event-110928162348

Download Report

Transcript event-110928162348

การเตรี ยมความพร้ อมเข้ าสู่ประชาคม
อาเซียนในปี พ.ศ. 2558
โดย นายชุตนิ ทร คงศักดิ์
รองอธิบดีกรมองค์ การระหว่ างประเทศ
วันศุกร์ ท่ ี 25 มีนาคม พ.ศ. 2554
สถิตอิ าเซียน
ประชากร
- 600.15 ล้ านคน (2553)
พืน้ ที่
- 4.5 ล้ าน ตร. กม.
GDP รวม
- 1,800 ล้ านดอลลาร์ สหรั ฐฯ
การค้ า (มูลค่ าส่ งออกและนาเข้ า)
- 1,540 ล้ านดอลลาร์ สหรั ฐฯ
การลงทุนจากต่ างประเทศ
- 39,623 ล้ านดอลลาร์ สหรั ฐฯ
อาเซียนกับประเทศไทย



อาเซียนเป็ นคู่ค้าอันดับ 1 ของไทย มีมูลค่ าการค้ าระหว่ างกันกว่ า
7 หมื่นล้ านดอลลาร์ สหรั ฐ คิดเป็ นร้ อยละ 20 ของมูลค่ าการค้ า
ทั ง้ หมดของไทย และไทยได้ เ ปรี ย บดุ ล การค้ า ถึ ง 1 หมื่ น ล้ า น
ดอลลาร์ สหรัฐ
สมาชิกอาเซียนเข้ ามาลงทุนในไทย 669.43 ล้ านดอลลาร์ สหรั ฐ
และไทยไปลงทุนในอาเซียน 1,962.01 ล้ านดอลลาร์ สหรัฐ (ข้ อมูล
ปี 2552)
นักท่ องเที่ยว 3.7 ล้ านคน คิดเป็ นร้ อยละ 25.96 ของนักท่ องเที่ยว
ต่ างชาติทงั ้ หมด
ประเด็นปั ญหาท้ าทายของอาเซียน
ความแตกต่ าง
ด้ านเชือ้ ชาติ ศาสนา
ระดับการพัฒนา
การพัฒนา
โครงสร้ างสถาบัน
การแข่ งขันของมหาอานาจ
สหรัฐฯ รัสเซีย จีน
อินเดีย ญี่ปนุ่
ประชาคมอาเซียน:
การแข่ งขันเพื่อแย่ งชิง
ทรัพยากร ตลาด
การลงทุน
ผลประโยชน์ แห่ งชาติ
VS
ภูมภิ าค
ขาดความไว้ เนือ้ เชื่อใจ
ความขัดแย้ งใน
ประวัตศิ าสตร์
โครงสร้ างประชาคมอาเซียน
กฎบัตรอาเซียน
ASEAN Charter
ประชาคมอาเซียน
2558
ประชาคมการเมือง-ความมั่นคง
(APSC)
ประชาคมเศรษฐกิจ
(AEC)
ประชาคมสังคมและวัฒนธรรม
(ASCC)
กฎบัตรอาเซียน (The ASEAN Charter)
 ลงนามเมื่อ 20 พ.ย. 2550
 มีผลใช้ บังคับ เมื่อ 15 ธ.ค. 2551
 ทาให้ อาเซียนมีสถานะองค์ กรระหว่ าง
ประเทศที่ผูกพันประเทศสมาชิกมากขึน้
 มีกฎกติกาในการทางาน
 มีประสิทธิภาพมากขึน้
 มีประชาชนเป็ นศูนย์ กลาง
 เพื่อวางรากฐานสาหรั บการรวมตัวเป็ น
ประชาคมอาเซียนภายในปี 2558
ประชาคมการเมือง-ความมั่นคง
(ASEAN Political-Security Community)
• ส่ งเสริมสันติภาพและความมั่นคง
• อยู่ร่วมกันโดยสันติ
• แก้ ไขปั ญหาข้ อขัดแย้ งโดยสันติวิธี
• สร้ างกฎเกณฑ์ และค่ านิ ยมร่ วมกันด้ าน
ประชาธิปไตย สิทธิมนุษยชน
• ความรั บ ผิ ด ชอบร่ วมกั น ในการสร้ าง
ความมั่ นคงที่ ค รอบคลุ ม รอบด้ า น เช่ น
โรคระบาด ภัยพิบัตธิ รรมชาติ
• มีปฏิสัมพันธ์ กับโลกภายนอก
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
(ASEAN Economic Community: AEC)





ส่ งเสริมให้ อาเซียนเป็ นตลาดและฐานการผลิตเดียว
มีการเคลื่อนย้ ายเงินทุน สินค้ า บริการ การลงทุน แรงงานฝี มือ
ระหว่ างประเทศสมาชิกโดยเสรี
เสริมสร้ างขีดความสามารถในการแข่ งขันของอาเซียน
ลดช่ องว่ างระดับการพัฒนาของประเทศสมาชิกอาเซียน
ส่ งเสริมให้ อาเซียนสามารถรวมตัวเข้ ากับประชาคมโลกได้ อย่ างไม่ อยู่
ในภาวะที่เสียเปรี ยบ
ประชาคมสังคมและวัฒนธรรม
(ASEAN Socio-Cultural Community: ASCC)
เป็ นสังคมที่สมาชิกมีความเอือ้ อาทรต่ อกัน ประชากรมีสภาพความ
เป็ นอยู่ท่ ดี ี ได้ รับการพัฒนาในทุกด้ าน และมีความมั่นคงทางสังคม
 ส่ งเสริ มความร่ วมมือในด้ านต่ าง ๆ อาทิ
- พัฒนาสังคม
- พัฒนาการฝึ กอบรม การศึกษาระดับพืน้ ฐานและ
สูงกว่ า การสร้ างงาน และการคุ้มครองทางสังคม
- สาธารณสุข
- ด้ านสิ่งแวดล้ อมและส่ งเสริมการใช้ ทรัพยากรธรรมชาติ
อย่ างยั่งยืน
- ส่ งเสริม ‘อัตลักษณ์ ’ ของอาเซียนโดยการสร้ างความเข้ าใจซึ่งกันและกัน
ระหว่ างประชาชนในประเทศสมาชิกอาเซียน

ความร่ วมมือระหว่ างอาเซียนกับประเทศนอกภูมภิ าค
U.S.A.
Australia
Canada
Russia
New Zealand
ASEAN
China
Republic of
Korea
E.U.
Japan
India
ความร่ วมมือระหว่ างอาเซียนกับองค์ การระหว่ างประเทศ
RIO GROUP
SAARC
U.N.
ASEAN
MERCOSUR
GCC
ECO
สถาปั ตยกรรมในภูมภิ าค (Regional Architecture) ของอาเซียน
ARF/ APEC
EAS/ ADMM-Plus
ASEAN+3
ASEAN
เขตการค้ าเสรี อาเซียนกับประเทศคู่เจรจา
ASEAN-Russia
ASEAN-EU FTA
ASEAN-Canada
ASEAN-China FTA
ASEAN-US TIFA
ASEAN-Korea FTA
ASEAN-Japan CEP
ASEAN-Pakistan
ASEAN-India FTA
ASEAN-AustraliaNew Zealand FTA
การส่ งเสริมความเชื่อมโยงของอาเซียน
(ASEAN Connectivity)




การสร้ างให้ ป ระชาคมเศรษฐกิ จ อาเซี ย นมี ค วามสามารถใน
การแข่ งขันมากขึน้
ส่ งเสริมให้ ประชาชนอาเซียนสามารถไปมาหาสู่กันได้ ง่ายขึน้
เป็ นพื น้ ฐานส าหรั บ การสร้ างความเชื่ อ มโยงกั บ ภู มิ ภ าคอื่น ๆ
รวมทัง้ เอเชียตะวันออก
มี ทั ้ง การเชื่ อมโยงด้ านโครงสร้ างพื ้น ฐาน การคมนาคม
กฎระเบียบต่ าง ๆ และการปฏิสัมพันธ์ ระหว่ างประชาชน
แผนงานการจัดตัง้ ประชาคมสังคมและวัฒนธรรม
อาเซียน
(ASCC Blueprint)


การให้ ความสาคัญกับการศึกษา
เน้ นการบูรณาการด้ านการศึกษาให้ เป็ นวาระการพัฒนาของ
อาเซียน ส่ งเสริมการเข้ าถึงการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน
ส่ งเสริมการสร้ างความตระหนักรับรู้เรื่องอาเซียนในกลุ่มเยาวชน
เพื่อสร้ างอัตลักษณ์ อาเซียนบนพืน้ ฐานของมิตรภาพและ ความ
ร่ วมมือ
ปฏิญญาชะอา-หัวหินด้ านการศึกษาฯ


รับรองระหว่ างการประชุมสุดยอดอาเซียนครัง้ ที่ 15
พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ผ่าน 3 เสาหลัก ได้ แก่
1. เสาการเมืองและความมั่นคง เช่ น การสร้ างความตระหนักรู้
เรื่องกฎบัตรอาเซียน ประชาธิปไตย สิทธิมนุษยชน สันติภาพ
2. เสาเศรษฐกิจ เช่ น การพัฒนากรอบทักษะ การสนับสนุนการ
ถ่ ายโอนนักศึกษา สนองตอบความต้ องการภาคอุตสาหกรรม
3. เสาสังคมและวัฒนธรรม เช่ น จัดทาหลักสูตรอาเซียน อบรม
ครูอาจารย์ สอนภาษาอาเซียน จัดงานเฉลิมฉลองวันอาเซียน
แผนยุทธศาสตร์ ด้านการศึกษาเพื่อก้ าวสู่ประชาคม
อาเซียนภายในปี 2558 ของกระทรวงศึกษาธิการ
นโยบายในการขับเคลื่อนการดาเนินงานด้ านการศึกษาของประเทศไทย
ปี 2553-2558
1. การเผยแพร่ ความรู้ ข้ อมูลข่ าวสาร และเจตคติท่ ดี ีเกี่ยวกับอาเซียน
2. การพัฒนาศักยภาพของนักเรี ยน นักศึกษา และประชาชนให้ มีทักษะที่
เหมาะสม
3. การพัฒนามาตรฐานการศึกษาเพื่อส่ งเสริมการหมุนเวียนของนักศึกษาและ
ครู อาจารย์ ในอาเซียน
4. การเตรี ยมความพร้ อมเพื่อเปิ ดเสรี การศึกษาในอาเซียนเพื่อรองรั บการ
ก้ าวสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
5. การพัฒนาเยาวชนเพื่อเป็ นทรั พยากรสาคัญในการก้ าวสู่ประชาคมอาเซียน
เตรียมความพร้ อมสู่ประชาคมอาเซียน



การผนวกวิสัยทัศน์ และแผนปฏิบัตกิ ารของอาเซียนเข้ าสู่นโยบายของ
รั ฐบาลและส่ วนราชการ เพื่อผลักดันให้ ไทยสามารถบรรลุวิสยั ทัศน์หรื อ
เป้าประสงค์ที่ผ้ นู าอาเซียนมีร่วมกัน
การสร้ างองค์ ความรู้ ของหน่ วยราชการ รับทราบข้ อมูลอาเซียนที่ทนั ต่อ
เหตุการณ์ บุคลากรมีความรู้ความเข้ าใจเกี่ยวกับอาเซียน และช่วยเผยแพร่
ประชาสัมพันธ์
การจัดตัง้ สานักงานหรื อส่ วนความร่ วมมืออาเซียนในส่ วนราชการ เป็ นจุด
ประสาน เป็ นเครื อข่ายในการขับเคลื่อนการเป็ นประชาคมอาเซียนในส่วนราชการ
ของไทย
คณะกรรมการอาเซียนแห่ งชาติ




จัดตัง้ ขึน้ ตามข้ อ 13 ในกฎบัตรอาเซียน
ทาหน้ าที่เป็ นผู้ประสานงานกลางแห่ งชาติ ส่ งเสริมอัตลักษณ์ และ
ความสานึกเกี่ยวกับอาเซียนในระดับชาติ
มีส่วนร่ วมสร้ างประชาคมอาเซียน ติดตามเร่ งรัดการดาเนินงาน
และเตรียมการด้ านสารัตถะสาหรับการประชุมอาเซียน
จัดตัง้ ขึน้ เมื่อวันที่ 24 สิงหาคม 2553 โดยมี รมว.กต. เป็ น
ประธาน และอธิบดีกรมอาเซียนเป็ นกรรมการและเลขาธิการ
สมาคมอาเซียน-ประเทศไทย
ASEAN Association Thailand




จัดตัง้ ขึน้ เมื่อเดือนพฤศจิกายน 2551
มีบทบาทเป็ นกลไกลคู่ขนานกับภาครั ฐในการสร้ างความตระหนักรู้
เกี่ยวกับอาเซียน ความสาคัญของอาเซียนต่ อประเทศไทย และความ
ตื่นตัวในการมีส่วนร่ วมสร้ างประชาคมอาเซียนในหมู่ประชาชนไทย
ผ่ านกิจกรรม/โครงการ และสื่อการเรี ยนรู้
เป็ นตัวกลางเชื่อมโยงระหว่ างภาครั ฐและภาคประชาชน
ระหว่ างปี 2552-2553 สมาคมฯ ได้ ริเริ่มโครงการต่ าง ๆ อาทิ โครงการ
แลกเปลี่ยนภาคประชาชนอาเซียน โครงการวรรณกรรมเพื่ออาเซียน
โครงการเสวนาอาเซียน 4 ภาค กิจกรรมวันครบรอบการก่ อตัง้
อาเซียน
กิจกรรมการเตรี ยมความพร้ อมของไทย
ในการเป็ นประชาคมอาเซียน





ศูนย์ อาเซียนศึกษา
หลั ก สู ต รอาเซี ย น- กระทรวงศึก ษาธิ ก ารได้ จัดตั ง้ “คณะกรรมการระดับ ชาติ
เพื่ อ ขั บ เคลื่ อ นความร่ วมมื อ ด้ า นการศึก ษาในอาเซี ย นสู่ ก ารบรรลุ เ ป้ าหมาย
การจัดตัง้ ประชาคมอาเซียนภายในปี 2558” ขึน้ มาเพื่อผลักดันให้ เกิดหลักสูตร
อาเซียนศึกษา ซึ่งจะช่ วยให้ เยาวชนของชาติเข้ าใจและตระหนักถึงความสาคัญ
ของอาเซียนมากยิ่งขึน้
กิจกรรมส่ งเสริมความเชื่อมโยงในอาเซียน (Connectivity)
กิจกรรมที่กระทรวงการต่ างประเทศเคยดาเนินการ เช่ น การประกวดเพลงชาติ
อาเซียน การจัดมุมอาเซียน การแข่ งขันวาดภาพอาเซียน การประกวดเรี ยงความ
โครงการสารคดีอาเซียน ดีวีดแี ละหนังสือการ์ ตนู อาเซียน
กิจกรรมวันสถาปนาอาเซียน 8 สิงหาคม- การชักธงอาเซียน การแข่ งขันตอบ
ปั ญหาอาเซียน
THANK YOU
One Vision
One Identity
One Community