การเรียนรู้แท้

Download Report

Transcript การเรียนรู้แท้

ครูกบั การประกันคุณภาพ
Teacher : Quality Assurance
ดร.ตุนท์ ชมชื่น
มหาวิทยาลัยเชียงราย
1
บทบาทครูกบั การประกันคุณภาพการศึกษา
IQA
จัดระบบการเรียนการสอน
ในระบบคุณภาพ “CBL-Model”
มาตรฐานด้ านการเรียนการสอน
ร่ วมมือและมีส่วนร่ วมกับ
สถานศึกษา
ในจัดระบบประกันคุณภาพภายใน
2
บทบาทครูกบั การประกันคุณภาพการศึกษา (ต่ อ)
ร่ วมจัดทา SAR ของโรงเรียน
EQA
รับการตรวจเยีย่ มของ สมศ.
(ให้ ข้อมูลการดาเนินงานทีต่ นเอง
เกีย่ วข้ องตามความเป็ นจริง)
รับข้ อเสนอแนะมาแก้ ไข ปรับปรุง
(ภาระงานทีร่ ับผิดชอบ)
3
บทบาทหลักสาคัญของครูในการประกันคุณภาพ
การจัดระบบการเรียนการสอน(ให้ มคี ุณภาพ)
เพือ่ พัฒนาผู้เรียนให้ มคี ุณลักษณะ
ตามจุดหมายหลักสู ตรและมาตรฐานการศึกษา
4
คุณภาพ
การเรียนการสอน
คุณภาพ
การเรียนรู้ ผู้เรียน
คุณภาพของ
ระบบประกันคุณภาพ
5
ครู : คุณภาพสอน
คุณลักษณะของครู
จัดการเรียนรู้ Child Base
ประเมิน Authentic
คุณภาพการสอน
(QTc)
6
การเรียนการสอน : ระบบประกันคุณภาพ
เป้าหมาย(ชัดเจน)
คุณภาพ / มาตรฐาน
การเรียนรู้ ผู้เรียน
กระบวนการ
ระบบคุณภาพ
(PDCA)
ผลผลิต
มาตรฐานผลการเรียนรู้
7
การเรียนการสอน : คุณภาพการเรียนรู้ ของผู้เรียน
คุณภาพการเรียนการสอน
มาตรฐานผลการเรียนรู้
8
ภาพลักษณ์ นักเรียน
Emotional Development
Spiritual Development
Physical Development
Intellectual Development
ดี เก่ง
Social Development
มีความสุ ข
*คุณธรรม
จริยธรรม ค่ านิยม
สมาชิกที่ดี ประชาธิปไตย
มาตรฐานหลักสู ตร เรียนต่ อเนื่อง
ทางาน คิดค้ น ประดิษฐ์ สิ่งใหม่
สุ ขภาพกาย สุ ขภาพจิต
*
คนมีคุณภาพ
. . เชื่อมั่นในตนเอง
9
มาตรฐานผลการเรียนรู ้
องค์ ประกอบด้ านความรู้ (Cognitive Domain) :
ความรู้ ความจา ความเข้ าใจในเรื่องทีเ่ รียน การวิเคราะห์ สั งเคราะห์
การประเมินค่ าและการนาไปใช้ ในชีวติ ประจาวัน
องค์ ประกอบด้ านเจตคติ (Affective Domain) :
การรับรู้ การตอบสนอง การเห็นและสร้ างคุณค่ า การจัดระบบ/ระเบียบ
การกาหนด/สร้ างคุณลักษณะ
องค์ ประกอบทางด้ านทักษะ (Psychomotor Domain) และ
การประสานการทางานของกล้ามเนือ้ (Coordinator)
10
มาตรฐานผลการเรียนรู้ : มาตรฐานผู้เรียน

คุณธรรม จริยธรรม
ด้ านคุณลักษณะ
Affective
 สุ ขภาพและสุ ขนิสัย
 สุ นทรียภาพดนตรี กีฬา ศิลปะ
11
มาตรฐานผลการเรียนรู้ : มาตรฐานผู้เรียน (ต่ อ)
ด้ านความรู้-ความคิด
ความสามารถด้ านการคิด
Cognitive
ผลสั มฤทธิ์ตามหลักสู ตร
12
มาตรฐานผลการเรียนรู้ : มาตรฐานผู้เรียน (ต่ อ)

รั
ก
การอ่
า
น
ใฝ่
เรี
ย
นรู
้
Affective & Psychomotor
รักการทางาน-ทักษะการทางาน
13
หัวใจสาคัญของ
ระบบประกันคุณภาพการเรียนการสอน
การจัดการเรียนรู้ ทเี่ น้ นผู้เรียนเป็ นสาคัญ
(Child Base Learning)
ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ แท้
(Authentic Learning)
14
การเรียนรู้ แท้
(Authentic Learning)
การเรียนรู้ ทที่ าให้ คนเปลีย่ นแปลงพฤติกรรม(ดี)
ด้ านความคิด ความรู้ สึก วิถีและวิธีปฏิบัติ
15
การเรียนรู้ หมายถึง การเปลีย่ นพฤติกรรมของบุคคล
อันเนื่องมาจากการเผชิญสถานการณ์
โดยเฉพาะสถานการณ์ ซ้า ๆ ทีไ่ ม่ ได้ เป็ นสั ญชาติญาณ
หรือเป็ นส่ วนของพัฒนาการปกติ
การเรียนรู้ ตามความหมายทางจิตวิทยา หมายถึง
การเปลีย่ นแปลงพฤติกรรมของบุคคลอย่ างค่ อนข้ างถาวร
16
ลักษณะสาคัญของการเรียนรู้
พฤติกรรมทีเ่ ปลีย่ นไปจะต้ องเปลีย่ นไปอย่ างค่ อนข้ างถาวร
พฤติกรรมทีเ่ ปลีย่ นแปลงไปจะต้ องเกิดจากการฝึ กฝน
หรือเคยมีประสบการณ์ น้ัน ๆ มาก่ อน
17
พฤติกรรมทีเ่ ปลีย่ นแปลง (มนุษย์ ) มี 3 ด้ าน
1. พฤติกรรมทางสมอง (Cognitive) เป็ นการเรียนรู้ เกีย่ วกับ
ข้ อเท็จจริง (Fact) ความคิดรวบยอด (Concept)และหลักการ (Principle)
2. พฤติกรรมด้ านทักษะ (Psychomotor) เป็ นพฤติกรรม
ทางกล้ ามเนือ้ การแสดงออกทางด้ านร่ างกาย
3.พฤติกรรมทางความรู้ สึก (Affective) หรือจิตพิสัย
เป็ นพฤติกรรมทีเ่ กิดขึน้ ภายใน เช่ น การเห็นคุณค่ า เจตคติ
การมีคุณธรรม จริยธรรม
18
การเรียนรู้ แท้ (การเรียนรู้ ทมี่ คี ุณภาพ)
เรียนรู้ แล้ วทาให้ เกิดการเปลีย่ นแปลงพฤติกรรม
หรือ ความคิดทีต่ อบสนองต่ อความคาดหวังของผู้เรียน
และสั งคม (หลักสู ตร)
19
การจัดการเรียนรูท้ ่ีทาให้เกิดการเรียนรูแ้ ท้
การจัดการเรียนรู้ทเี่ ป็ น Child Base Learning
Child Base Learning “CBL”(ม.24)
20
ฝึ กทักษะ กระบวนการคิด การจัดการ
การเผชิญสถานการณ์ การประยุกต์ใช้
ความรูเ้ พือ่ ป้ องกันและแก้ปญั หา (2)
จัดเนื้ อหาสาระ กิจกรรมให้ตรงกับ
ความสนใจ ความถนัด(1)
สร้างบรรยากาศ
สภาพแวดล้อม สือ่
การเรียนที่เอื้อต่อ การ
เรียนรูแ้ ละการวิจยั (5)
CBL- ม.24
ผสมผสานความรูด้ า้ นต่างๆได้สมดุล
ปลูกฝังคุณธรรม ค่านิ ยมที่ดีงาม และ
คุณลักษณะที่พงึ ประสงค์ทกุ วิชา (4)
เรียนรูจ้ ากประสบการณ์จริง
ฝึ กการปฏิบตั ใิ ห้ทาได้
คิดเป็ น ทาเป็ น รักการอ่าน
และใฝ่ รูอ้ ย่างต่อเนื่ อง (3)
เรียนได้ทกุ เวลา ทุกสถานที่
ด้วยความร่วมมือของพ่อแม่
ผูป้ กครอง ชุมชน (6)
21
การจัดระบบประกันคุณภาพการเรียนการสอน ?
การจัดการเรียนการสอน
ในระบบคุณภาพและเน้ นผู้เรียนเป็ นสาคัญ
ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ แท้ (การเรียนรู้ ทมี่ คี ุณภาพ)
22
P. วางแผน/ออกแบบการเรียนรู้ องิ มาตรฐาน
 สร้ างแผนหน่ วยเรี ยนรู้ อิงมาตรฐาน(Effective Syllabus)
 จัดทาแผนการเรี ยนรู้ ทม
ี่ ีประสิ ทธิภาพ(Effective Lesson Plan)
D. ปฏิบัตกิ ารสอนอย่ างมีประสิ ทธิภาพ (Effective Teaching)
 ใช้ เทคนิค/วิธีการสอนทีห
่ ลากหลาย/เน้ นผู้เรียนเป็ นศูนย์ กลาง
 ใช้ ICT สนับสนุนการจัดการเรี ยนรู้
 เสริมสร้ างวินัยเชิงบวก ในกระบวนการสอน
C. วัด ประเมินผลอย่ างมีประสิ ทธิภาพ(Effective Assessment)
 วิธีการ/เครื่ องมือวัดผล มีคุณภาพ ประเมินตามสภาพจริ ง
 มีการวิจยั เพือ่ พัฒนาการเรี ยนรู้
A : นาผลการวิจยั /การประเมินมาใช้ เพือ่ พัฒนาการเรียนรู้
23
จัดระบบคุณภาพการเรียนการ
สอน?
plan
Do
Act
Check
24
ภารกิจของการประกันคุณภาพการเรียนการสอน
กาหนดเป้าหมาย
plan
Act
การวางแผน
ปรับปรุง
SAR
ประเมิน
Check
ดาเนินการ
Do
25
ระบบการเรียนรู้
เป้าหมาย
การเรียนรู้
กิจกรรม
การเรียนรู้
การประเมินผล
การเรียนรู้
26
การออกแบบการเรียนการสอนแบบประกันคุณภาพ
เป้าหมาย
การเรียนรู้
หลักฐาน
การเรียนรู้
กิจกรรม
การเรียนรู้
Task
Evidence
CBL
การประเมิน
Authentic
27
ขั้นตอนการออกแบบระบบการเรียนรู้
1. กาหนดเป้าหมายและหลักฐานการเรียนรู้
2. ออกแบบประสบการณ์ การเรียนรู้ และการเรียนการสอน
3.กาหนดวิธีการและเกณฑ์ การประเมิน
4. ออกแบบระบบการเรียนการสอนรายวิชา
5.ออกแบบแผนการเรียนการสอน
28
Plan-1
กาหนดเป้าหมายและภาระงาน
 นักเรี ยนต้ องรู้ อะไรและปฏิบัตอ
ิ ะไร
ได้ ?
มาตรฐานการเรียนรู้
Cognitive
Affective Psychomotor
 จะรู้ ได้ อย่ างไรว่ านักเรี ยนรู้ และปฏิบัติได้
แล้ ว?
ชิ้นงาน ภาระงาน
Task
29
เป้ าหมายการเรียนรู้ ทพี่ งึ ประสงค์



Cognitive : องค์ ความรู้ /ข้ อมูลสารสนเทศและความคิด
(knowledge/information & Thinking)
Affective : ความดี ความงาม และความรู้ สึกทีด่ ี
Psychomotor & Coordinator : ทักษะ กระบวนการต่ างๆ
ความชานาญ ความคล่ องแคล่ ว และเข้ มแข็ง
30
เป้าหมายการเรียนรู้ ทพี่ งึ ประสงค์ /
ผลลัพธ์ ทตี่ ้ องการ
สิ่ งจาเป็ นทีผ่ ้ ูเรียนควรรู้ ต้ องเข้ าใจในเรื่องใด
C
(แก่ นของสาระวิชา)
P สิ่ งจาเป็ นทีผ่ ้ ูเรียนทาได้
A สิ่ งทีเ่ ป็ นคุณค่ าแก่ การเรียน
 ความเข้ าใจทีย่ งั่ ยืน/ลุ่มลึก(คงทน)อะไรบ้ าง
31
Task : ชิ้นงาน-ภาระงาน
หลักฐาน/พยาน
ทีแ่ สดงว่ าผู้เรียน
ได้ บรรลุเป้าหมายการเรียนรู้
32
Task : ชิ้นงาน-ภาระงาน
เป็ นผลการเรียนรู้ ทผี่ ู้เรียนจะแสดงออกมา โดย
การพูด เช่ น เล่ าเรื่อง เล่ าประสบการณ์ อธิบายขั้นตอน เหตุผล
การเขียน เช่ น บันทึก จดหมาย เรียงความ เรื่องสั้ น บทความ
คาประพันธ์ รายงาน ผังความคิด กราฟิ กต่ าง ๆ
การปฏิบัติและการแสดงออก
การเลือก/ตัดสิ นใจ การวางแผนปฏิบัตงิ าน การทา การปฏิบัติ
การปฏิบัต/ิ แสดงออกในการเรียนรู้ เช่ น การค้ นคว้ า การแสวงหา
การรวบรวมความรู้ การแสดงบทบาทสมมติ
33
Plan-2
ออกแบบการเรียนรู้ -การจัดการเรียนรู้
กาหนดวิธีการสร้ างภาระงาน ชิ้นงานของนักเรียนหรือ
ขั้นตอนการจัดกิจกรรมของครูทจี่ ะทาให้ นักเรียน
เกิดภาระงาน ชิ้นงานการเรียนรู้ตามเป้าหมาย
Child Base Learning
34
ขั้นตอนการออกแบบการเรียนรู้ -การจัดการเรียนรู้
1.วิเคราะห์ ลาดับภาระงานการเรียนรู้ ในวิชา/สาระ
ที.่
1.
2.
เนือ้ หา
Pretest
ภาระงาน
-ทา Pretest และทาความเข้ าใจ
ภาระงานการเรียนรู้
แนวคิดพืน้ ฐานฯ -วิเคราะห์ และสั งเคราะห์
แนวคิดพืน้ ฐานฯ
35
2.กาหนดกิจกรรมการเรียนรู้ รวมถึงสื่ อ/แหล่ งเรียนรู้
ที่
1
ภาระงาน
กิจกรรม
สื่ อ/แหล่ งเรียนรู้
-ทา Pretest และ
-Pretest และ
ทาความเข้ าใจภาระงานฯ -ชี้แจงภาระงานฯ
-แบบPretest และ
-Course Outline
36
Plan-3
วางแผนประเมินภาระงาน
มาตรฐานการเรียนรู้ -หลักฐาน
ผลผลิต การปฏิบัติงานที่คาดหวัง
การประเมิน : เกณฑ์ -คาอธิบายคุณภาพงาน-แนวทางการให้ คะแนน
37
การวางแผนการประเมินภาระงาน (Task)
ตรวจสอบความเข้ าใจของผู้เรียน
สั งเกตและสอบถามผู้เรียนทากิจกรรมต่ างๆ
ทดสอบ
38
การประเมินตามสภาพจริง
นาทักษะและความรู้ ไปใช้ แก้ ปัญหาต่ างๆ
การประเมินโครงการผลงานของผู้เรียน
39
เลือก/กาหนดวิธีการประเมิน
1.การเลือกตอบ(Selected Response)
2.การตอบสั้ น ๆ (Constructed Response)
3.การเขียนแบบอัตนัย(Essay)
4.การประเมินการปฏิบัตใิ นโรงเรียน (School Performance)
5.การประเมินการปฏิบัตใิ นชีวติ จริง (Contextual Performance)
6.การประเมินแบบต่ อเนื่อง(On-Going Tool)
40
กาหนดเกณฑ์ การประเมิน โดยเน้ น Rubric
ทีส่ อดคล้ องกับธรรมชาติวชิ า/ลักษณะกิจกรรม
เกณฑ์ ที่ใช้ ในการประเมิน (Rubrics)
มีตวั บ่ งชี้ (criteria) ทีจ่ ดั อันดับคุณภาพของงานไว้ อย่ างชัดเจน
ซึ่งครู และนักเรียนมีความเข้ าใจตรงกัน
41
ลักษณะเกณฑ์ การประเมินที่ดี
 ชัดเจน
 สมา่ เสมอ
 มีเหตุผลสนับสนุนคะแนนทีใ่ ห้
เกณฑ์ การประเมิน
Rubric Assessment
เกณฑ์ ภาพรวม :Holistic Rubric
เกณฑ์ แยกส่ วน : Analytic Rubric
42
เกณฑ์ ภาพรวม :Holistic Rubric
@ แนวทางการให้ คะแนนพิจารณาจากภาพรวมของชิ้นงาน
@ มีคาอธิบายลักษณะของงานในแต่ ละระดับอย่ างชัดเจน
@ นิยมใช้ เกณฑ์ การประเมิน 3-5 ระดับ
43
ความสามารถในการเขียน
ระดับที่ 1 เขียนตามแบบที่กาหนด กรอกข้ อความสั้ น ๆ ในแบบต่ าง ๆ ได้
ระดับที่ 2 เขียนแบบขยายความ เพิม่ เติมตัวอย่ าง เขียนได้ ยาวขึน้
มีความหลากหลายในการใช้ คามากกว่ า 1 แบบ เนือ้ หายังแคบอยู่
ระดับที่ 3 เขียนอย่ างเป็ นลาดับตามแผนทีว่ างได้ เอง มีใจความสาคัญชัดเจน
มีการขยายความอธิบายอย่ างกว้ างขวาง
ระดับที่ 4 เขียนโดยคานึงถึงผู้อ่าน ผู้รับสาร ปรับเปลีย่ นระดับได้ สอดคล้ องกับ
ผู้อ่าน ให้ ผู้อ่านรับสารสาคัญได้ อย่ างถูกต้ อง ชัดเจน
ระดับที่ 5 เขียนอย่ างสร้ างสรรค์ สละสลวย มีถ้อยคาสานวนหลากหลาย
เร้ าให้ เกิดอารมณ์ คล้ อยตาม โดยยังคงสาระสาคัญ เป้าหมายของ
การสื่ อความไว้ อย่ างชัดเจน
44
เกณฑ์ แยกส่ วน : Analytic Rubric
@ กาหนดการพิจารณาเป็ นประเด็นต่ างๆ แยกกันในงานชิ้นเดียว
@ส่ วนใหญ่ พจิ ารณาไม่ เกิน 4 ด้ าน(ลักษณะ)
@ โดยทั่วไปเกณฑ์ การให้ คะแนนกาหนดเป็ น 4-5 ระดับ
@ พิจารณาจากเป้าหมายและความคาดหวังในการปฏิบัติงาน
45
ความสามารถในการเขียน
1.การใช้ ภาษา
ใช้ ภาษา
ไม่ ค่อยถูกต้ อง
(1)
ใช้ ภาษาถูกต้ องหลากหลาย
(3)
ใช้ ภาษาถูกต้ อง
แต่ แคบ
(2)
ใช้ ภาษาถูกต้ อง
หลากหลาย เหมาะสม
(4)
2.เนือ้ ความ
เนือ้ ความไม่ ชัดเจน เนือ้ ความชัดเจน
และประเด็นแคบ แต่ ค่อนข้ างแคบ
1
2
เนือ้ ความชัดเจนขยายความได้ ดี
3
ขยายความได้ ดแี ละ
ยกตัวอย่างประกอบ
4
46
ความสามารถในการเขียน (ต่ อ)
3.ความสละสลวยของภาษา
ใช้ ภาษา
ไม่ สละสลวย
(1)
ใช้ ภาษาได้
ค่ อนข้ างดี
(2)
ใช้ ภาษาได้
สละสลวย
(3)
ใช้ ภาษาได้ สละสลวย
ชวนให้ อ่านและติดตาม
(4)
4.ความคิดสร้ างสรรค์
ขาดความคิดที่
เป็ นของตนเอง
1
มีความคิดทีเ่ ป็ น
ของตนเองแต่ ยงั
ไม่ ชัดเจน (2)
มีความคิดเป็ นของ
ตนเองชัดเจน มี
ความแปลกใหม่ (3)
แสดงความคิดแปลก
ใหม่ และจินตนาการ
เรื่องราวได้ ดี (4)
47
Plan-4
โครงสร้ างการเรียนการสอนรายวิชา
1.รายวิชา............
2. จุดประสงค์
C/K
A
P
48
3. โครงสร้ างเนือ้ หาและภาระงาน
ที.่
เนือ้ หา
ภาระงาน
คาบ
4. สื่ อ/แหล่ งเรียนรู้
49
6. การวัดและประเมินผล
6.1 การวัดผล
สิ่ งที่วดั
วิธีการ/เครื่องมือ
6.2 การประเมินผล
6.2.1 แหล่ ง/รายการประเมิน
6.2.2 เกณฑ์ การประเมิน
ร้ อยละ
50
จัดทาแผนการจัดการเรียนรู้ รายคาบ
Plan-5
แผนการจัดการเรียนรู้วชิ า...........
แผนที.่ ...........เรื่อง...............
1. สาระสาคัญ(Concept)
2. วัตถุประสงค์ (ภาระงานย่ อย)
3. กิจกรรมการเรียนรู้ และสื่ อ/แหล่ งเรียนรู้
ที.่
กิจกรรม
4. การประเมินผล
5. การบันทึก/สรุปผล
สื่ อ/แหล่ งเรียนรู้
51
ดาเนินการ : Do
จัดการเรียนรู้ ตามแผนทีก่ าหนด
นาเทคนิค วิธีการจัดการเรียนรู้ และสื่ อทีจ่ ะนาผู้เรียนไปสู่
การสร้ างชิ้นงาน/ภาระงานตามมาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วดั
มีความท้ าทายต่ อยอดการเรียนรู้ มีความหมายต่ อผู้เรียน เน้ น
ผู้เรียน เป็ นสาคัญ คานึงถึงความแตกต่ างและพัฒนาการทางสมองผู้เรียน
พัฒนาผู้เรียนให้ มที กั ษะกระบวนการทีห่ ลากหลาย
52
ตรวจสอบ-ประเมิน: Check
ตรวจสอบกระบวนการเรียนการสอนมีประสิ ทธิภาพเพียงใด
ตรวจสอบผลการเรียนรู้ (ภาระงาน/ชิ้นงาน) ของผู้เรียน
เป็ นไปตามเกณฑ์ ในระดับใด (ความมีประสิ ทธิผล)
จุดเด่ น คือ อะไร
จุดทีค่ วรพัฒนา คือ อะไร
แนวทางการปรับปรุง พัฒนา ควรทาอะไร อย่ างไร
SAR : ครู ...................
53
การปรับปรุง พัฒนา : Action
การนาผลการประเมินและแนวทางการปรับปรุ งพัฒนาทีเ่ สนอ
ใน SAR ไปใช้ วางแผน จัดระบบการเรียนการสอนในวิชานั้นๆ
ในภาคเรียน/ภาคการศึกษาต่ อไป
 กระบวนการปรับปรุ งแผนการจัดการเรียนการสอน
ให้ มีประสิ ทธิภาพและประสิ ทธิผลมากขึน้
 กระบวนการปรับปรุงแผนการจัดการเรียนการสอน
ให้ เหมาะสมกับสภาพผู้เรียนทีจ่ ะเข้ ามาเรียนในวิชา
54
55