด
จัดสร้างหลักสูตรการพัฒนาแล้วนารูปแบบดังกล่าวไปปฏิบตั ิ
โดยแยกตามประเภทของ Smart Farmer ต่อไป
5. คัดเลือกเกษตรกรจากกลุ่มเลี้ยงสัตว์เดิม
6. คัดเลือกเกษตรกรจากเกษตรกรหัวก้าวหน้า
7. คัดเลือกเกษตรกรจากกลุ่มเกษตรกรที่ข้ นึ ทะเบียนกับกรมปศุ
สัตว์
8. ใช้แนวทางเดิมจากปี 57 แล้วไปตรวจสอบรายชือ่ เกษตรกรกับ
กษ.จังหวัด พร้อมกับดูตาม Zonning สัตว์ แล้วค่อยเข้าไปพัฒนา
9. คัดเกษตรกรรุ่นใหม่ท่ีเป้นทายาทของ Smart Farmer ต้นแบบ
เพือ่ พัฒนาเพิม่ รายได้
10. คัดจากเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการพัฒนาเกษตรกร
โดยมีแนวทางการพัฒนาดังนี้
1. ถอดบทเรียนจาก Smart Farmer ต้นแบบ แล้วนาไป
เผยแพร่/ขยายผลสูร่ ายอืน่ ต่อไป
2. ทา Smart Planning เพือ่ หาปั ญหาและหาแนวทางแก้ไข
ปั ญหาต่างๆ ในกลุ่มนัน้ ต่อไป
3. สนับสนุนกิจกรรม โครงการ ปั จจัยอืน่ ๆ เพือ่ สร้างรายได้และ
เพิม่ ความมัน่ คงยัง่ ยืนต่อไป
4. เสริมศักยภาพให้ Smart Farmer ต้นแบบ โดยเพิม่ องค์
ความรูแ้ ละเทคโนโลยีใหม่ ๆ เข้าไป
โดยมีแนวทางการพัฒนาดังนี้
4. เสริมศักยภาพให้ Smart Farmer ต้นแบบ โดยเพิม่ องค์ความรู ้
และเทคโนโลยีใหม่ ๆ เข้าไป
5. สร้างตลาด และ Brand เฉพาะของสินค้าจาก Smart Farmer
ต้นแบบ
ข้อ 4. กรมปศุสตั ว์มีนโยบายในการขับเคลือ่ นยุทธศาสตร์รายชนิดสัตว์
(โคเนื้อ-กระบือ) ด้านการปรับปรุงรูปแบบการเลี้ยงโคเนื้อ-กระบือ
แบบประณีต (Intensive Farming) ท่านมีแนวทางในการนารูปแบบ
ดังกล่าวไปขยายผลอย่างไร
ข้อ 4. (ต่อ)
1. นาบทเรียนที่ถอดมาจาก Smart Farmer ต้นแบบ มา
เผยแพร่แก่ Smart Farmer และเกษตรกรรายอืน่ ๆ ต่อไป
2. ศึกษาข้อมูลการเลี้ยงสัตว์ของเกษตรกร และทา Smart
Planning เพือ่ หาแนวทางการแก้ไขปั ญหาต่าง ๆ
3. จัดทาโครงการเพือ่ ขอรับการสนับสนุนงบประมาณสจาก
แหล่งเงินทุนและหน่วยงานต่าง ๆ
4. จัดตัง้ ฟาร์มต้นแบบ เป็ นศูนย์เรียนรูต้ น้ แบบ แล้วนา
เกษตรกร Smart Farmer และเกษตรกรรายอืน่ ๆ เข้าไป
ศึกษาดูงาน
ข้อ 4. (ต่อ)
5. สร้างเครือข่ายการผลิตและการตลาด
6. นาองค์ความรูต้ ่าง ๆ ที่ได้จากการถอดบทเรียนจาก Smart
Farmer ต้นแบบทาเป็ นเอกสารเผยแพร่ต่อไป
7. จัดประกวดองค์ความรูแ้ ละนวัตกรรมใหม่จาก Smart Farmer
ต้นแบบทัง้ หลาย แล้วมีรางวัลให้ เป็ นการสร้างแรงจูงใจ
8. ค้นหาเทคโนโลยีและองค์ความรูแ้ ละนวัตกรรมใหม่ ๆ ที่เกิดขึ้น
ในฟาร์มต้นแบบ อาทิ สูตรอาหารเลี้ยงสัตว์ใหม่ ๆ , วิธีการจัดการ
รูปแบบใหม่ และหรือวิธีการบริหารจัดการพื้นที่แบบใหม่ ๆ เพือ่
เกิดประสิทธิภาพสูงสุด สร้างรายได้ และช่วยลดต้นทุนการผลิตได้ดี
ข้อ 4. (ต่อ)
9. ทาพันธุ์ประวิตสัตว์ทุกตัวในฟาร์ม เพือ่ เป็ นการเก็บข้อมูลแล้วนา
ข้อมูลนัน้ มาวิเคราะห์ แล้วหาทางแก้ไขปั ญหาต่าง ๆ ต่อไป
10. จัดประกวดผลผลิต เช่น ประกวดผลิตภัณฑ์ ประกวดเนื้อ หรือ
ประกวดแบรนด์สนิ ค้าต่อไป
11. พัฒนาเป็ นฟาร์มท่องเที่ยวในอนาคตต่อไป ซึง่ สามารถทาได้
Action Plan
หน่ วยงาน
ปี พ.ศ. 2557
ต.ค.
พ.ย.
1.แต่งตั้งคณะทำงำน
*
*
2.สำรวจและประเมินคุณสมบัติ
Smart Farmer
*
*
*
*
*
3.จำแนกเกษตรกร
ธ.ค.
4.ถอดบทเรี ยน Smart
farmer ต้นแบบ
ปี พ.ศ. 2558
ม.ค.
ก.พ.
มี.ค. เม.ย. พ.ค.
*
*
*
*
*
*
*
มิ.ย.
ก.ค.
*
*
ส.ค.
5.ดำเนินกำรเพิ่มพูนควำมรู ้
6.ติดตำมกำรพัฒนำและ
ประเมินผล
*
*
*
*
7.กำรมอบประกำศนียบัตรให้
Smart Farmer
*
*
*
*
8.ถอดบทเรี ยนวิธีดำเนินกำร
Smart Farmer
9.ถอดบทเรี ยนวิธีดำเนินงำน
- แบบ SF1
- แบบ SF2
- แบบ SF3
- แบบ SF4
*
*
*
*
*
*
*
*
*
*
ก.ย.