4. อ.สาโรช_ - สำนักงานกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว

Download Report

Transcript 4. อ.สาโรช_ - สำนักงานกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว

กระบวนการ กลไก และแนวทาง
การคุ้มครองสวัสดิภาพเด็ก และ
ผูถ้ กู กระทาด้วยความรุนแรงในครอบครัว
โดย
นายสาโรช นักเบศร์
อั ยการพิเศษฝ่ ายสานักงานอั ยการสูงสุด
ส่วนที่ ๑
หลักคิด เจตนารมณ์ และโครงสร้างทางกฎหมาย
ในการคุ้มครองสวัสดิภาพเด็ก สตรี และ
ผูถ้ กู กระทาด้วยความรุนแรงในครอบครัว
หลักคิดทางกฎหมายในการคุ้มครองสวัสดิภาพเด็ก
สตรี และ ผูถ้ กู กระทาด้วยความรุนแรงในครอบครัว
*ที่มาของกฎหมายคุ้มครองสวัสดิภาพ
๑.อนุสัญญาว่าด้วยสิทธิ เด็ก (CRC)
๒.อนุสัญญาว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิ บัติต่อสตรี
ทุกรูปแบบ (CEDAW)
๓.รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
หลักคิดทางกฎหมายในการคุ้มครองสวัสดิภาพเด็ ก
สตรี และ ผูถ้ กู กระทาด้วยความรุนแรงในครอบครัว
(๑) ทัศนคติเรื่องความเสมอภาค(มิติหญิงชาย)
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ๒๕๕๐ มาตรา ๓๐
(๒) ทัศนคติเรื่องความรุนแรง(มิติโครงสร้างเชิงอานาจ)
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ๒๕๕๐ มาตรา ๓๒
(๓) ทัศนคติในการคุ้มครองสวัสดิภาพ(การแทรกแซง)
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ๒๕๕๐ มาตรา ๕๒
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ๒๕๕๐
มาตรา ๓๐ (ความเสมอภาค/มิติหญิงชาย)
บุคคลย่อมเสมอกันในกฎหมายและได้รับความคุ้มครอง
ตามกฎหมายเท่าเทียมกัน
ชายและหญิงมีสิทธิเท่าเทียมกัน ฯ
มาตรา ๓๒ (การใช้ความรุนแรง/มิติโครงสร้างเชิงอานาจ)
บุคคลย่อมมีสิทธิและเสรีภาพในชีวิตและร่างกาย
การทรมาน ทารุณกรรม หรือการลงโทษด้วยวิธีการ
โหดร้ายหรือไร้มนุษยธรรมจะกระทามิได้ เว้นแต่ศาลพิพากษา
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ๒๕๕๐
มาตรา ๕๒ (มิติการคุ้มครองสวัสดิภาพ/การแทรกแซง)
เด็กและเยาวชน มีสิทธิในการอยู่รอดและได้รับการพัฒนนา
ด้านร่างกายจิตใจและสติปัญญา ตามศักยภาพในสภาพ
แวดล้อมที่เหมาะสม โดยคานึงถึงการมีส่วนร่วมของเด็ก
และเยาวชนเป็ นสาคัญ
เด็ก เยาวชน สตรี และบุคคลในครอบครัว มีสิทธิได้รับ
ความคุ้มครองจากรัฐให้ปราศจากการใช้ความรุนแรงและ
การปฏิบัติอันไม่เป็ นธรรม ทั้งมีสิทธิได้รับการบาบัดฟื้ นฟู
ในกรณีที่มเี หตุดังกล่าว
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ๒๕๕๐ ม.๕๒(ต่อ)
การแทรกแซงและการจากัดสิทธิของเด็ก เยาวชน และ
บุคคลในครอบครัวจะกระทามิได้ เว้นแต่โดยอาศัยอานาจตาม
บทบัญญัติแห่งกฎหมาย เฉพาะเพือ่ สงวนและรักษาไว้ซ่ึงสถานะ
ของครอบครัวหรือประโยชน์สงู สุดของบุคคลนั้น
เด็กและเยาวชนซึ่งไม่มผ
ี ูด้ แู ลมีสิทธิได้รับการเลี้ยงดูและ
การศึกษาอบรมที่เหมาะสมจากรัฐ
กฎหมายคุ้มครองสวัสดิภาพเด็ก สตรี
และผูถ้ กู กระทาด้วยความรุนแรงในครอบครัว
พรบ.คุ้มครองผูถ
้ กู กระทาด้วยความรุนแรง
ในครอบครัว พ.ศ.๒๕๕๐
พรบ.คุ้มครองเด็ ก พ.ศ.๒๕๔๖
พรบ.ศาลเยาวชนและครอบครัวฯ พ.ศ.๒๕๕๓
(หมวด ๑๕ คดีค้มุ ครองสวัสดิภาพ)
กฎหมายคุ้มครองเด็ก สตรี และบุคคลในครอบครัว(ต่อ)
พรบ.ป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์
พ.ศ.๒๕๕๑
พรบ.คุ้มครองแรงงาน พ.ศ.๒๕๔๑(แรงงานเด็ ก/หญิง)
ประมวลกฎหมายอาญา
(ชีวิต/ร่างกาย/เพศ/แท้งลูก/ทอดทิ้ง/เสรีภาพ)
ประมวลกฎหมายวิธีพจ
ิ ารณาความอาญา
(สอบสวนเด็ก-ผูห้ ญิง/ค่าเสียหายทางทรัพย์ )
พรบ.ค่าตอบแทนผูเ้ สียหาย และค่าทดแทนและค่าใช้จ่ายแก่
จาเลยในคดีอาญา พ.ศ ๒๕๔๖(ค่าเสียหายทางกาย/จิตใจ)
พรบ.คุ้มครองพยาน พ.ศ.๒๕๔๖
โครงสร้างพระราชบัญญัติค้มุ ครองผูก้ กู กระทาด้วยความรุนแรงในครอบครัว ๒๕๕๐
การคุ้มครองผูถ
้ ูกกระทาด้วยความรุนแรงในครอบครัว
ม.๖ มาตรการคุ้มครอง
ผู้ถูกกระทาเบื้องต้น
ม.๑๐,๑๑ มาตรการบรรเทาทุกข์
ระหว่างคดี(รายงานศาล๔๘ชม.)
ม.๑๒ มาตรการกาหนดเงือ
่ นไข
ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมก่อนยอม
ความ
ม. ๕ แจ้ง พนจ.
ตารวจ ปกครอง
ม.๗
ขอ
ศาล
สั่ง
ม.๑๑ มาตรการบรรเทาทุกข์ชว
ั่ คราว
ม.๑๒ ว๒ มาตรการกาหนดเงือ
่ นไข
ปรับเปลี่ยนพฤติกรมก่อนยอมความ
ม.๑๒ ว๑ มาตรการปรับเปลีย
่ นพฤติกรรม
ผู้กระทาผิดแทนการลงโทษ
ม.๙
ห้าม
โฆษณา
เผยแพร่
ม.๑๕
การดาเนินคดีอาญากับผู้กระทาผิด
ม.๔,๗ ร้องทุกข์ใน ๓ เดือน
นับแต่อยู่ในวิสย
ั และมีโอกาส
ม.๘ พนักงาน
สอบสวนทาการ
สอบสวน
สอบปากคา
ผู้ถูกกระทา
ขออนุญาต
ฟ้อง
ม.๘ อัยการ
ฟ้อง
ศาล
เยาวชน
ลงโทษ
ไม่ฟ้อง,ยุติ
ศาลอืน
่
ที่มีโทษ
สูงกว่า
ยกฟ้อง
สั่งมาตรการแทนการลงโทษ
เค้าโครง เจตนารมณ์ และหลักการบังคับใช้ พรบ.
คุ้มครองผูถ้ กู กระทาด้วยความรุนแรงในครอบครัว ๕๐
๑. เป็ นกฎหมายอาญาที่มลี ักษณะพิเศษเฉพาะ
ใช้บงั คับกับบุคคลในครอบครัวที่กระทาความรุนแรงต่อกัน
๒. ใช้มาตรการทางอาญาลงโทษผูก้ ระทาผิด และใช้มาตรการ
คุ้มครองสวัสดิภาพแก่ผูถ้ กู กระทาด้วยความรุนแรงฯ
-มาตรการคุ้มครองเบื้องต้น
-มาตรการบรรเทาทุกข์ระหว่างดาเนินคดีป้องกันกระทาซ้า
-มาตรการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผูก้ ระทาความผิด
เค้าโครง เจตนารมณ์ และหลักการบังคับใช้ พรบ.(ต่อ)
๓. ไม่เน้นการลงโทษ เน้นการคุ้มครองสวัสดิภาพ และ
การปรับปรุงความสัมพันธ์ระหว่างครอบครัว
โดยให้นามาตรการคุ้มครองสวัสดิภาพมาบังคับ
ก่อน หากใช้มาตรการคุ้มครองไม่เป็ นผล จึงใช้มาตรการทาง
อาญาลงโทษผูก้ ระทาผิด
๔. ให้สิทธิ แก่ผูถ้ กู กระทาที่จะดาเนินคดีกับผูก้ ระทาหรือไม่
โดยกาหนดให้มีการร้องทุกข์ก่อนจึงจะดาเนินคดี ได้ และ
สามารถถอนคาร้องทุกข์ได้ทกุ ขณะในระหว่างการดาเนินคดี
เพือ่ นามาตรการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผูก้ ระทามาใช้บังคับ
เค้าโครง เจตนารมณ์ และหลักการบังคับใช้ พรบ.(ต่อ)
๕. เจตนารมณ์และหลักการบังคับใช้ พรบ.คุ้มครองผูถ้ กู กระทา
ด้วยความรุนแรงในครอบครัว ๒๕๕๐(ม.๑๕)
-มุง่ ถึงความสงบสุขและการอยู่ร่วมกันในครอบครัวเป็ นสาคัญ
-คานึงถึงสิทธิของผูถ้ กู กระทาด้วยความรุนแรงในครอบครัว
-สงวนและคุ้มครองสถานภาพของการสมรส ถ้าไม่สามารถ
รักษาไว้ได้ ให้หย่าด้วยความเป็ นธรรม และเสียหายน้อยที่สดุ
-คุ้มครองและช่วยเหลือครอบครัว
-ช่วยเหลือสามีภริยาและบุคคลในครอบครัวให้ปรองดอง และ
ปรับปรุงความสัมพันธ์
โครงสร้าง
พรบ.คุ้มครองเด็ก พ.ศ.๒๕๔๖
มาตรการคุ้มครองเด็กต่ากว่า๑๘ ปี ผูม้ หี น้าที่ค้มุ ครองเด็ก
คุ้มครอง ส่งเสริมความ บิดามารดา ผูม้ หี น้าที่ค้มุ ครอง
สงเคราะห์
ผูป้ กครอง สวัสดิภาพเด็ก
สวัสดิภาพ ประพฤติ
พนักงาน ปลัดกระทรวง,ผวจ
เด็กยากไร้
ถูก นักเรียน เจ้าหน้าที่ ผ.กทม,นายอาเภอ,
เด็ก
ผูป้ กครอง
ทารุณ นักศึกษา ที่ รมต. ผข,ผ.อบต,ผ.อบจ
เสี่ยง
ไม่เหมาะ
กรรม ดาเนินคดี แต่งตั้ง นายกเทศมนตรี
เค้าโครง เจตนารมณ์ และหลักการบังคับใช้พรบ.
คุ้มครองเด็ก ๒๕๔๖
๑. เป็ นกฎหมายอาญาที่มลี ักษณะพิเศษ นอกจากมีมาตรการ
ทางอาญาลงโทษผูก้ ระทาผิดต่อเด็ก แล้วยังมีมาตรการทาง
สังคมและทางการแพทย์ในการคุ้มครองเด็ก ได้แก่
-มาตรการทางอาญา
-มาตรการสงเคราะห์เด็ก
-มาตรการคุ้มครองสวัสดิภาพเด็ กที่ถกู ทารุณกรรม
-มาตรการคุ้มครองสวัสดิภาพเด็ กที่มพ
ี ฤติกรรมเสี่ยง
-มาตรการส่งเสริมความประพฤติเด็กและนักเรียนนักศึกษา
เค้าโครง เจตนารมณ์ และหลักการบังคับใช้ พรบ.(ต่อ)
๒. คานึงถึงประโยชน์สงู สุดของเด็กเป็ นสาคัญ (ม.๒๒)
เด็กต้องได้รับการคุ้มครอง โดยได้รับการอุปการะเลี้ยงดู
อบรมสั่งสอนให้มคี วามประพฤติที่เหมาะสม มีการพัฒนนา และ
ได้รับการคุ้มครองสวัสดิภาพให้ปลอดภัย
๓. มุง่ ให้พอ่ แม่ผูป้ กครองทาหน้าที่ อุปการะเลี้ยงดู อบรม
สั่งสอน พัฒนนา และคุ้มครองเด็กให้ปลอดภัย (มาตรา ๒๓)
๔. เด็กที่ไม่มพ
ี อ่ แม่ผูป้ กครอง หรือมีแต่ไม่ทาหน้าที่ หรือไม่
สามารถทาหน้าที่ได้ หรือทาหน้าที่ได้ไม่เหมาะสม รัฐแทรกแซงได้
เค้าโครง เจตนารมณ์ และหลักการบังคับใช้ พรบ.(ต่อ)
๕. การแทรกแซงของรัฐ
โดยนาเด็กมาสงเคราะห์ คุ้มครองสวัสดิภาพ และส่งเสริม
ความประพฤติให้เหมาะสม ชั่วระยะหนึ่งตามความจาเป็ น และ
ตามสมควร (ม.๓๓,๔๒,๔๔)
๖. ในการดาเนินการคุ้มครองเด็ก ต้องประเมินสถานการณ์
และความเสี่ยงที่จะเด็กได้รับเป็ นอั นดับแรก
-ใช้กระบวนการทางสังคมและการแพทย์ช่วยเหลือเด็ก
-ใช้กฎหมายเป็ นฐานและเป็ นเครื่องมือในการดาเนินการ
เค้าโครง เจตนารมณ์ และหลักการบังคับใช้ พรบ.(ต่อ)
๗. กาหนดให้โรงเรียน สถานศึกษา จัดให้มีระบบงานและ
กิจกรรมในการแนะแนว ให้คาปรึกษา และฝึ กอบรม แก่
นักเรียน นักศึกษา ผูป้ กครอง เพือ่
-ส่งเสริมความประพฤติท่ีเหมาะสม
-รับผิดชอบต่อสังคม และ
-ความปลอดภัยแก่นักเรียนนักศึกษา
(มาตรา ๖๓)
รูปแบบความรุนแรง
ทาง ทาง ทาง
ทอดทิ
้
ง
กาย จิตใจ เพศ
หน่วง
เหนี่ยว
กักขัง
ล่อลวง/
บังคับ
หาประโยชน์
Psy
Phy
Sex
cholo
Lexitron Deceive
Neglect
sical
ual
gical
ส่วนที่ ๒
กระบวนการคุ้มครองสวัสดิภาพเด็ก และ
ผูถ้ กู กระทาด้วยความรุนแรงในครอบครัว
พ.ร.บ.คุ้มครองผูถ้ กู กระทา
ด้วยความรุนแรงในครอบครัว พ.ศ.2550
กระบวนการคุ้มครองผูถ้ กู กระทา
กระบวนการดาเนินคดีผูก้ ระทาผิด
ม.5 การแจ้งพนักงานเจ้าหน้าที่
ม.4 ความผิดฐานกระทารุนแรง
ม.6 การคุ้มครองเบื้องต้น
ในครอบครัว(ยอมความได้)
ม.7 ขอคุ้มครองสวัสดิภาพ
ม.7 ร้องทุกข์ต่อพนักงานสอบสวน
ม.9 ห้ามโฆษณาเผยแพร่
ม.8 สอบสวน-ฟ้อง 48 ชม. 3ผัด 6 วัน
ม.10คุ้มครองชั่วคราวระหว่างสอบสวน
ม.8ว2 ฟ้องศาลเยาชน,ศาลอื่ น
ม.11 บรรเทาทุกข์ชั่วคราวโดยศาล
ม.12 พิพากษา(มาตรการแทนการลงโทษ)
ม.12 ปรับแก้พฤติกรรมผูก้ ระทาก่อนยอมความ
ม.12 ปรับแก้พฤติกรรมแทนการลงโทษ
กระบวนการดาเนินงานคุ้มครอง
ผูถ้ กู กระทาด้วยความรุนแรงในครอบครัว
กระบวนการคุ้มครองสวัสดิภาพ
กระบวนการดาเนินคดี
คุ้มครอง คุ้มครอง
ปรับ
เบื้องต้น ป้องกันกระทาซ้า พฤติกรรม
ซักถาม ชั้นผูใ้ หญ่ ม.๑๐ ยอมความ
เยียวยา ศาล ม.๑๑ พิพากษา
แนะนา ม.๑๗๒,๑๗๙
ร้องทุกข์
สอบสวน
ฟ้องคดี
พิพากษา
หลักการเบื้องต้นในการดาเนินงานคุ้มครองสวัสดิภาพ
ผูถ้ กู กระทาด้วยความรุนแรงในครอบครัวของสหวิชาชีพ
หลักคิดเบื้องต้นในการคุ้มครองสวัสดิ ภาพ
ปัญหาครอบครัวเป็ นเรื่องละเอี ยดอ่ อน สหวิชาชีพต้องใช้
ความระมัดระวัง และใช้ดุลยพินิจในการคุ้มครองสวัสดิ ภาพ
อย่างสูง
 การแทรกแซงของรัฐและสหวิชาชีพ ในการคุ้มครองสวัสดิ
ภาพ ต้องคานึงถึงสิทธิส่วนบุคคลของผูถ้ กู กระทาด้วยความ
รุนแรงในครอบครัวก่อน เว้นแต่จะมีภัยที่ไม่อาจก้าวล่วงได้

หลักการเบื้องต้นในการดาเนินงานคุ้มครองสวัสดิภาพ
ผูถ้ กู กระทาด้วยความรุนแรงในครอบครัว (ต่อ)
ข้อควรปฏิบัติเบื้องต้นในการคุ้มครองสวัสดิ ภาพ
พิจารณา
๒ ประเด็น ว่าเป็ นความรุนแรงในครอบครัว
“บุคคลในครอบครัว” เป็ น “ความรุนแรงในครอบครัว”
ถ้าผูถ
้ กู กระทาเป็ นเด็ก ให้นาพรบ.คุ้มครองเด็ก มาใช้บังคับ
ส่วนมากผูถ
้ กู กระทาจะขอความช่วยเหลือจาก ๓ หน่วยงาน
สถานพยาบาล-สถานีตารวจ-หน่วยงาน พม.
ให้แจ้ งพนักงานเจ้ าหน้าที่ และประสานงานส่งต่ อความ
ช่วยเหลือคุ้มครองซึ่งกันและกัน
กรณีท่ี ๑ (เห็นด้วย/ไม่เห็นด้วย)
นายแก้วติดสุรายาเสพติดมักใช้ความรุนแรงตบตี
เตะต่อยนางกุ้งเมียที่ไม่ได้จดทะเบียนสมรส นายปู
อายุ ๑๕ ปี ลูกนางกุ้งกับสามีคนก่อน ทนเห็นแม่ถกู
ทาร้ายเป็ นประจาไม่ได้ ครั้งล่าสุดนายแก้วทาร้าย
นางกุ้งอี ก นายปูจึงได้ใช้มีดแทงนายแก้วจนได้รับ
บาดเจ็บสาหัส การกระทาของนายแก้ว และ
การกระทาของนายปู เป็ นความรุนแรงในครอบครัว
กรณีท่ี ๒ (เห็นด้วย/ไม่เห็นด้วย)
สามีเป็ นคนเจ้ าชู้มีหญิงอื่ นหลายคนเป็ นเหตุทะเลาะ
กับภรรยาเป็ นประจาหลายปี มาแล้ว จนทาให้ภรรยา
ได้รับผลกระทบทางจิตใจคิดฆ่าตัวตายหลายครั้ง
สุดท้ายหลังจากทะเลาะกันอย่างรุนแรงด้วยเหตุเดิม
ภรรยาทนสภาพไม่ได้จึงฆ่าตัวตายพร้อมลูกชาย
อายุ ๗ ขวบด้วย การกระทาของสามีและการกระทา
ของภรรยา เป็ นความรุนแรงในครอบครัว
กรณีที่ ๓ (เห็นด้วย/ไม่เห็นด้วย)
พ่อกระทาชาเราลูกสาวอายุ
๑๒ ปี เศษ แม่รู้
จึงตบตีลกู สาวด้วยความโกรธ และได้พาลูก
ไปพบแพทย์ ผลการตรวจพบว่าลูกสาว
ตั้งครรภ์ได้สองเดือน แม่ไม่ประสงค์จะ
ดาเนินคดีกับพ่อ การกระทาของพ่อ
เป็ นความรุนแรงในครอบครัว
กรณีที่ ๔ (เห็นด้วย/ไม่เห็นด้วย)
แม่ป่วยเป็ นมะเร็งและตกงานไม่มีเงินจะเลี้ยงดู
ลูกและรักษาตัวเอง จึงตัดสินใจพาลูกสาว
สองคนอายุ ๑๓ ปี และ ๑๔ ปี ไปขายบริการ
ทางเพศในเวลากลางคืนหลังจากเลิกเรียน
เพือ่ หาเงินเลี้ยงชีพและเป็ นค่ารักษามะเร็ง
ลูกสาวทั้งสองสงสารแม่จึงยอมทาตาม
เป็ นความรุนแรงในครอบครัว
บุคคลในครอบครัว
คู่สมรส
คู่สมรสเดิม
ผูท
้ ่ีอยู่กินหรือเคยอยู่กินฉันท์สามีภริยา
บุตร บุตรบุญธรรม
สมาชิ กในครอบครัว
รวมทั้งบุคคลใดๆที่ต้องพึง่ พาอาศั ย
และอยู่ในครัวเรือนเดียวกัน
ความรุนแรงในครอบครัว
กระทาโดยมุง
่ ประสงค์ให้เกิดอั นตรายแก่ร่างกาย
จิตใจ
หรือสุขภาพ ของบุคคลในครอบครัว(มุง่ ร้าย)
กระทาโดยเจตนาในลักษณะที่น่าจะก่อให้เกิดอั นตราย แก่
ร่างกาย จิตใจ หรือสุขภาพ ของบุคคลในครอบครัว
(น่าจะเป็ นอั นตราย)
บังคับ ใช้อานาจครอบงาผิดคลองธรรม
ให้บคุ คลในครอบครัวต้องกระทาการ
ไม่กระทาการ หรือยอมรับการกระทา
โดยมิชอบ(บังคับ/ครอบงาผิดคลองธรรม)
**ไม่รวมถึงการกระทาโดยประมาท**
กรณีเด็กเป็ นผูถ้ กู กระทาด้วยความรุนแรงในครอบครัว
บังคับตามพรบ.คุ้มครองเด็ ก พ.ศ.๒๕๔๖
-มาตรการดาเนินคดีอาญา/มาตรการคุ้มครองสวัสดิภาพ
บังคับตามพรบ.คุ้มครองผูถ
้ กู กระทาด้วยความรุนแรง
ในครอบครัว พ.ศ.๒๕๕๐
-มาตรการดาเนินคดีอาญา/มาตรการคุ้มครองสวัสดิภาพ
บังคับตามพรบ.ศาลเยาวชนและครอบครัวฯ
(หมวด ๑๕) /มาตรการคุ้มครองสวัสดิภาพ
บังคับตามกฎหมายอาญาอื่ น
๕๓
ทารุณกรรมเด็ก(ต่ากว่า ๑๘ ปี )
ตามพรบ.คุ้มครองเด็ก ๒๕๔๖
ทาให้เด็ กเสื่อมเสียเสรีภาพ
เกิดอั นตรายแก่ร่างกายหรือจิ ตใจเด็ ก
กระทาผิดทางเพศต่อเด็ ก
ใช้ เด็ กทาในลักษณะน่าเป็ นอั นตรายแก่ร่างกายจิ ตใจ
ใช้ เด็ กกระทาขัดต่อกฎหมายหรือศี ลธรรม
*** ไม่ว่าเด็กยินยอมหรือไม่
ผูถ้ กู กระทาด้วยความรุนแรงในครอบครัวเป็ นเด็ก
มาตรการคุ้มครองสวัสดิภาพเด็กที่ถกู ทารุณกรรม
การคุ้มครองสวัสดิภาพเด็ก
แจ้ งพนักงานเจ้ าหน้าที่
ดาเนินคดีผูก้ ระทาผิด
ม.๒๙,๔๑
คุ้มครองสวัสดิ ภาพเด็ กถูกทารุณกรรม
(ม.๓๗,๔๑,๔๒,๔๓)
คุ้มครองสวัสดิ ภาพเด็ กเสี่ยง
(ม.๔๔)
ห้ามโฆษณาเผยแพร่ ม.๒๗
กระทาผิดต่อเด็ ก ม.๒๖
ทารุณกรรมเด็ก
ไม่ให้ส่ิงจาเป็ นแก่เด็ก
ไม่รักษาพยาบาลเด็ก
ให้เด็กมีพฤติกรรมเสี่ยง
ให้เด็กทางานอั นตราย/
ขัดศีลธรรม-กฎหมาย
กระบวนการดาเนินคดีอาญา
พรบ.คุ้มครองผูถ้ กู กระทา
ด้วยความรุนแรงในครอบครัว พ.ศ.๒๕๕๐
๑.ฐานความผิด
๑.๑ ฐานกระทาความรุนแรงในครอบครัวตามมาตรา ๔
(โทษ ๖ เดือน/๖,๐๐๐_/ทั้งจาทั้งปรับ)
๑.๒ ฐานโฆษณาเผยแพร่เรื่องราวความรุนแรงในครอบครัว
ต่อสาธารณชนตามมาตรา ๙
(โทษ ๖ เดือน/๖๐,๐๐๐_/ทั้งจาทั้งปรับ)
ฐานความผิดในพรบ.คุ้มครองผูถ้ กู กระทา
ด้วยความรุนแรงในครอบครัว พ.ศ.๒๕๕๐(ต่อ)
๑.๓ ฐานฝ่ าฝื นคาสั่งพนักงานเจ้าหน้าที่ชั้นผูใ้ หญ่ที่รัฐมนตรี
มอบหมาย หรือคาสั่งศาลที่กาหนดมาตรการบรรเทาทุกข์
ชั่วคราวระหว่างสอบสวนตามมาตรา ๑๐
(โทษ ๓ เดือน/๓,๐๐๐_/ทั้งจาทั้งปรับ)
๑.๔ ฐานฝ่ าฝื นคาสั่งศาลที่กาหนดมาตรการบรรเทาทุกข์
ชั่วคราวระหว่างสอบสวนหรือพิจารณาคดีตามมาตรา ๑๑
(๖ เดือน/๖,๐๐๐_/ทั้งจาทั้งปรับ)
๒.องค์ประกอบความผิดฐานกระทาความรุนแรง
ในครอบครัว(ม.๔)
๒.๑ กระทาความรุนแรงในครอบครัว
๒.๒ กระทากับบุคคลในครอบครัว
*ระวางโทษ
จาคุกไม่เกิน ๖ เดือน หรือ ปรับไม่เกิน ๖,๐๐๐ บาท หรือ
ทั้งจาทั้งปรับ
***ยอมความได้ รวมถึงทาร้าย ม.๒๙๕
๓.การดาเนินคดีความรุนแรงในครอบครัว
๓.๑ การร้องทุกข์
๑) ยอมความได้ รวมถึงทาร้าย ม.๒๙๕ (ม.๔)
๒) โทษ จา ๖ เดือน ปรับ ๖,๐๐๐ บาท (ม.๔)
๓) ร้องทุกข์ภายใน ๓ เดือนนับแต่
อยู่ในวิสัยและโอกาส (ม.๗,๘)
๔) ผูเ้ สียหายร้องทุกข์เอง (ม.๖,๗)
๕) พนักงานเจ้าหน้าที่ร้องทุกข์แทน (ม.๖)
๓.๒ การสอบสวนคดีความรุนแรงในครอบครัว
กระทาโดยเร็ว
ฟ้องใน ๔๘ ชม./ผัดฟ้อง ๓ ๖ วัน/
ขออนุญาตอั ยการสูงสุด (ม.๘ ว๑)
ส่งตัวผูต
้ ้องหาพร้อมสานวนและความเห็น (ม.๘ ว๑)
การสอบปากคาผูเ้ สียหาย + จิ ตแพทย์ /นักจิ ตวิทยา/
นักสังคมสงเคราะห์/ผูท้ ี่ผูเ้ สียหายร้องขอ(คนเดียว)
(ม.๘ ว๓)
๓.๓ การคุ้มครองเด็กในการดาเนินคดีอาญา
การถามปากคาเด็ กอายุ ไม่เกิ นสิบแปดปี ที่เป็ นผูเ้ สียหาย
พยานหรือผูต้ ้องหาในการสอบสวน(ม.๑๓๓ ทวิ, ม.๑๓๔/๒)
การคุ้มครองเด็ กอายุ ไม่เกิ นสิบแปดปี ที่เป็ นผูเ้ สียหาย หรือ
พยานในการชี้ตัวบุคคล (ม.๑๓๓ ตรี)
การบันทึกคาร้องทุกข์ผูเ้ สียหายที่เป็ นเด็ กอายุ ไม่เกินสิบแปดปี
(ม.๑๒๔/๑)
การแจ้ งข้อกล่าวหาและการสอบปากคาเด็ กและเยาวชน
(ม.๗๕) การสั่งควบคุมหรือขังเด็กหรือเยาวชน(๗๔)
การพิจารณาผัดฟ้อง(ม.๗๘) การพิจารณาคดี(ม.๑๒๐)
ต้องตั้งที่ปรึกษากฎหมายให้แก่เด็กหรือเยาวชน
๓.๔ การคุ้มครองผูห้ ญิงในการดาเนินคดีอาญา
การตรวจตั วผูห
้ ญิงที่เป็ นผูเ้ สียหายหรือผูต้ ้องหา
(ม.๑๓๒)
การถามปากคาผูห
้ ญิงที่ถกู กระทาทางเพศ
(ม.๑๓๓)
๓.๕ การฟ้องคดีกระทาความรุนแรงฯ(ม.๔)
เขตอานาจศาล
๑) กระทาความรุนแรงฯ(ม.๔)
ศาลเยาวชน
๒) ความรุนแรง+ม.๓๙๑
ศาลเยาวชน
๓) ความรุนแรง+ม.๒๙๕
ศาลแขวง
๔) ความรุนแรง+ม.๒๙๗
ศาลจังหวัด,อาญา
๕) ทหารทารุนแรง+โทษไม่สงู กว่า
ศาลเยาวชน
๖) ทหารทารุนแรง +โทษสูงกว่า
ศาลทหาร
๗) เด็กทาความรุนแรงฯ
ศาลเยาวชน
**ศาลอื่ นให้ใช้บทบัญญัติตาม พ.ร.บ.นี้โดยอนุโลม
๓.๖ การพิจารณาคดี
๑) คดีที่อยู่ในอานาจศาลเยาวชน
-ใช้ ม.๘ ว ๑, ม.๑๔ (ต้องผัดฟ้องทุกคดี)
๒) คดีที่อยู่ในอานาจศาลแขวง
-ใช้วิ.แขวง (ม.๘ ว ๒) (ต้องผัดฟ้องทุกคดี)
๓) คดีท่ีอยู่ในอานาจศาลจังหวัด,ศาลอาญา
-ใช้วิ.อาญา (ม.๘ ว ๒)
๔) คดีท่ีเด็กเป็ นผูต้ ้องหา
-ใช้วิ.เยาวชน (ม.๑๐ วิ.เยาวชน)
๓.๗ การพิพากษาคดี
ความผิดตามมาตรา ๔ (รวมถึง ฐานทาร้าย ม.๒๙๕)
ศาลมีอานาจกาหนดมาตรการปรับพฤติกรรมผูก้ ระทาผิด
แทนการลงโทษได้ (ม.๑๒)
**วิธีฟ้ ื นฟู /บาบัดรักษา/คุมความประพฤติ/ให้ชดใช้เงิน
ช่วยเหลือบรรเททุกข์/ทางานบริการสาธารณะ/ละเว้นการ
กระทาที่เป็ นเหตุความรุนแรง/ทาทัณฑ์บนฯ/ตามระยะเวลาที่
ศาลกาหนด
๓.๘ การยอมความ การถอนคาร้องทุกข์ การถอนฟ้อง
ความผิดตาม ม.๔(รวมถึง ม.๒๙๕) คดี ไม่ยุติทันที
ยอมความ ถอนคาร้องทุกข์ ถอนฟ้อง ชั้ นพนส.หรือ
ชั้นศาล
-พนส.หรือศาล ต้องจัดทาบันทึกข้อตกลงก่อนการยอม
ความ ถอนคาร้องทุกข์ ถอนฟ้อง กาหนดเงื่อนไขตาม
มาตรการแทนการลงโทษเพือ่ ปรับพฤติกรรมให้ผูต้ ้องหาหรือ
จาเลยปฏิบัติก่อน (ม.๑๒ ว ๒)
**เงื่อนไขสาเร็จคดียุติ เงื่อนไขไม่สาเร็จดาเนินคดีต่อไป
(ม.๑๒ว๒)
การยอมความ การถอนคาร้องทุกข์ การถอนฟ้อง(ต่อ)
ยอมความ
ถอนคาร้องทุกข์ ในชั้นพนักงานอั ยการ
-อั ยการส่งเรื่องให้ พนส.จัดทาบันทึกข้อตกลงก่อนการยอม
ความ การถอนคาร้องทุกข์กาหนดเงื่อนไขปรับพฤติกรรม
ผูต้ ้องหา (ม.๑๒ ว ๒)
**เงื่อนไขสาเร็จยุติคดี เงื่อนไขไม่สาเร็จดาเนินคดีต่อไป
(ม.๑๒ ว ๒)
กรณีเด็กเป็ นผูถ้ กู กระทาด้วยความรุนแรงในครอบครัว
บังคับตามพรบ.คุ้มครองเด็ ก พ.ศ.๒๕๔๖
-มาตรการดาเนินคดีอาญา/มาตรการคุ้มครองสวัสดิภาพ
บังคับตามพรบ.คุ้มครองผูถ
้ กู กระทาด้วยความรุนแรง
ในครอบครัว พ.ศ.๒๕๕๐
-มาตรการดาเนินคดีอาญา/มาตรการคุ้มครองสวัสดิภาพ
บังคับตามพรบ.ศาลเยาวชนและครอบครัวฯ๕๓
(หมวด ๑๕) /มาตรการคุ้มครองสวัสดิภาพ
บังคับตามกฎหมายอาญาอื่ น
การดาเนินคดีอาญากับผูท้ าทารุณกรรมเด็ก
ตามพรบ.คุ้มครองเด็ ก พ.ศ.๒๕๔๖
-ฐานทาทารุนกรรมเด็ก
(ม.๒๖,๗๘ โทษ ๓ เดือน/๓๐,๐๐๐_ยอมความไม่ได้)
ตามพรบ.คุ้มครองผูถ
้ กู กระทาด้วยความรุนแรงใน
ครอบครัว พ.ศ.๒๕๕๐
-ฐานกระทาความรุนแรงในครอบครัวตามมาตรา ๔
(โทษ ๖ เดือน/๖,๐๐๐_/ทั้งจาทั้งปรับ/ยอมความได้)
ตามกฎหมายอาญาอื่ น
กระบวนการคุ้มครองสวัสดิภาพเด็ก และ
ผูถ้ กู กระทาด้วยความรุนแรงในครอบครัว
มาตรการคุ้มครอง
ผูถ้ กู กระทาด้วยความรุนแรงในครอบครัว
๑.การแจ้งเหตุและการคุ้มครองเบื้องต้น
(ชั้นพนักงานเจ้าหน้าที่)
๒.การคุ้มครองระหว่างสอบสวน
(ชั้นพนักงานสอบสวน)
๓.การคุ้มครองระหว่างพิจารณาพิพากษา
(ชั้นศาล)
มาตรการคุ้มครองผูถ้ กู กระทาด้วยความรุนแรง
ในครอบครัว
๑.การแจ้งเหตุและคุ้มครองเบื้องต้น(ชั้นพนักงานเจ้าหน้าที่)
ม.๖ พนักงานเจ้าหน้าที่
ม.๕ ผูถ้ กู กระทา/ผูพ
้ บ/ทราบ
มีอานาจคุ้มครองเบื้องต้น แจ้งเหตุต่อพนักงานเจ้าหน้าที่
-เข้าไปในเคหสถาน
ม.๗ ร้องขอ ม ๙ ห้ามโฆษณา
สอบถามข้อเท็จจริง
คุ้มครอง
เผยแพร่ต่อ
-จัดให้ผูถ้ กู กระทา
สวัสดิภาพต่อ
สาธารณชน
รับการตรวจรักษา/
รับคาปรึกษา/ร้องทุกข์ ศาลเยาวชนฯ (๖เดือน ๖ หมืน่ )
๒. คุ้มครองระหว่างสอบสวน (ชั้นพนักงานสอบสวน)
พนักงานเจ้าหน้าที่ชั้นผูใ้ หญ่
/ศาล (ม.๑๐,๑๑)
กาหนดมาตรการบรรเทาทุกข์
ชั่วคราวระหว่างสอบสวน
ม๑๒ว๒.พนักงานสอบสวน
จัดทาบันทึกข้อตกลงปรับ
พฤติกรรมผูก้ ระทาก่อนการ
ยอมความ/ถอนคาร้องทุกข์
รายงานศาลใน ๔๘ ชม.
ม๔,๗.ร้องทุกข์
ใน3เดือนนับแต่
อยู่ในวิสัยและมีโอกาส
ม๘.สอบสวนและส่ง
อั ยการฟ้องใน๔๘ชม.
หรือ๓ผัดx๖วัน
ฟ้อง/ไม่ฟ้อง/ยุติ/
ขออนุญาตฟ้อง
มาตรการบรรเทาทุกข์ชั่วคราวระหว่างสอบสวนป้องกันกระทาซ้า
-ให้ผูก้ ระทาได้รับการตรวจจากแพทย์
พนจ.ชั้นผูใ้ หญ่
-ชดใช้เงินช่วยเหลือเบื้องต้น
-ห้ามเข้าไปในที่พานักของครอบครัว รายงานศาลใน ๔๘ ชม.
-ห้ามเข้าใกล้ตัวบุคคลใดในครอบครัว
-กาหนวิธีการดูแลบุตร (ม.๑๐)
มาตรการปรับพฤติกรรมผูก้ ระทาก่อนการยอมความชั้นสอบสวน
-กาหนดวิธีการฟื้ นฟู /บาบัดรักษา/คุมความประพฤติ/ให้ชดใช้
เงินช่วยเหลือ/ทางานบริการสังคม/ละเว้นการกระทาที่เป็ นเหตุให้
เกิดความรุนแรงในครอบครัว/ทาทัณฑ์บน (ม.๑๒)
๓.คุ้มครองระหว่างพิจารณาพิพากษา(ชั้นศาล)
ศาลกาหนดมาตรการ
บรรเทาทุกข์ชั่วคราว
ระหว่างพิจารณา(ม.๑๑)
ศาล
ศาลอื่ น
เยาวชน ใช้โดยอนุโลม
ศาลจัดทาบันทึกข้อตกลงปรับ
พฤติกรรมผูก้ ระทาก่อนการ
ยอมความ/ถอนฟ้อง(ม.๑๒)
ม๑๕.หลัก
พิจารณา
เปรียบเทียบ
พิพากษา ให้ยอมกัน
ศาลใช้มาตรการแทนการลงโทษ
ปรับพฤติกรรมผูก้ ระทา(ม.๑๒)
ใช้มาตรการ ลงโทษ/
แทนการลงโทษ ยกฟ้อง
๓.คุ้มครองระหว่างพิจารณาพิพากษา (ชั้นศาล)
ศาลกาหนดมาตรการบรรเทาทุกข์ระหว่างการพิจารณาคดี
-ให้ผูก้ ระทาเข้ารับการตรวจจากแพทย์ /ชดใช้เงินช่วยเหลือ
บรรเทาทุกข์/ห้ามเข้าไปในที่พานักของครอบครัว/ห้ามเข้าใกล้ตัว
บุคคลในครอบครัว/กาหนดวิธีการดูแลบุตร (ม.๑๑)
ศาลใช้มาตรการปรับพฤติกรรมผูก้ ระทาแทนการลงโทษ/
จัดทาบันทึกข้อตกลงปรับพฤติกรรมผูก้ ระทาก่อนการยอมความ
-ถอนฟ้อง โดยวิธีฟ้ ื นฟู /บาบัดรักษา/คุมประพฤติ/ชดใช้เงิน
ช่วยเหลือ/ทางานบริการสาธารณะ/ละเว้นการกระทาที่เป็ นเหตุ
ให้เกิดความรุนแรงในครอบครัว/ทาทัณฑ์บน (ม.๑๒)
ผลการปฏิบัติ/ไม่ปฏิบตั ิตามเงื่อนไขปรับความประพฤติ
ก่อนการยอมความ/ถอนคาร้องทุกข์/ถอนฟ้อง
ปฏิ บตั ิตามเงื่อนไข
ปรับความประพฤติครบถ้วน
ฝ่ าฝื นไม่ปฏิบัติตามเงื่อนไข
ปรับความประพฤติ
คดีอาญาฐานกระทาความ
รุนแรงในครอบครัว/ฐานทา
ร้ายร่างกาย ม.๒๙๕ ยุติ
พนักงานสอบสวน/ศาล
ยกคดีข้ ึนดาเนินการต่อไป
(มาตรา ๑๒ ว ๒)
กรณีเด็กเป็ นผูถ้ กู กระทาด้วยความรุนแรงในครอบครัว
บังคับตามพรบ.คุ้มครองเด็ ก พ.ศ.๒๕๔๖
-มาตรการดาเนินคดีอาญา/มาตรการคุ้มครองสวัสดิภาพ
บังคับตามพรบ.คุ้มครองผูถ
้ กู กระทาด้วยความรุนแรง
ในครอบครัว พ.ศ.๒๕๕๐
-มาตรการดาเนินคดีอาญา/มาตรการคุ้มครองสวัสดิภาพ
บังคับตามพรบ.ศาลเยาวชนและครอบครัวฯ๕๓
(หมวด ๑๕) /มาตรการคุ้มครองสวัสดิภาพ
บังคับตามกฎหมายอาญาอื่ น
กระบวนการคุ้มครองสวัสดิภาพเด็กถูกทารุณกรรม
เด็กถูกทารุณกรรม (ม.๔)
รับแจ้ง-ตรวจค้นและแยกเด็ก (ม.๔๑) ขอศาลสั่ง
ป้องกัน
ตรวจร่างกายและจิตใจ (ม.๔๒)
กระทาซ้า
สืบเสาะพินิจเด็กและครอบครัว (ม.๓๐) (ม.๔๓)
กาหนดวิธีค้มุ ครองสวัสดิภาพที่เหมาะสม (ม.๓๕,๓๗)
คืน
ผูป้ กครอง
สถานแรกรับ
สถานคุ้มครอง
สถานสงเคราะห์
สวัสดิภาพ
สถานพัฒนนาฟื้ นฟู
กระบวนการคุ้มครองสวัสดิภาพเด็ก
ไม่ให้ญาติ/ผูป้ กครองทาทารุณกรรมซ้า (มาตรา ๔๓)
ศาลเยาวชน
และครอบครัว
กรณีที่มกี ารฟ้องคดีอาญา
คุมความ
ประพฤติ
ห้ามเข้า
เขตกาหนด
/ห้ามเข้า
ใกล้ตัวเด็ก
กรณียังไม่มีการฟ้องคดีอาญา
หรือไม่ฟ้องคดีอาญา
ทาทัณฑ์บน
ตาม
ม.๔๖,๔๗
ป.อาญา
ห้ามกระทา
การทารุณ
ดังกล่าวอี ก
***กรณีจาเป็ นเร่งด่วนศาลสั่งให้ตารวจจับมาขังได้ครั้งละไม่เกินสามสิบวัน
คุมความ
ประพฤติ/
เรียกประกัน
กระบวนการคุ้มครองสวัสดิภาพเด็กเสี่ยง (มาตรา ๔๔)
เด็กเสี่ยงต่อการกระทาผิด (มาตรา ๔๔)
สอบถามเด็กและสืบเสาะพินิจ
สงเคราะห์ – คุ้มครองสวัสดิภาพ
คืนผูป้ กครอง
สถาน สถานคุ้มครอง สถานพัฒนนา
ตั้งผูค้ ้มุ ครอง
สงเคราะห์ สวัสดิภาพ
และฟื้ นฟู วางข้อกาหนด สวัสดิภาพ
ระวังไม่ให้เด็ก
จัดให้เด็ก
เข้าสถานที่จงู ใจให้เด็กเสีย
ได้รับการศึกษา
ออกนอกที่อยู่อาศัยในเวลากลางคืน
ประกอบอาชีพเหมาะสม
คบหาบุคคลที่ชักนาไปในทางเสื่อมเสีย ทากิจกรรมพัฒนนาด้านคุณธรรม จริยธรรม
กระทาการใดในทางเสียหาย
บาเพ็ญประโยชน์ต่อสังคม
คดีค้มุ ครองสวัสดิภาพ (หมวด ๑๕)
พรบ.ศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธี
พิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว ๒๕๕๓
ผังการดาเนินคดีค้มุ ครองสวัสดิภาพเด็กและผูถ้ กู กระทาด้วยความรุนแรงในครอบครัว
ผู ้ ถู ก กระท าด้ ว ยความรุ น แรง
ในครอบครัว/เด็กหรือผูป้ กครอง
สั่งคุ้มครองสวัสดิภาพ
ผูก้ ระทาฯ
ห้ามกระทาการที่เป็ นเหตุ
ฉุกเฉิน
นักสังคมฯ/
นักจิต/พนจ.
ติดตาม/กากับ/
รายงานศาล
รับคาปรึกษา
แนะนา
ยกคาร้อง
แจ้งคาสั่ง
รับคาปรึกษา/
อบรม/บาบัด/ฟื้ นฟู
ห้ามใช้/ครอบครองทรัพย์ สิน
ให้จ่ายค่าอุปการะเลี้ยงดู/
เงินช่วยเหลือบรรเทาทุกข์
ไต่สวน
ผูถ้ กู กระทาฯ/
เด็ก/ผูป้ กครอง
ห้ามเสพสิ่งมึนเมา
ห้ามเข้าใกล้ที่อยู่/งาน
ญาติ/พนจ./พนส./อั ยการ/
องค์การ/บุคคลอื่ นใด
ศาลเยาวชน
และครอบครัว
แก้คาสั่ง
จับ/ขัง
ฝ่ ายปกครอง
/ตารวจ
จับผูฝ
้ ่ าฝื นตามหมาย
ศาลขังไม่เกิน ๑ เดือน
คาสั่งสิ้นสุด
ปล่อย
ชั่วคราว
คดีค้มุ ครองสวัสดิภาพตามพรบ.ศาลเยาวชนฯ
พ.ศ.๒๕๕๓ (หมวด ๑๕)
มาตรา ๑๗๒ คุ้มครองผูถ้ กู กระทาด้วยความรุนแรง
ในครอบครัว
-ผูถ้ กู กระทาด้วยความรุนแรงในครอบครัวมีสิทธิรอ้ งต่อศาล
-กรณีผูถ้ กู กระทาฯไม่อยู่ในสภาพหรือวิสัยที่จะร้องได้เอง
ญาติ พนักงานเจ้าหน้าที่ พนักงานสอบสวน พนั กงาน
อั ยการ องค์การซึ่งมีหน้าที่ช่วยเหลือประชาชนทางกฎหมาย
องค์การซึ่งมีหน้าที่ค้มุ ครองสวัสดิภาพเด็ กฯ หรือบุคคลอื่ น
ใดเพือ่ ประโยชน์ของผูเ้ สียหายจะกระทาแทนก็ได้
คดีค้มุ ครองสวัสดิภาพตามพรบ.ศาลเยาวชนฯ
พ.ศ.๒๕๕๓(หมวด ๑๕)
มาตรา ๑๗๙ คุ้มครองเด็กที่ถกู ปฏิ บตั ิโดยมิชอบตาม
กฎหมายคุ้มครองเด็ก
-เด็กหรือผูป้ กครองอาจร้องต่อศาลเยาวชนฯ ได้
และให้นา ม.๑๗๒ มาใช้โดยอนุโลม
การคุ้มครองสวัสดิภาพโดยศาลเยาวชนและครอบครัว
ศาลทาการไต่สวนและมีอานาจออกคาสั่งคุ้มครองสวัสดิภาพ
(๑) ห้ามผูก้ ระทาความรุนแรงในครอบครัว หรือผูท้ าทารุณ
กรรมเด็ก
-เสพสุราหรือสิ่งมืนเมา
-เข้าใกล้ท่ีอยู่อาศัยหรือที่ทางานของผูร้ ้อง
-ใช้หรือครอบครองทรัพย์สิน
-กระทาการที่นาไปสู่การทาความรุนแรงในครอบครัว
หรือการทาทารุณกรรมเด็ก
-เข้ารับคาปรึกษาแนะนาจากศูนย์ให้คาปรึกษาแนะนา หรือ
สถานพยาบาล หรือหน่วยงานอื่ นใด (ม.๑๗๔)
*ทั้งนี้ตามระยะเวลาที่ศาลเห็นสมควรแต่ไม่เกินหกเดือน
และเป็ นที่สดุ
(๒)ให้ผูถ้ กู กระทาด้วยความรุนแรงในครอบครัว/เด็กที่ถกู
ทารุณกรรม
-เข้ารับคาปรึกษาแนะนา/การอบรม/การบาบัดรักษา/ฟื้ นฟู
-จากศูนย์ให้คาปรึกษาแนะนา สถานพยาบาล หน่วยงาน หรือ
องค์การที่มหี น้าที่ค้มุ ครองสวัสดิภาพเด็ก เยาวชน สตรี
ผูส้ งู อายุ ผูพ
้ กิ ารหรือทุพพลภาพ หรือครอบครัว
-ตามระยะเวลาที่ศาลกาหนด (ม.๑๗๕)
**ให้ศูนย์ฯ สถานพยาบาล หน่วยงาน องค์การ ที่ช่วยเหลือคุ้มครองผูก้ ระทา
หรือผูถ้ กู กระทา ตามคาสั่งศาลได้รับค่าตอบแทนตามระเบียบคณะ
กรรมการบริหารศาลยุติธรรม
(๓) สั่งให้นักสังคมสงเคราะห์ นักจิตวิทยา
พนักงานเจ้าหน้าที่ พนักงานเจ้าหน้าที่อื่น
-ติดตาม กากับ ให้ผูก้ ระทาปฏิบัติตามคาสั่งศาล
-รายงานให้ศาลทราบ
*ถ้าพฤติการณ์เปลี่ยนไป ศาลสั่งแก้ไขคาสั่งเดิมได้
*ถ้าฝ่ าฝื นคาสั่งศาล ศาลสั่งจับมาขังได้ไม่เกินหนึ่งเดือน
*ถ้าปฏิบตั ิตามคาสั่งศาลครบถ้วน
คาสั่งคุ้มครองสวัสดิภาพเป็ นอั นสิ้นสุด (ม.๑๗๔)
(๔) สั่งให้ผูท้ ่ีต้องรับผิดตามคาสั่งคุ้มครองสวัสดิภาพ
-จ่ายค่าอุปการะเลี้ยงดูตามสมควร กรณีจดทะเบียนสมรส
-จ่ายเงินช่วยเหลือบรรเทาทุกข์เบื้องต้นตามสมควร
กรณีไม่มีการจดทะเบียนสมรส (ม.๑๗๘)
(๕) แจ้งคาสั่งคุ้มครองสวัสดิภาพให้เจ้าพนักงานฝ่ าย
ปกครองหรือตารวจทราบ (ม.๑๗๖)
(๖) ออกหมายจับผูถ้ กู กล่าวหาที่ฝ่าฝื นคาสั่งคุ้มครอง
สวัสดิภาพมาขังได้ไม่เกินหนึ่งเดือน (ม.๑๗๖)
ส่วนที่ ๓
กลไกในการคุ้มครองเด็ก และ
ผูถ้ กู กระทาด้วยความรุนแรงในครอบครัว
กลไกสหวิชาชีพในการคุ้มครองสวัสดิภาพเด็ก ผูห้ ญิง
ผูส้ งู อายุ ผูพ
้ กิ าร และผูถ้ กู กระทาด้วยความรุนแรง
ในครอบครัว
พนักงานเจ้ าหน้าที่
(บ้านพักเด็กและครอบครัว/ศูนย์
ประชาบดี ๑๓๐๐/ศูนย์ ปฏิ บตั ิการเพือ่ ป้องกันการกระทา
ความรุนแรงในครอบครัว/สถานแรกรับ/สถานสงเคราะห์/
สถานคุ้มครองสวัสดิภาพ/สถานพัฒนนาและฟื้ นฟู )
ผูม
้ หี น้าที่ค้มุ ครองสวัสดิภาพเด็ก(ปลัดกระทรวง/ผูว้ ่า
ราชการจังหวัด/ผอ.เขต/นายอาเภอ/หัวหน้ากิ่งอาเภอ/
ผูบ้ ริหาร อปท.)
พนักงานฝ่ ายปกครองหรือตารวจ
กลไกสหวิชาชีพในการคุ้มครองสวัสดิภาพเด็ก ผูห้ ญิง
ผูส้ งู อายุ ผูพ
้ กิ าร และผูถ้ กู กระทาด้วยความรุนแรง
ในครอบครัว(ต่อ)
นักจิ ตวิทยา
นักสังคมสงเคราะห์
จิ ตแพทย์ แพทย์ พยาบาล
บุคลากรทางการแพทย์ (ศูนย์ พงึ่ ได้ oscc)
พนักงานคุ้มครองแรงงาน
พนักงานสอบสวน
พนักงานอั ยการ (รวมถึงศูนย์ อัยการคุ้มครองสิทธิ เด็ กและ
สถาบันครอบครัว และ สคช ด้วย)
พนักงานเจ้าหน้าที่ตามกฎหมาย
พนักงานเจ้ าหน้าที่ค้ม
ุ ครองผูถ้ กู กระทาด้วยความรุนแรง
ในครอบครัว(พนักงานฝ่ ายปกครองหรือตารวจ)
พนักงานเจ้ าหน้าที่สงเคราะห์และคุ้มครองสวัสดิ ภาพเด็ ก
(รวมถึงผูม้ หี น้าที่ค้มุ ครองสวัสดิภาพเด็ ก)
พนักงานเจ้ าหน้าที่ฐานค้ามนุษย์
พนักงานตรวจแรงงาน
ศูนย์พงึ่ ได้ OSCC
ONE STOP CRISIS CENTER
ศูนย์ให้บริการช่วยเหลือเด็กและสตรีท่ีถกู
กระทาด้วยความรุนแรง
บทบาทและแนวทางการดาเนินการช่วยเหลือของ
ศูนย์พง่ึ ได้(OSCC)
จั ดบริการแบบ
One Stop Service Center ให้บริการด้าน
การแพทย์ /ด้านจิตใจ ด้านสวัสดิการสังคม และกระบวนการ
ยุติธรรม(นิติเวช)
แจ้ งเหตุหรือรายงานเหตุที่เด็ กและผูห
้ ญิงถูกกระทาด้วย
ความรุนแรง
เน้นการทางานเป็ นทีมสหวิชาชีพ
(Multi-disciplinary Team)
บทบาทและแนวทางการดาเนินการช่วยเหลือของ
ศูนย์พงึ่ ได้ OSCC (ต่อ)
ประเมินสภาพป
ั ญหาและความต้องการช่วยเหลือของเด็ก
และครอบครัว
ประสานงานส่งต่อให้ผูป
้ ่ วยได้รับการช่วยเหลือครบวงจร
ติ ดตามประเมินผลการช่ วยเหลือเฉพาะรายที่จาเป็ น
บทบาทบ้านพักเด็กและครอบครัว
และ ศูนย์ประชาบดี๑๓๐๐(พม)
รับแจ้งเหตุความรุนแรงต่อเด็ก ผูห้ ญิง
และบุคคลในครอบครัวตลอด ๒๔ ชม.
 คุ้มครองเบื้องต้น แก่เด็ ก ผูห
้ ญิง บุคคลในครอบครัว
ที่ถกู กระทาด้วยความรุนแรง
 ให้ท่ีพานักชั่ วคราว
่ คุ้มครองสวัสดิภาพต่อไป
ประสานส่งต่ อความช่ วยเหลือเพือ

บทบาทศูนย์ปฏิบัติการ
เพือ่ ป้องกันการกระทาความรุนแรงในครอบครัว
กรมพัฒนนาสังคมและสวัสดิ การ(พม)
่ คงของมนุษย์ จังหวัด
สานักงานพัฒนนาสังคมและความมัน
(พมจ)
-รับแจ้งเหตุความรุนแรงในครอบครัว
-เป็ นศูนย์ประสานงานการคุ้มครองสวัสดิภาพตามกฎหมาย
-ตรวจ ติดตาม รายงานผล การปฏิบัติตามมาตรการ
คุ้มครองสวัสดิภาพที่พนักงานเจ้าหน้าที่ชั้นผูใ้ หญ่หรือ
ศาลสั่งคุ้มครองผูถ้ กู กระทาด้วยความรุนแรงในครอบครัว
ศูนย์ช่วยเหลือสังคม (OSCC ๑๓๐๐)
๑.หน่วยรับแจ้งเหตุความรุนแรงเบื้องต้น ตลอด ๒๔ ชม.
(สองหมืน่ กว่าแห่งทั่วประเทศ)
-สถานีตารวจ/ศูนย์ดารงธรรม/อาเภอ/เทศบาล/อบต./เขตกทม.
-สถานพยาบาลและศูนย์บริการสาธารสุข ของกระทรวงสธ./ของกทม.
-ศูนย์ปฏิ บัติการช่วยเหลือแรงงานหญิงและเด็ก/สานักงานจัดหางาน
-หน่วยงานของกระทรวงการพัฒนนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
-กรมคุ้มครองสิทธิ ฯ/ยุติธรรมจังหวัด
-เขตพื้นที่การศึกษา
ศูนย์ช่วยเหลือสังคม(OSCC ๑๓๐๐)(ต่อ)
๒.บทบาทหน้าที่ของศูนย์ช่วยเหลือสังคม(OSCC ๑๓๐๐)
รับแจ้ งเหตุ
(ความรุนแรง/แรงงานเด็ก/ท้องไม่พร้อม/ค้ามนุษย์ )
สอบข้อเท็จจริงเบื้องต้น
รายงานทางอิ เล็กทรอนิค
่ คุ้มครองสวัสดิภาพต่อไป
ส่งต่ อให้ได้ รับความช่ วยเหลือเพือ
(ส่งให้หน่วยบริการทางการแพทย์ ทางสังคม และทางกฎหมาย)
บทบาทพนักงานสอบสวนในการคุ้มครองเด็ก และ
ผูถ้ กู กระทาด้วยความรุนแรงในครอบครัว
๑.ดาเนินคดีอาญา (ศาลเยาวชน,ศาลอื่ น)
(พรบ.คุ้มครองผูถ้ กู กระทาฯ ๒๕๕๐ มาตรา ๔,๗,๘)
๒.คุ้มครองสวัสดิภาพตามกฎหมาย
(คุ้มครองเบื้องต้น ม.๖,คุ้มครองบรรเทาทุกข์ป้องกันการ
กระทาซ้าระหว่างคดี ม.๑๐,๑๑)
๓.สนับสนุนสหวิชาชีพในการคุ้มครองสวัสดิภาพ
(ประสานการส่งต่อความช่วยเหลือคุ้มครองสวัสดิภาพ)
บทบาทพนักงานสอบสวนในการคุ้มครองเด็ก และ
ผูถ้ กู กระทาด้วยความรุนแรงในครอบครัว(ต่อ)
๔.ขอให้ศาลสั่งคุ้มครองสวัสดิภาพเด็ก ผูห้ ญิง ผูถ้ กู กระทา
ด้วยความรุนแรงในครอบครัว (ศาลเยาวชน,ศาลอื่ น)
-สั่งมาตรการคุ้มครองเด็ก(พรบ.คุ้มครองเด็ก ม.๔๒,๔๓)
-สั่งคุ้มครองบรรเทาทุกข์ผูถ้ กู กระทาด้วยความรุนแรงใน
ครอบครัวระหว่างคดีป้องกันการกระทาซ้า(พรบ.คุ้มครอง
ผูถ้ กู กระทาฯ ม.๑๐,๑๑)
-สั่งคุ้มครองสวัสดิภาพเด็ก ผูถ้ กู กระทาด้วยความรุนแรงใน
ครอบครัว(พรบ.ศาลเยาวชนและครอบครัวฯ ม.๑๗๒,๑๗๙)
บทบาทพนักงานสอบสวนในการคุ้มครองเด็ก และ
ผูถ้ กู กระทาด้วยความรุนแรงในครอบครัว(ต่อ)
๕. การยอมความ ถอนคาร้องทุกข์ ชั้นพนักสอบสวน
ความผิดตาม ม.๔(รวมถึง ม.๒๙๕) คดีไม่ยุติทันที
-พนส. ต้องจัดทาบันทึกข้อตกลงก่อนการยอมความ ถอน
คาร้องทุกข์ กาหนดเงื่อนไขตามมาตรการแทนการลงโทษเพือ่
ปรับพฤติกรรมให้ผูต้ ้องหาหรือจาเลยปฏิบัติก่อน(ม.๑๒ว๒)
**เงื่อนไขสาเร็จคดียุติ เงื่อนไขไม่สาเร็จดาเนินคดีต่อไป
(ม.๑๒ว๒)
บทบาทพนักงานอั ยการในการคุ้มครองสวัสดิภาพ
ผูถ้ กู กระทาด้วยความรุนแรงในครอบครัว
๑.ดาเนินคดีอาญา (ศาลเยาวชน,ศาลอื่ น)
(พรบ.องค์กรอั ยการฯ ม.๑๔(๒),(๔))
๒.คุ้มครองสิทธิและช่วยเหลือทางกฎหมาย
[พรบ.องค์กรอั ยการฯ ม.๒๓(๑)]
๓.สนับสนุนสหวิชาชีพในการคุ้มครองสวัสดิภาพ
[พรบ.องค์กรอั ยการฯ ม. ๒๓(๑) และม.๒๓(๗) ประกอบ
ม.๑๔(๑๑)]
บทบาทพนักงานอั ยการในการคุ้มครองสวัสดิภาพ
ผูถ้ กู กระทาด้วยความรุนแรงในครอบครัว(ต่อ)
๔.ขอให้ศาลสั่งคุ้มครองสวัสดิภาพเด็ก และ ผูถ้ กู กระทาด้วย
ความรุนแรงในครอบครัว (ศาลเยาวชน,ศาลอื่ น)
-สั่งมาตรการคุ้มครองเด็ก(พรบ.คุ้มครองเด็ก ม.๔๒,๔๓)
-สั่งคุ้มครองบรรเทาทุกข์ผูถ้ กู กระทาด้วยความรุนแรงใน
ครอบครัวระหว่างคดีป้องกันการกระทซ้า(พรบ.คุ้มครอง
ผูถ้ กู กระทาฯ ม.๑๐,๑๑)
-สั่งคุ้มครองสวัสดิภาพเด็ก ผูถ้ กู กระทาด้วยความรุนแรงใน
ครอบครัว(พรบ.ศาลเยาวชนและครอบครัวฯ ม.๑๗๒,๑๗๙)
กระบวนงานการคุ้มครองสวัสดิภาพ
แบบสหวิชาชีพ(CASE CONFERENCE)
ประสานส่งต่อข้อมูลของผูก
้ ระทาและผูถ้ กู กระทา
ประชุมกลุ่มสหวิชาชี พ
วางหลักกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
- สหวิชาชี พนาเสนอ case
่ เติม
- กลุ่มสหวิชาชี พอื่ นซั กถามรายละเอี ยดข้อมูลเพิม
- แต่ละสหวิชาชี พเสนอความเห็นและแลกเปลี่ยนประสบการณ์
- ที่ประชุมกลุ่มสหวิชาชี พร่วมกันกาหนดแนวทางการคุ้มครอง
-
ส่วนที่ ๔
แนวทางการปฏิ บัติงาน
ของสหวิชาชีพในการคุ้มครองเด็กและ
ผูถ้ กู กระทาด้วยความรุนแรงในครอบครัว
โครงสร้างพระราชบัญญัติค้มุ ครองผูก้ กู กระทาด้วยความรุนแรงในครอบครัว ๒๕๕๐
การคุ้มครองผูถ
้ ูกกระทาด้วยความรุนแรงในครอบครัว
ม.๖ มาตรการคุ้มครอง
ผู้ถูกกระทาเบื้องต้น
ม.๑๐,๑๑ มาตรการบรรเทาทุกข์
ระหว่างคดี(รายงานศาล๔๘ชม.)
ม.๑๒ มาตรการกาหนดเงือ
่ นไข
ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมก่อนยอม
ความ
ม. ๕ แจ้ง พนจ.
ตารวจ ปกครอง
ม.๗
ขอ
ศาล
สั่ง
ม.๑๑ มาตรการบรรเทาทุกข์ชว
ั่ คราว
ม.๑๒ ว๒ มาตรการกาหนดเงือ
่ นไข
ปรับเปลี่ยนพฤติกรมก่อนยอมความ
ม.๑๒ ว๑ มาตรการปรับเปลีย
่ นพฤติกรรม
ผู้กระทาผิดแทนการลงโทษ
ม.๙
ห้าม
โฆษณา
เผยแพร่
ม.๑๕
การดาเนินคดีอาญากับผู้กระทาผิด
ม.๔,๗ ร้องทุกข์ใน ๓ เดือน
นับแต่อยู่ในวิสย
ั และมีโอกาส
ม.๘ พนักงาน
สอบสวนทาการ
สอบสวน
สอบปากคา
ผู้ถูกกระทา
ขออนุญาต
ฟ้อง
ม.๘ อัยการ
ฟ้อง
ศาล
เยาวชน
ลงโทษ
ไม่ฟ้อง,ยุติ
ศาลอืน
่
ที่มีโทษ
สูงกว่า
ยกฟ้อง
สั่งมาตรการแทนการลงโทษ
ความรุนแรงในครอบครัว
กระทาโดยมุง
่ ประสงค์ให้เกิดอั นตรายแก่ร่างกาย
จิตใจ
หรือสุขภาพ ของบุคคลในครอบครัว(มุง่ ร้าย)
กระทาโดยเจตนาในลักษณะที่น่าจะก่อให้เกิดอั นตราย แก่
ร่างกาย จิตใจ หรือสุขภาพ ของบุคคลในครอบครัว
(น่าจะเป็ นอั นตราย)
บังคับ ใช้อานาจครอบงาผิดคลองธรรม
ให้บคุ คลในครอบครัวต้องกระทาการ
ไม่กระทาการ หรือยอมรับการกระทา
โดยมิชอบ(บังคับ/ครอบงาผิดคลองธรรม)
**ไม่รวมถึงการกระทาโดยประมาท**
บุคคลในครอบครัว
คู่สมรส
คู่สมรสเดิม
ผูท
้ ่ีอยู่กินหรือเคยอยู่กินฉันท์สามีภริยา
บุตร บุตรบุญธรรม
สมาชิ กในครอบครัว
รวมทั้งบุคคลใดๆที่ต้องพึง่ พาอาศั ย
และอยู่ในครัวเรือนเดียวกัน
กรณีเด็กเป็ นผูถ้ กู กระทาด้วยความรุนแรงในครอบครัว
บังคับตามพรบ.คุ้มครองเด็ ก พ.ศ.๒๕๔๖
-มาตรการดาเนินคดีอาญา/มาตรการคุ้มครองสวัสดิภาพ
บังคับตามพรบ.คุ้มครองผูถ
้ กู กระทาด้วยความรุนแรง
ในครอบครัว พ.ศ.๒๕๕๐
-มาตรการดาเนินคดีอาญา/มาตรการคุ้มครองสวัสดิภาพ
บังคับตามพรบ.ศาลเยาวชนและครอบครัวฯ๕๓
(หมวด ๑๕) /มาตรการคุ้มครองสวัสดิภาพ
บังคับตามกฎหมายอาญาอื่ น
ทารุณกรรมเด็ก(ต่ากว่า ๑๘ ปี )
ตามพรบ.คุ้มครองเด็ก ๒๕๔๖
ทาให้เด็ กเสื่อมเสียเสรีภาพ
เกิดอั นตรายแก่ร่างกายหรือจิ ตใจเด็ ก
กระทาผิดทางเพศต่อเด็ ก
ใช้ เด็ กทาในลักษณะน่าเป็ นอั นตรายแก่ร่างกายจิ ตใจ
ใช้ เด็ กกระทาขัดต่อกฎหมายหรือศี ลธรรม
*** ไม่ว่าเด็กยินยอมหรือไม่
โครงสร้าง
พรบ.คุ้มครองเด็ก พ.ศ.๒๕๔๖
มาตรการคุ้มครองเด็กต่ากว่า๑๘ ปี ผูม้ หี น้าที่ค้มุ ครองเด็ก
คุ้มครอง ส่งเสริมความ บิดามารดา ผูม้ หี น้าที่ค้มุ ครอง
สงเคราะห์
ผูป้ กครอง สวัสดิภาพเด็ก
สวัสดิภาพ ประพฤติ
พนักงาน ปลัดกระทรวง,ผวจ
เด็กยากไร้
ถูก นักเรียน เจ้าหน้าที่ ผ.กทม,นายอาเภอ,
เด็ก
ผูป้ กครอง
ทารุณ นักศึกษา ที่ รมต. ผข,ผ.อบต,ผ.อบจ
เสี่ยง
ไม่เหมาะ
กรรม ดาเนินคดี แต่งตั้ง นายกเทศมนตรี
หลักการเบื้องต้นในการดาเนินงานคุ้มครองสวัสดิภาพ
ผูถ้ กู กระทาด้วยความรุนแรงในครอบครัวของสหวิชาชีพ
หลักคิดเบื้องต้ นในการคุ้มครองสวัสดิ ภาพผูถ
้ กู กระทา
ด้วยความรุนแรงในครอบครัว
ปัญหาครอบครัวเป็ นเรื่องละเอี ยดอ่ อน สหวิชาชีพต้องใช้
ความระมัดระวัง และใช้ดุลยพินิจในการคุ้มครองสวัสดิภาพ
อย่างสูง
 การแทรกแซงของรัฐและสหวิชาชีพ ในการคุ้มครองสวัสดิ
ภาพ ต้องคานึงถึงสิทธิส่วนบุคคลของผูถ้ กู กระทาด้วยความ
รุนแรงในครอบครัวก่อน เว้นแต่จะมีภัยที่ไม่อาจก้าวล่วงได้

หลักการเบื้องต้นในการดาเนินงานคุ้มครองสวัสดิภาพ
ผูถ้ กู กระทาด้วยความรุนแรงในครอบครัว (ต่อ)
ข้อควรคานึงเบื้องต้น
พิจารณา
๒ ประเด็น ว่าเป็ นความรุนแรงในครอบครัว
“บุคคลในครอบครัว” เป็ น “ความรุนแรงในครอบครัว”
ถ้าผูถ
้ กู กระทาเป็ นเด็ก ให้นาพรบ.คุ้มครองเด็ก มาใช้บังคับ
ส่วนมากผูถ
้ กู กระทาจะขอความช่วยเหลือจาก ๓ หน่วยงาน
สถานพยาบาล-สถานีตารวจ-หน่วยงาน พม.
ให้แจ้ งพนักงานเจ้ าหน้าที่ และประสานงานส่งต่ อความ
ช่วยเหลือคุ้มครองระหว่างกัน
กรณีท่ี ๑
ถ้าท่านเป็ นพนักงานเจ้ าหน้าที่ได้ รับแจ้ งจาก
แม่ว่าที่บา้ นมีการกระทาความรุนแรงใน
ครอบครัว โดยพ่อได้ใช้เข็มขัดฟาดตีลกู สาว
จนหลังมีบาดแผลปริแตกและขังลูกสาวไว้ใน
ห้องนอน เพราะโกรธที่ลกู สาวหนีเที่ยวตอน
กลางคืนและกลับมาในตอนเช้า
ท่านจะดาเนินการอย่างไร
กรณีท่ี ๒
ถ้าท่านเป็ นพนักงานเจ้ าหน้าที่ได้ รับการ
ประสานงานจาก OSCC ว่ามีผูป้ ่ วยถูกทาร้าย
ใบหน้าปูดบวมมีแผลแตก แจ้งว่าถูกสามีทบุ
ตีเป็ นประจาไม่กล้ากลับบ้านเพราะกลัวถูกทา
ร้ายซ้า และไม่ประสงค์จะดาเนินคดีแต่ขอให้
ช่วยเหลือคุ้มครองไม่ให้สามีทาร้ายอี ก
ท่านจะดาเนินการอย่างไร
กรณีที่ ๓
แจ้งประสานมายังท่านซึ่งเป็ น
พนักงานเจ้าหน้าที่ ว่าแม่พาลูกสาวอายุ ๑๔
ปี เศษมาตรวจครรภ์ พบว่าลูกสาวตั้งครรภ์
แม่ไม่กล้าแจ้งความดาเนินคดีเพราะพ่อเลี้ยง
เป็ นผูก้ ระทาชาเราลูกเลี้ยง และกลัวถูกทาร้าย
ทั้งแม่และลูก ขอให้ท่านช่วยเหลือคุ้มครอง
ด้วย ท่านจะดาเนินการอย่างไร
OSCC
กรณีที่ ๔
ถ้าท่านเป็ นพนักงานเจ้ าหน้าที่ได้ รับกาประสานงาน
จากพนักงานสอบสวนว่ามีภรรยาที่ถกู สามีทาร้าย
ร่างกายเป็ นประจาทุกครั้งที่สามีเมา มาขอถอนคา
ร้องทุกข์ไม่ประสงค์จะดาเนินคดีต่อไป เพราะตกลง
กันได้แล้วว่าสามีจะเลิกเสพสุรายาเสพติด ขอให้
ท่านช่วยไกล่เกลี่ยทาบันทึกก่อนการยอมความ เพือ่
ป้องกันไม่ให้ทาร้ายกันอี ก ท่านจะดาเนินการอย่างไร
แนวทางการปฏิ บัติงาน
ของพนักงานเจ้าหน้าที่
ผังการบังคับใช้มาตรการในการคุ้มครองสวัสดิภาพเด็ก สตรี และบุคคลในครอบครัว
-บุคคลในครอบครัว
-กระทาความรุนแรงฯ
ความรุนแรง
ในครอบครัว
สถานพยาบาล
ศูนย์ปฏิบตั ิการ,ศูนย์
ประชาบดี ๑๓๐๐,พม.
oscc
ไม่ร้องทุกข์
คุ้มครองเด็กตาม
พรบ.คุ้มครองเด็ก ๒๕๔๖
พนักงานเจ้าหน้าที่ค้มุ ครองเบื้องต้น
-คุ้มครองสวัสดิภาพเด็ก
ร้องขอศาลสั่ง
ส่งศูนย์
-ร้องขอคุ้มครองสวัสดิ
คุ้มครองสวัสดิภาพ ให้คาปรึกษา ภาพตาม ม.๗
ม.๗ ตาม พรบ.
แนะนา
-คุ้มครองชั่วคราว
ศาลเยาวชนม.
ขอยืมใช้ ม.๑๒ ระหว่างคดี ม.๑๐,๑๑
๑๗๒,๑๗๙
-ทาบันทึกข้อตกลงปรับ
พฤติกรรมม.๑๒
ตารวจ,
ฝ่ ายปกครอง
ร้องทุกข์
ดาเนินคดี
สอบสวน
อั ยการ
ศาล
ลงโทษ/ใช้มาตรการ
แทนการลงโทษ ม.๑๒
บทบาทพนักงานเจ้าหน้าที่
คุ้มครองเบื้องต้น คุ้มครองระหว่างคดี ปรับพฤติกรรม
(ม.๕,๖,๗,๙)
(ม.๑๒)
(ม.๑๐,๑๑)
รับแจ้งเหตุ
ประมวลข้อเท็จจริง รับแจ้งยอมความ
สืบค้นข้อเท็จจริง ขอพนจ.ชั้นผูใ้ หญ่ ช่วยไกล่เกลี่ย
ให้ได้รับการรักษา ขอศาลสั่งคุ้มครอง ช่วยทาข้อตกลง
ให้ได้รับการปรึกษา ติดตาม/รายงาน ติดตามรายงาน
แจ้งสิทธิ ,ร้องทุกข์,ขอศาล ประสานงาน
ประสานงาน
แนวทางการปฏิ บัติงานของพนักงานเจ้าหน้าที่ในการ
คุ้มครองผูถ้ กู กระทาด้วยความรุนแรงในครอบครัว
๑.การดาเนินงานคุ้มครองเบื้องต้น
๑.๑ รับแจ้งเหตุ (ม.๕/เด็ก ม.๒๙)
-บันทึกรายละเอี ยดที่รับแจ้ง (ถ้าเป็ นเด็กประสานงานกับ
พนักงานคุ้มครองเด็ก)
-ประเมินสถานการณ์เบื้องต้น
๑.๒ ดาเนินการคุ้มครองเบื้องต้น (ม.๖/เด็ก ม.๔๑,๔๒,๔๓)
-สืบค้นข้อเท็จจริง/เข้าไปในเคหสถาน (คร.๕,คร.๖)
-จัดให้มกี ารตรวจรักษาทางร่างกายและจิตใจ
-จัดให้ได้รับการปรึกษาแนะนาจากจิตแพทย์,นักจิต,นักสังคม
การดาเนินงานคุ้มครองเบื้องต้น(ต่อ)
๑.๓ แจ้งสิทธิแก่ผูถ้ กู กระทาด้วยความรุนแรงในครอบครัว
-สิทธิ ที่จะรับการคุ้มครองบรรเทาทุกข์ป้องกันถูกกระทาซ้า
-สิทธิ ที่ร้องทุกข์ หรือให้พนักงานเจ้าหน้าที่ร้องทุกข์แทน
-สิทธิ ที่จะร้องขอศาลเยาวชนฯคุ้มครองสวัสดิภาพ
(หมวด ๑๕ ม.๑๗๒,๑๗๙)
-สิทธิ ท่ีจะได้รับค่าตอบแทนผูเ้ สียหาย
๑.๔ ประสานงาน/ติดตาม/รายงานผล(ระเบียบข้อ๕,๑๓,๑๕)
-ประสานงานกับสหวิชาชีพและหน่วยงานอื่ นที่เกี่ยวข้อง
-ประมวลข้อเท็จจริง(คร.๗) ส่งศูนย์ปฏิบัติการ/พนส.
-ติดตามและรายงานผล
๒.พิจารณาดาเนินการป้องกันการกระทาซ้า
ตามมาตรการคุ้มครองสวัสดิภาพ
๒.๑ มาตรการบรรเทาทุกข์ช่ัวคราว
(มาตรา ๑๐,๑๑ พรบ.คุ้มครองผูถ้ กู กระทาฯ)
๒.๒ มาตรการคุ้มครองเด็กถูกทารุณกรรม
(มาตรา ๔๑,๔๒ ประกอบ ม.๓๓-๓๗,๔๓)
๒.๓ มาตรการคุ้มครองสวัสดิภาพ
(พรบ.ศาลเยาวชนฯ หมวด ๑๕ มาตรา ๑๗๒,๑๗๙
และข้อบังคับประธานศาลฎีกา)
การดาเนินการคุ้มครองสวัสดิภาพป้องกันการกระทาซ้า
๑. กรณีมีความจาเป็ นเร่งด่วนต้องคุ้มครองสวัสดิภาพ
(๑) ถ้าผูถ้ กู กระทาฯไม่ได้ร้องทุกข์
-แนะนาให้ผูถ้ กู กระทาฯยื่ นคาร้องขอต่อศาลเยาวชนฯสั่ง
คุ้มครองสวัสดิภาพแบบ คส.๑,คส.๒,คส.๓(แบบฉุกเฉิน)
หรือยื่ นแทนกรณีผูถ้ กู กระทาฯไม่อยู่ในสภาพหรือวิสัยที่จะร้อง
ขอได้ (พรบ.ศาลเยาวชนฯ หมวด ๑๕ มาตรา ๑๗๒,และ
ข้อบังคับประธานศาลฎีกา)
-ติดตาม ประเมินผล และรายงานผลการปฏิ บตั ิตามคาสั่งศาล
กรณีมีความจาเป็ นเร่งด่วนต้องคุ้มครองสวัสดิภาพ(ต่อ)
(๒) ถ้าผูถ้ กู กระทาฯได้ร้องทุกข์แล้ว
-ประสานงานกับพนักงานสอบสวน/ประมวลข้อเท็จจริงตามแบบ
คร.๗/ร้องขอต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ชั้นผูใ้ หญ่กาหนดมาตรการ
บรรเทาทุกข์ตาม ม.๑๐(คร.๘)
-ขอให้พนักงานสอบสวนแจ้งคาสั่งตาม ม.๑๐(คร.๘)
-แนะนาผูถ้ กู กระทาฯยื่ นคาร้องขอต่อศาลเยาวชนฯสั่งคุ้มครอง
สวัสดิภาพ หรือยื่ นแทนตามแบบ คส.๑,คส.๒,คส.๓(แบบ
ฉุกเฉิน)(พรบ.ศาลเยาวชนฯ หมวด ๑๕ มาตรา๑๗๒)
-ติดตาม ประเมินผล และรายงานผลการปฏิ บตั ิตามคาสั่ง
การดาเนินการคุ้มครองสวัสดิภาพป้องกันการกระทาซ้า
๒. การคุ้มครองสวัสดิภาพกรณีไม่เร่งด่วน
(๑) ถ้าผูถ้ กู กระทาฯไม่ได้ร้องทุกข์
-แนะนาให้ผูถ้ กู กระทาฯยื่ นคาร้องขอต่อศาลเยาวชนฯสั่ง
คุ้มครองสวัสดิภาพแบบ ค.๑(แบบคุ้มครองสวัสดิภาพ)
หรือแบบ ค.๒(แบบวาจา) หรือยื่ นแทนกรณีผูถ้ กู กระทาฯไม่
อยู่ในสภาพหรือวิสัยที่จะร้องขอได้ (พรบ.ศาลเยาวชนฯ
หมวด ๑๕ มาตรา ๑๗๒,ข้อบังคับประธานศาลฎีกา)
-กรณีความผิดไม่ร้ายแรงและคู่กรณียินยอม จัดให้มีการไกล่
เกลี่ยกาหนดเงื่อนไขปรับพฤติกรรม(ระเบียบข้อ๖)
การคุ้มครองสวัสดิภาพกรณีไม่เร่งด่วน(ต่อ)
(๒) ถ้าผูถ้ กู กระทาฯได้ร้องทุกข์แล้ว
(๒.๑)ร้องขอต่อศาลกาหนดมาตรการบรรเทาทุกข์ตาม ม.๑๑
(ทั้งชั้นสอบสวนและชั้นพิจารณาคดี )
-ประมวลข้อเท็จจริงตามแบบ คร.๗ แล้วร้องขอต่อศาล
-ขอให้พนักงานสอบสวนแจ้งคาสั่งตาม ม.๑๑
(๒.๒)แนะนาให้ผูถ้ กู กระทาฯยื่ นคาร้องขอต่อศาลเยาวชนฯสั่ง
คุ้มครองสวัสดิภาพหรือยื่ นแทนตามแบบ คส.๑,คส.๒,
คส.๓(พรบ.ศาลเยาวชนฯ หมวด ๑๕ มาตรา ๑๗๒)
-ติดตาม ประเมินผล และรายงานผลการปฏิ บตั ิตามคาสั่ง
๓.พิจารณาใช้มาตรการปรับพฤติกรรมผูก้ ระทา
ความรุนแรงในครอบครัว
๓.๑ กรณีมีการยอมความหรือถอนคาร้องทุกข์ชั้นสอบสวน
-พนส.อาจขอให้พนจ.เป็ นผูไ้ กล่เกลี่ย(ม.๑๖)
-พนจ.ทาการไกล่เกลี่ยเองหรืออาจตั้งคณะผูไ้ กล่เกลี่ย
กาหนดเงื่อนไข (ม.๑๖,ระเบียบข้อ๖)
-ในระยะเริ่มต้นของการไกล่เกลี่ยไม่ควรให้ค่กู รณีเผชิญหน้ากัน
ควรเจรจาคนละครั้ง
-เป็ นคนกลางประสานการเจรจาตามข้อเสนอเงื่อนไขและข้อ
ต่อรองของคู่กรณี แล้วกาหนดเป็ นเงื่อนไขข้อตกลงในการ
ปรับพฤติกรรมตามความยินยอมของคู่กรณี(คร.๙)
กรณีมีการยอมความหรือถอนคาร้องทุกข์ชั้นสอบสวน(ต่อ)
(๑) กรณีตกลงกันไม่ได้ ให้ทาบันทึกรายงานให้พนส.ทราบ
(๒) กรณีตกลงกันได้ให้จัดทาสัญญายอมความ(คร.๙) มอบ
ให้พนส.ไปจัดทาบันทึกข้อตกลง(คร.๑๐) (ระเบียบข้อ๕,๗)
-ติดตาม และรายงานผลการปฏิ บตั ิตามเงื่อนไขข้อตกลง
ให้พนส.ทราบ เพือ่ ดาเนินการต่อไป(ระเบียบข้อ๘)
-ถ้าผูก้ ระทาฯฝ่ าฝื นไม่ปฏิ บตั ิตามเงื่อนไขข้อตกลง พนส.
ต้องยกคดีข้ ึนดาเนินการต่อไป
-ถ้าผูก้ ระทาฯปฏิ บตั ิตามเงื่อนไขข้อตกลงครบถ้วน พนส.
ต้องพิจารณายุติคดี เสนอให้พนักงานอั ยการสั่งต่อไป
แนวทางการปฏิ บัติงาน
ของบุคลากรทางการแพทย์
ผังบทบาทบุคลากรทางการแพทย์ค้มุ ครองเด็ก/ผูถ้ กู กระทาด้วยความรุนแรงในครอบครัว
พรบ.คุ้มครอง
เด็ก ๔๖
ความรุนแรง
พรบ.คุ้มครอง
ผูถ้ กู กระทาฯ ๕๐
บทบาทบุคลากรทางการแพทย์
คดีอาญา
แจ้ง
พนักงาน
สอบสวน
เยียวยา กาย-จิต
คุ้มครองสวัสดิภาพ
ผูถ้ กู กระทา ผูก้ ระทา *แจ้งพนักงาน
เจ้าหน้าที่ค้มุ ครอง
เก็บ ตรวจรักษา
-เด็ก ม.๒๙,๔๒
ความ ฟื้ นฟู บาบัด
-ผูถ้ กู กระทา ม.๕,๖
ลับ ปรึกษาแนะนา
แนวปฏิบัติสาหรับบุคลากรทางการแพทย์ในการคุ้มครอง
สวัสดิภาพเด็กและผูถ้ กู กระทาด้วยความรุนแรงในครอบครัว
การเฝ้าระวังและแจ้ งเหตุต่อพนักงานเจ้ าหน้าที่
การรักษาพยาบาลเด็ กหรือผูถ
้ กู กระทาด้วยความรุนแรงใน
ครอบครัว
การให้คาปรึกษาแนะนาป
ั ญหาด้านความรุนแรงในครอบครัว
การตรวจรักษาผูก
้ ระทาความรุนแรงในครอบครัวตามคาสั่ง
พนักงานเจ้าหน้าที่ชั้นผูใ้ หญ่หรือศาล
การฟื้ นฟู บาบัดรักษาผูก
้ ระทาความรุนแรงในครอบครัว
การให้ข้อมูลด้ านสุขภาพของเด็ ก/ผูถ
้ กู กระทาฯ/ผูก้ ระทาฯ
การให้ข้อมูลด้านสุขภาพของเด็ก ผูถ้ กู กระทาด้วยความรุนแรง
ในครอบครัว และ ผูก้ ระทาความรุนแรงในครอบครัว
 ต้องปฏิ บัติตามพรบ.สุขภาพแห่งชาติ
พ.ศ. ๒๕๕๐ มาตรา ๗ และ
ตามพรบ.ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ.๒๕๔๐ ม.๒๔(๖),(๘))
 ข้อมูลด้ านสุขภาพของผูป
้ ่ วยถือว่าเป็ นความลับส่วนบุคคลห้ามเปิ ดเผย
เว้นแต่ เปิ ดเผยเฉพาะในส่วนที่ไม่ทาให้บคุ คลนั้นเสียหาย
ได้รับความยินยอมเป็ นหนังสือจากบุคคลนั้นโดยตรง
มีกฎหมายเฉพาะบัญญัติให้ต้องเปิ ดเผย
-เป็ นการเปิ ดเผยต่อการสืบสวน การสอบสวน การฟ้องคดี หรือมีคาสั่งศาล
-การให้ถ้อยคาหรือข้อมูลด้านสุขภาพของเด็กที่ถกู ทารุณกรรมหรือเจ็บป่วย
เนื่องจากการเลี้ยงดูโดยไม่ชอบ เฉพาะต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ หรือผูม้ หี น้าที่
คุ้มครองสวัสดิภาพเด็ก ตามกฎหมายคุ้มครองเด็ก
แนวทางการปฏิ บัติงาน
ของพนักงานสอบสวน
ผังบทบาทพนักงานสอบสวนในการคุ้มครองเด็ก/ผูถ้ กู กระทาด้วยความรุนแรงในครอบครัว
บุคคลในครอบครัว
กระทาความรุนแรงฯ
ความรุนแรง
ในครอบครัว
คุ้มครองเด็กตาม
พรบ.คุ้มครองเด็ก ๔๖
บทบาทพนักงานสอบสวน
ดาเนินคดีอาญา
ร้องทุกข์
คุ้มครองสวัสดิภาพ ร้องขอคุ้มครองสวัสดิภาพ
เบื้องต้น
สอบสวน
กันทาซ้า
เขตศาล
จัดทาบันทึก
ข้อตกลง
*ร้องขอคุ้มครองสวัสดิ ภาพ
-เด็ก ม.๔๒,๔๓
-ผูถ้ กู กระทาฯ ม.๑๐,๑๑
-ม.๑๗๒,๑๗๙
ผังแสดงเขตอานาจศาลคดีความรุนแรงในครอบครัว
๑) กระทาความรุนแรงฯ(ม.๔)
ศาลเยาวชน
๒) ความรุนแรง+ม.๓๙๑
ศาลเยาวชน
๓) ความรุนแรง+ม.๒๙๕
ศาลแขวง
๔) ความรุนแรง+ม.๒๙๗
ศาลจังหวัด,อาญา
๕) ทหารทารุนแรง+โทษไม่สงู กว่า
ศาลเยาวชน
๖) ทหารทารุนแรง +โทษสูงกว่า
ศาลทหาร
๗) เด็กทาความรุนแรงฯ
ศาลเยาวชน
**ศาลอื่ นให้ใช้บทบัญญัติตาม พ.ร.บ.นี้โดยอนุโลม
แนวทางการปฏิ บัติงานของพนักงานสอบสวน
ในการดาเนินคดีความรุนแรงในครอบครัว
๑. การพิจารณาข้อเท็จจริงเบื้องต้น
(๑) เป็ นคดีความรุนแรงในครอบครัวหรือไม่
(๒) มีการร้องทุกข์หรือไม่
๒. เมือ่ มีการร้องทุกข์ภายในอายุความ
(๑) แจ้งสิทธิให้ผูถ้ กู กระทาฯทราบ
(๒) แจ้งให้ศูนย์ปฏิบตั ิการทราบ
๓. ดาเนินการสอบสวน
(๑) สอบปากคาผูถ้ กู กระทาฯ
(๒) สอบปากคาเด็กอายุไม่เกิน ๑๘ ปี ปฏิบัติตาม ป.วิ.อาญา
แนวทางการปฏิบัติงานของพนักงานสอบสวน
ในการดาเนินคดีความรุนแรงในครอบครัว (ต่อ)
๔. การแจ้งข้อกล่าวหาและสอบปากคาผูต้ ้องหาให้ครบถ้วน
๕. พิจารณาเขตอานาจศาล
๖. พิจารณาเรื่องการผัดฟ้อง-ฝากขัง
๗. พิจารณาใช้มาตรการคุ้มครองสวัสดิภาพผูถ้ กู กระทาด้วย
ความรุนแรงในครอบครัว
๘. การยอมความในชั้นสอบสวน
-จัดทาบันทึกข้อตกลงปรับพฤติกรรมผูก้ ระทาฯ
๙. สรุปสานวนพร้อมความเห็นส่งพนักงานอั ยการ
แนวทางการปฏิ บัติงานของพนักงานสอบสวนในการ
คุ้มครองผูถ้ กู กระทาด้วยความรุนแรงในครอบครัว
๑.ผูถ้ กู กระทาฯแจ้งขอความช่วยเหลือแต่ไม่ร้องทุกข์
-รับแจ้งเหตุ (ม.๕/เด็ก ม.๒๙)
-ประสานงานกับพนักงานเจ้าหน้าที่(ถ้าเป็ นเด็กประสานงานกับ
พนักงานคุ้มครองเด็กด้วย) ดาเนินการคุ้มครองเบื้องต้น
-จัดให้มีการตรวจรักษา/รับการปรึกษาแนะนาจากจิตแพทย์
,นักจิต,นักสังคม
-แนะนาให้ผูถ้ กู กระทาฯยื่ นคาร้องขอต่อศาลเยาวชนฯสั่ง
คุ้มครองสวัสดิภาพหรือยื่ นแทนถ้าผูถ้ กู กระทาไม่อยู่ในสภาพ
หรือวิสัยที่จะยื่ นเองได้ ตามแบบคส.๑,คส.๒,คส.๓(ฉุกเฉิน)
แนวทางการปฏิบัติงานของพนักงานสอบสวนฯในการ
คุ้มครองสวัสดิภาพ(ต่อ)
๒.ผูถ้ กู กระทาฯร้องทุกข์ดาเนินคดี
-ประสานงานกับพนักงานเจ้าหน้าที่ดาเนินการคุ้มครองเบื้องต้น
-จัดให้มีการตรวจรักษา/รับการปรึกษาแนะนาจากจิตแพทย์,
นักจิต,นักสังคม
–ร้องขอต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ชั้นผูใ้ หญ่กาหนดมาตรการ
บรรเทาทุกข์ป้องกันการกระทาซ้า ตาม ม.๑๐(คร.๘)
-แนะนาผูถ้ กู กระทายื่ นคาร้องขอต่อศาลเยาวชนฯสั่งคุ้มครอง
สวัสดิภาพ หรือยื่ นแทนถ้าผูถ้ กู กระทาไม่อยู่ในสภาพหรือวิสัย
แนวทางการปฏิบัติงานของพนักงานสอบสวนฯในการ
คุ้มครองสวัสดิภาพ(ต่อ)
๓.กรณีมีการยอมความหรือถอนคาร้องทุกข์ชั้นสอบสวน
-พนส.อาจทาการไกล่เกลี่ย/ขอให้พนจ.ทาการไกล่เกลี่ย
(๑) กรณีตกลงกันไม่ได้ ให้ทาบันทึกและลงปจว.
(๒) กรณีตกลงกันได้ให้จัดทาบันทึกข้อตกลง(คร.๑๐)
-แจ้งพนจ.ติดตามและรายงานผลการปฏิบัติตามข้อตกลง
-ถ้าผูก้ ระทาฯฝ่ าฝื นไม่ปฏิ บตั ิตามเงื่อนไขข้อตกลง พนส.
ต้องยกคดีข้ ึนดาเนินการต่อไป
-ถ้าผูก้ ระทาฯปฏิ บตั ิตามเงื่อนไขข้อตกลงครบถ้วน พนส.
ต้องพิจารณายุติคดี เสนอให้พนักงานอั ยการสั่งต่อไป
แนวทางการปฏิ บัติงาน
ของพนักงานอั ยการ
ผังบทบาทพนักงานอั ยการในการคุ้มครองเด็ก/ผูถ้ กู กระทาด้วยความรุนแรงในครอบครัว
บุคคลในครอบครัว
กระทาความรุนแรงฯ
ความรุนแรง
ในครอบครัว
คุ้มครองเด็กตาม
พรบ.คุ้มครองเด็ก ๔๖
บทบาทพนักงานอั ยการ
คุ้มครองสิทธิ
และช่วยเหลือทางกฎหมาย
ดาเนินคดีอาญา
โจทก์
แก้ต่าง
สนับสนุน
การบังคับใช้มาตรการ
อบรม คุ้มครอง เผยแพร่ *ร้องขอศาลสั่งคุ้มครอง
สิทธิ
-เด็ก ม.๔๒,๔๓
ปรึกษา ทางศาล ไกล่
-ผูถ้ กู กระทาฯ ม.๑๐,๑๑
เกลี่ย *ขอศาลเยาวชน ม.๑๗๒,๑๗๙
สนับสนุน
สหวิชาชีพ
-ที่ปรึกษา
/อบรม กม.
แนวทางการปฏิ บัติงานของพนักงานอั ยการ
ในการดาเนินคดีความรุนแรงในครอบครัว
๑. การตรวจสานวนการสอบสวน
พิจารณาเรื่องเขตอานาจศาล
๑.๒ พิจารณาเรื่องการร้องทุกข์
๑.๓ พิจารณาเรื่องการผัดฟ้อง/ฝากขัง(ถ้ามี)
๑.๔ พิจารณาเรื่องการแจ้ งข้อหา/องค์ประกอบความผิด
๑.๕ พิจารณาเรื่องการสอบปากคาผูถ
้ กู กระทาฯ
๑.๖ พิจารณาเรื่องการยอมความ/ถอนคาร้องทุกข์
๑.๑
แนวทางการปฏิบัติงานของพนักงานอั ยการ
ในการดาเนินคดีความรุนแรงในครอบครัว(ต่อ)
๒. การตรวจพิจารณาข้อเท็จจริงเป็ นที่ยุติ
และการทาความเห็นหรือคาสั่ง
๓. การบรรยายฟ้อง
ต้องครบองค์ประกอบ
โดยเฉพาะนิยาม“บุคคลในครอบครัว”
“ความรุนแรงในครอบครัว”/เห็นพฤติการณ์ความรุนแรง
ต้องบรรยายว่ามีการร้องทุกข์ตามกฎหมายแล้ว
ต้ องบรรยายว่าท้องที่เกิดเหตุไม่มี พนจ.ซึ่ งได้ รับมอบหมาย
จาก รมต.พม.ให้เป็ นพนักงานสอบสวนตาม ป.วิอาญา
แนวทางการปฏิบัติงานของพนักงานอั ยการ
ในการดาเนินคดีความรุนแรงในครอบครัว(ต่อ)
๔.การฟ้อง/การพิจารณา/การพิพากษาคดี
ต้องฟ้องต่อศาลตามเขตอานาจ(ม.๘)
การพิจารณาคดี ต้องดาเนินการตามกระบวนการของศาล
ที่มเี ขตอานาจ
การพิจารณาอุทธรณ์ฎีกาคาพิพากษา ให้ปฏิ บต
ั ิตามระเบียบ
สานักงานอั ยการสูงสุดว่าด้วยการดาเนินคดีอาญาของ
พนักงานอั ยการ
แนวทางการปฏิ บัติงานของพนักงานอั ยการในการ
คุ้มครองผูถ้ กู กระทาด้วยความรุนแรงในครอบครัว
๑. สนับสนุนการบังคับใช้มาตรการตาม พรบ.คุ้มครอง
ผูถ้ กู กระทาด้วยความรุนแรงในครอบครัว พ.ศ.๒๕๕๐
สนับสนุนการบังคับใช้มาตรการบรรเทาทุกข์ผูถ
้ กู กระทาด้วย
ความรุนแรงในครอบครัว ตามมาตรา ๑๐,๑๑
สนับสนุนการบังคับใช้มาตรการปรับพฤติกรรมผูก
้ ระทา
ความรุนแรงในครอบครัว ตามมาตรา ๑๒
สนับสนุนการไกล่เกลี่ยประนีประนอมให้ค่ก
ู รณีความรุนแรง
ในครอบครัวได้ยอมความกัน ตามมาตรา ๑๒,๑๕
แนวทางการปฏิบัติงานของพนักงานอั ยการในการ
คุ้มครองผูถ้ กู กระทาด้วยความรุนแรงในครอบครัว(ต่อ)
๒.ตามอานาจที่กาหนดไว้ในพรบ.ศาลเยาวชนและ
ครอบครัว ฯ พ.ศ.๒๕๕๓ (หมวด ๑๕)
ร้องขอคุ้มครองสวัสดิ ภาพแทนผูถ
้ กู กระทาด้วยความรุนแรง
ในครอบครัวต่อศาลเยาวชนและครอบครัว(ม.๑๗๒)
(ผูถ้ กู กระทาฯ ไม่อยู่ในสภาพหรือวิสัยที่จะร้องขอได้)
ร้องขอคุ้มครองสวัสดิ ภาพแทนเด็ กทีถก
ู ปฏิ บตั ิโดยมิชอบต่อ
ศาลเยาวชนและครอบครัว (ม. ๑๗๙ ประกอบ ม.๑๗๒)
(เด็กหรือผูป้ กครองไม่อยู่ในสภาพหรือวิสัยที่จะร้องขอได้)
แนวทางการปฏิบัติงานของพนักงานอั ยการในการ
คุ้มครองผูถ้ กู กระทาด้วยความรุนแรงในครอบครัว(ต่อ)
๓. ตามอานาจที่กาหนดไว้ในพรบ.คุ้มครองเด็ก พ.ศ.
๒๕๔๖ (หมวด ๔)
ยื่ นคาร้องขอต่ อศาลเยาวชนและครอบครัวสั่งขยายระยะเวลา
สืบเสาะและพินิจเพือ่ คุ้มครองสวัสดิภาพเด็กที่ถกู ทารุณกรรม
(มาตรา ๔๒)
ร้องขอให้ศาลเยาวชนและครอบครัวกาหนดมาตรการ
คุ้มครองสวัสดิภาพเด็กเพือ่ ป้องกันผูป้ กครองหรือญาติของ
เด็กทาทารุณกรรมเด็กซ้า (มาตรา ๔๓)
แนวทางปฏิบัติของพนักงานอั ยการในการคุ้มครองสิทธิ
มนุษยชนและการช่วยเหลือทางกฎหมายแก่ประชาชน
ให้คาปรึกษาทางกฎหมายแก่ผูถ
้ กู กระทาด้วยความรุนแรงใน
ครอบครัว
ให้คาปรึกษาทางกฎหมายแก่พนักงานเจ้ าหน้าที่ หรือ
หน่วยงานของรัฐ
ประนอมข้อพิพาทความรุนแรงในครอบครัวที่ยอมความได้
ยื่ นคาร้องต่ อศาลตามกฎหมายแพ่งที่บญ
ั ญัติให้เป็ นอานาจ
หน้าที่ของพนักงานอั ยการ
เผยแพร่ความรู้ทางกฎหมายแก่ประชาชน
บทบาทของศาล
ในการดาเนินคดีและการคุ้มครองเด็ก
และผูถ้ กู กระทาด้วยความรุนแรงในครอบครัว
บทบาทของศาลในการดาเนินคดี
ความรุนแรงในครอบครัว
๑.ศาล(ศาลเยาวชนและครอบครัวและศาลอื่ น) มีอานาจ
พิจารณาพิพากษาคดี ในความผิดฐานกระทาความรุนแรงใน
ครอบครัว (มาตรา ๔,๘)
พิจารณาพิพากษาคดี ในความผิดฐานโฆษณาเผยแพร่
ทางสื่อมวลชนฯ (มาตรา ๙ /หกเดือน-หกหมืน่ )
เปรียบเทียบให้ค่ค
ู วาม ได้ยอมความกัน (มาตรา ๑๕)
กาหนดมาตรการปรับพฤติ กรรมผูก
้ ระทาความรุนแรงใน
ครอบครัวแทนการลงโทษ (มาตรา ๑๒ วรรคหนึ่ง)
บทบาทของศาลในการดาเนินคดีทารุณกรรมเด็ก
ตาม พรบ.คุ้มครองเด็ก ๔๖
๒.ศาล(ศาลเยาวชนและครอบครัวและศาลอื่ น) มีอานาจ
พิจารณาพิพากษาคดี ในความผิดฐานกระทามิชอบต่อเด็ ก
(มาตรา ๒๖,๗๘ /สามเดือน-สามหมืน่ )
พิจารณาพิพากษาคดี ในความผิดฐานโฆษณาเผยแพร่
ทางสื่อมวลชนฯ (มาตรา ๒๗,๗๙ /หกเดือน-หกหมืน่ )
คดี อาญาแผ่นดิ น ยอมความไม่ได้
บทบาทของศาลในการคุ้มครองสวัสดิภาพเด็ก
และผูถ้ กู กระทาด้วยความรุนแรงในครอบครัว
๑.พรบ.คุ้มครองผูถ้ กู กระทาด้วยความรุนแรงในครอบครัว ๕๐
ศาลเยาวชนและครอบครัวและศาลอื่ น มีอานาจ
กาหนดมาตรการบรรเทาทุกข์ป้องกันการกระทาซ้ า ระหว่าง
การสอบสวนหรือการพิจารณาคดีได้ (ม.๑๑)
กาหนดมาตรการแทนการลงโทษผูก
้ ระทาความรุนแรง
ในครอบครัวได้ (ม.๑๒ ว.หนึ่ง)
จั ดให้มีการทาบันทึกข้อตกลงเบื้องต้ นก่อนการยอมความ
การถอนคาร้องทุกข์ หรือการถอนฟ้องได้ (ม.๑๒ ว.สอง)
บทบาทของศาลในการคุ้มครองสวัสดิภาพเด็ก
และผูถ้ กู กระทาด้วยความรุนแรงในครอบครัว (ต่อ)
๒.พรบ.ศาลเยาวชนและครอบครัวฯ ๕๓
ศาลเยาวชนและครอบครัว มีอานาจ
กาหนดมาตรการคุ้มครองสวัสดิ ภาพเด็ กที่ถก
ู กระทาโดยมิ
ชอบด้วยกฎหมายหรือผูถ้ กู กระทาด้วยความรุนแรงใน
ครอบครัว (หมวด ๑๕ มาตรา ๑๗๒-๑๗๙)
บทบาทของศาลในการคุ้มครองสวัสดิภาพเด็ก
และผูถ้ กู กระทาด้วยความรุนแรงในครอบครัว (ต่อ)
๓.พรบ.คุ้มครองเด็ก ๔๖
ศาลเยาวชนและครอบครัว มีอานาจ
่ คุ้มครองสวัสดิภาพเด็ก
สั่งขยายระยะเวลาสืบเสาะและพินิจเพือ
(ม.๔๒)
กาหนดมาตรการคุ้มครองสวัสดิ ภาพเด็ ก
ป้องกันผูป้ กครองหรือญาติเด็กทาทารุณกรรมซ้า (ม.๔๓)
ให้พจิ ารณากรณีศึกษาในประเด็นต่อไปนี้
กรณีดังกล่าวเป็ นความรุนแรงในครอบครัวหรือไม่
เพราะเหตุใด
ถ้าผูเ้ สียหายมาร้องทุกข์ให้ดาเนินคดี ท่านจะดาเนินการอย่ างไร
 ด้ านคดี และ ด้ านการคุ้มครองสวัสดิ ภาพให้แก่ผูเ้ สียหายและ
บุคคลอื่ น
ถ้าผูเ้ สียหายถอนคาร้องทุกข์ท่านต้องดาเนินการอย่ างไร
 ด้ านคดี และ ด้ านการคุ้มครองสวัสดิ ภาพให้แก่ผูเ้ สียหาย
ถ้าผูเ้ สียหายไม่ประสงค์จะดาเนินคดี ตั้งแต่แรกแต่ แจ้ งเหตุให้
ท่านช่วยเหลือไม่ให้มีการกระทาซ้ากับอี กท่านจะดาเนินการอย่ างไร
กรณีศึกษาความรุนแรงในครอบครัว ๑
๑.กรณีไม่ร้องทุกข์ ๒.กรณีร้องทุกข์ ๓.กรณีถอนคาร้องทุกข์
นายม้า อายุ ๓๕ ปี กับนางตา อายุ ๓๐ ปี อยู่กินฉันสามีภรรยา มี
บุตรด้ วยกั น ๑ คน อายุ ๒ ขวบ นางตาเป็ นผูท้ ามาหาเลี้ ยง
ครอบครัว ค้ าขายเบ็ดเตล็ ดอยู่ ที่บ้านและเลี้ ยงดูบุตรด้ วย ส่ วน
นายม้าไม่ประกอบอาชีพ ชอบเที่ยวเตร่เล่นการพนันและดื่ มสุราเป็ น
อาจิน ไม่ช่วยค้าขายและเลี้ยงดูบตุ ร เมื่อเล่นการพนันเงินหมด จะขู่
บังคั บเอาเงินจากนางตาบ่อยๆเพือ่ ไปเที่ยวเตร่เล่ นการพนัน หาก
นางตาไม่ให้เงิ นจะถูกทาร้ายร่างกายเป็ นประจา จนกระทั่ งวั นเกิ ด
เหตุ นางตาไม่มีเงินให้นายม้าจึงถูกทุบตีทาร้ายได้ รั บบาดเจ็บศีรษะ
แตก นางตาทนสภาพเช่นนี้ไม่ได้ จึงแจ้งเหตุต่อพนักงานเจ้าหน้าที่
กรณีศึกษาความรุนแรงในครอบครัว ๒
นางชบาอายุ ๓๔ ปี สมรสกับนายโมก อายุ ๓๙ ปี มีบตุ ร ๑
คนอายุ ๔ ขวบ มีปัญหาครอบครัว โดยก่อนหน้านี้นางชบาถูก
นายโมกขับไล่ออกจากบ้านเพราะนายโมกมีผูห้ ญิงอื่ นจึงหาเหตุ
ขับไล่นางชบา ทาให้นางชบาและบุตรได้รับความเดือดร้อนเพราะ
นางชบาไม่มีอาชีพอะไร ไม่มีรายได้ แต่ต้องเลี้ยงดูลกู ด้วยตนเอง
อี กทั้งลูกมีโรคประจาตัวต้องพบแพทย์ตามกาหนดนัด และมี
ปัญหาทางเศรษฐกิจ นางชบาจึงไปร้องทุกข์ พนักงานสอบสวน
เห็นว่าคดีขาดอายุความแล้วจึงไม่รับคาร้องทุกข์ แต่ได้ส่งต่อ
ขอให้พนักงานเจ้าหน้าที่ให้ความช่วยเหลือคุ้มครองตามกฎหมาย
กรณีศึกษาความรุนแรงในครอบครัว ๓
นางสวย อายุ ๒๕ ปี รับจ้างทางานมีรายได้ ๑๕๐ บาทต่อวัน
มีบตุ รชายกับสามีเก่า ๑ คน อายุ ๗ ปี อยู่กินกับนายหล่อ อายุ
๒๘ ปี อาชีพรับจ้าง นายหล่อเป็ นคนก้าวร้าว โมโหง่าย ไม่มี
เหตุผล ติดสุราและยาเสพติด ทั้งสองอยู่กินด้วยกันจนมีบตุ ร
สาว อายุ ๕ ขวบ ระหว่างที่อยู่ด้วยกัน นายหล่อได้ทาร้ายร่างกาย
นางสวยตลอดมา บางครั้งที่มกี ารทาร้าย บุตรทั้ง๒คนเข้าห้ามก็
โดนทาร้ายด้วย นายหล่อทาร้ายนางสวยรุนแรงขึ้นจนนางสวย
ต้องหนีออกจากบ้านมาแจ้งพนักงาเจ้าหน้าที่ ว่าต้องการเลิกกับ
นายหล่อและจะขอเอาบุตรทั้งสองมาเลี้ยง แต่นายหล่อไม่ยอม
กรณีศึกษาความรุนแรงในครอบครัว ๔
ฝ่ ายหญิงยังคบหาเพือ่ น
ชายที่สนิทด้วยอี กคน เมือ่ ฝ่ ายหญิงตั้งครรภ์ ฝ่ ายชายหาว่า
ไม่ใช่บตุ รของตน เมือ่ คลอดบุตร ฝ่ ายชายไม่ยอมรับว่าเป็ น
บุตรของตน ต่อมาภรรยาขอให้สามีไปตรวจดีเอ็ นเอด้วยกัน
ผลการตรวจเป็ นบุตรของทั้งคู่จริง ฝ่ ายชายจึงยอมรับและ
พาเมียและบุตรชายเข้าไปอยู่ในบ้านของพ่อแม่ตน พ่อแม่
ยอมรับบุตรแต่กลับตั้งรังเกลียดหาว่าแม่ของเด็กเป็ นผูห้ ญิง
ไม่ดีต้องการให้ลกู ชายแยกทาง จนลูกชายคล้อยตามขับไล่
ฝ่ ายหญิงออกจากบ้านไปโดยไม่ยอมให้เอาบุตรทีไปด้วย และ
ฟ้องขอเพิกถอนอานาจปกครองฝ่ ายหญิงและขอรับรองบุตร
ชายหญิงอยู่กินกันฉันสามีภรรยา
ฝ่ ายหญิงเทียวมาขอร้องให้ฝ่ายชายคืนลูกให้กับตน ได้รับ
การปฏิเสธแม้ฝ่ายหญิงจะขอเข้าไปให้นมลูกก็ไม่ได้ ไม่ยอมให้พบ
ลูก ฝ่ ายหญิงเพียรพยายามอย่างไรก็ไม่เป็ นผล จนเกิดอาการ
เครียด กินไม่ได้นอนไม่หลับ และเป็ นโรคกระเพาะ น้าหนักตัว
ลดลงไปประมาณสิบกิโลกรัม แพทย์ตรวจแล้วลงความเห็นว่า
เป็ นอาการที่ร่างกายปรับสมดุลไม่ได้ อั นเป็ นผลมาจาก
ความเครียด ฝ่ ายหญิงได้ไปขอความช่วยเหลือจากมูลนิธิที่
ทางานด้านครอบครัวช่วยหาทางเอาลูกคืนมา เจ้าหน้าที่มลู นิธิ
พาไปร้องทุกข์ดาเนินคดีความรุนแรงในครอบครัว
ในฐานะที่เป็ นพนักงานสอบสวนให้พจิ ารณาประเด็นต่อไปนี้
กรณีดังกล่าวเป็ นความรุนแรงในครอบครัวหรือไม่
เพราะเหตุใด
ถ้าผูเ้ สียหายมาร้องทุกข์ให้ดาเนินคดี กับผูก
้ ระทา ท่านจะ
ดาเนินการในด้านคดีอย่างไร และจะดาเนินการคุ้มครองสวัสดิ
ภาพให้ผูเ้ สียหายหรือบุคคลในครอบครัวอื่ นได้อย่ างไรบ้าง
ต่อมาผูเ้ สียหายได้ ขอถอนคาร้องทุกข์ ท่านต้องดาเนินการ
อย่างไรบ้าง ในด้านคดีและในด้านการคุ้มครองสวัสดิภาพ
ถ้าผูเ้ สียหายไม่ประสงค์จะร้องทุกข์ดาเนินคดี ตั้งแต่แรก แต่แจ้ ง
เหตุและขอให้ท่านช่วยเหลือคุ้มครองสวัสดิภาพไม่ถกู กระทาซ้า
อี ก ท่านจะดาเนินการอย่างไร