วิธีคิดวิเคราะห์

Download Report

Transcript วิธีคิดวิเคราะห์

วิธีวิเคราะห์วรรณคดี
วิธวี เิ คราะหวรรณคดี
์
๑) วิเคราะห์คณ
ุ ค่าด้านวรรณศิลป์ คือ ความไพเราะของบทประพันธ์ ซึง่
ทาให้ผอู้ ่านเกิดอารมณ์ ความรูส้ กึ และจินตนาการตามรส ความหมายของ
ถ้อยคาและภาษาทีผ่ แู้ ต่งเลือกใช้
๒) วิเคราะห์คณ
ุ ค่าด้านเนื้ อหาสาระ แนวคิด สาระ ค่านิยม ฯลฯ ที่
ปรากฏในเรือ่ งนัน้ อย่างลึกซึง้
๓) วิเคราะห์คณ
ุ ค่าด้านสังคม วรรณคดีและวรรณกรรมจะสะท้อนให้เห็น
สภาพของสังคมและวรรณคดีทด่ี สี ามารถจรรโลงสังคมได้อกี ด้วย
๔) วิเคราะห์การนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันผูอ้ ่านสามารถนา
แนวคิดและประสบการณ์จากเรือ่ งทีอ่ า่ นไปประยุกต์ใช้หรือแก้ปญั หาใน
ชีวติ ประจาวันได้
วิเคราะห์คุณค่าด้านวรรณศิลป์
วรรณศิ ลป์ หมายถึง ลักษณะดีเด่นทางด้านวิธีแต่ ง การ
เลือ กใช้ถ้อ ยคา สานวน ลีลาประโยค ความเรียงต่ าง ๆ ที่
ประณีต งดงาม หรือมีรสชาติเหมาะสมกับเนื้อเรื่องเป็ นอย่าง
ดี ก่อผลในทางอารมณ์ความรูส้ กึ เช่น เกิดความสดชื่น เบิก
บาน ขบขัน เพลิดเพลิน ขบคิด เศร้าโศก ปลุกใจวรรณศิ ลป์
จึง เป็ น องค์ป ระกอบส าคัญ ที่ช่ ว ยส่ง เสริม ให้ว รรณกรรมมี
คุณค่าน่าสนใจ
ศิลปะ
การเล่นคา คือ การใช้คาเดียวกัน แต่ความหมายหลายความหมาย
(ต่างกัน) ก่อให้เกิดจังหวะทีไ่ พเราะ
เช่น ชงโคคิดชงชา : ชงโค = ดอกไม้ ชงชา =หน้าแข้ง
ดูโศกดูเรียมเศร้า โศกเศร้าเหมือนเรียม : โศก = ต้นไม้ โศก = เศร้า
การเล่นความ คือ การใช้คาขึน้ ต้นเหมือนกัน
เช่น
งามทรงวงดังวาด
งามมารยาทนาดกรกราย
งามพริม้ ยิม้ แย้มพราย
งามคาหวานลานใจถวิล
ศิลปะ
การเล่นเสี ยงสัมผัสอักษร คือ การใช้อกั ษรหรือพยัญชนะตัว
เดียวกัน เป็ นการใช้พยัญชนะเสียงเดียวกันต่อๆ กันหลายคา
เช่น จาใจจาจากเจ้า จาจร รักเร่เร่รกั ไร้ รังรัก เป็ นต้น
การเล่นเสียงสัมผัสสระ ทีเ่ ป็ นเสียงเสนาะอันเกิดจากการเล่น
เสียงสระเช่น “ แม่ยงั กลับหลังมาโลมลูบจูบกระหม่อมจอมเกลา
ทัง้ สองเรา ”
การเล่นเสียงวรรณยุกต์
เช่น ว่าง - ว้าง , โอย - โอ่ย - โอ้ย , ปอง - ปอ่ ง - ป้อง
คาอัพภาส คือ คาเดิมเป็ นคาซ้า และกร่อนเสียงคาหน้าเป็ น อะ
เช่น
รืน่ รืน่
เป็ น
ระรืน่
โวหารภาพพจน์
อุปมาโวหาร (Simile)
อุปมา คือ การเปรียบเทียบว่าสิง่ หนึ่งเหมือนกับสิง่ หนึ่งโดยใช้คาเชื่อมที่
มีความหมายเช่นเดียวกับคา
เช่น จมูกเหมือนลูกชมพู่
ปากเธอเหมือนกระจับอ่อนๆ
ใบหูเหมือนทอดมันร้อนๆ
ฟนั เรียงสลอนเหมือนข้าวโพดพันธุด์ ี
อุปลักษณ์ ( Metaphor )
อุปลักษณ์ คือเปรียบเทียบสิง่ หนึ่งเป็ นอีกสิง่ หนึ่ง
มักจะมีคามี ๓ ลักษณะ
๑. ใช้คากริยา เป็ น คือ = เปรียบเป็ น เช่น โทสะคือไฟ
๒. ใช้คาเปรียบเป็ น เช่น ไฟโทสะ ดวงประทีปแห่งโลก
๓. แสดงการเปรียบเทียบโดยปริยาย เช่น มโหรีจากราวปา่ มาเรือ่ ยรี่
โวหารภาพพจน์
สัญลักษณ์ ( symbol )
สัญลักษณ์ เป็ นการเรียกชื่อสิง่ ๆหนึ่งโดยใช้คาอื่นมาแทน ส่วนใหญ่คา
ทีน่ ามาแทนจะเป็ นคาทีเ่ กิดจากการเปรียบเทียบและตีความ ทัง้ นี้อาจเป็ น
เพราะผูป้ ระพันธ์ต้องการเปรียบเทียบเพื่อสร้างภาพพจน์ หรือ มิฉะนัน้ ก็
อาจจะอยูใ่ นภาวะทีก่ ล่าวโดยตรงไม่ได้เพราะไม่สมควร เช่น
เมฆหมอก
แทน
อุปสรรค
หงส์
แทน
คนชัน้ สูง
กา
แทน
คนต่าต้อย
อธิพจน์ ( Hyperbole )
อธิพจน์ คือโวหารทีก่ ล่าวเกินความจริง เพือ่ สร้างและเน้นความรูส้ กึ
และอารมณ์ ทาให้ผฟู้ งั เกิดความรูส้ กึ ทีล่ กึ ซึง้ เช่น คิดถึงใจจะขาด ,
คอแห้งเป็ นผง
โวหารภาพพจน์
บุคลาธิษฐาน ( Personification )
หมายถึง อธิษฐานให้กลายเป็ นบุคคล คือการกล่าวถึงสิง่ ต่างๆ ทีไ่ ม่
มีชวี ติ หรือสิง่ มีชวี ติ ทีไ่ ม่ใช่มนุษย์ เช่น ต้นไม้ สัตว์ โดยให้สงิ่ ต่างๆ
เหล่านี้ แสดงกิรยิ าอาการและความรูส้ กึ ได้เหมือนมนุษย์
ตัวอย่างเช่น
มองซิ..มองทะเล
บางครัง้ มันบ้าบิน่
ทะเลไม่เคยหลับใหล
บางครัง้ ยังสะอืน้
เห็นลมคลื่นเห่จบู หิน
กระแทกหินดังครืนครืน
ใครตอบได้ไหมไฉนจึงตื่น
ทะเลมันตื่นอยูร่ ่าไป
สัทพจน์ ( Onematoboeia )
หมายถึง ภาพพจน์ทเ่ี ลียนเสียงธรรมชาติ
ตัวอย่างเช่น บัดเดีย๋ วดังหง่างเหง่งวังเวงแว่ว
เสียงลิงค่างบ่างชะนีวะหวีดโหวย กระหึมโหยห้อยไม้น่าใจหาย
โวหารภาพพจน์
นามนัย ( Metonymy )
นามนัย คือ การใช้คาหรือวลีซง่ึ บ่งลักษณะหรือคุณสมบัตขิ องสิง่ ใด
สิง่ หนึ่งแทนอีกสิง่ หนึ่ง
ตัวอย่างเช่น เมืองโอ่ง
หมายถึง
จังหวัดราชบุรี
เอวบาง
หมายถึง
นาง ผูห้ ญิง
ปรพากย์ ( Paradox )
ปฏิพากย์ คือ การใช้ถอ้ ยคาทีม่ คี วามหมายตรงกันข้ามหรือขัดแย้งกัน
มากล่าว อย่างกลมกลืนกันเพือ่ เพิม่ ความหมายให้มนี ้าหนักมากยิง่ ขึน้
ตัวอย่างเช่น
น้าร้อนปลาเป็ น
น้าเย็นปลาตาย
เสียน้อยเสียยาก
เสียมากเสียง่าย
้อหาสาระ
วิเคราะหคุ
้
่ านเนื
์ ณคาด
เนื้ อหา หมายถึงใจความสาคัญ หรือสาระสาคัญทีป่ รากฏในเนื้อเรือ่ ง
“ การวิเคราะห์เนื้อหาสาระและแนวความคิดทีม่ ปี ระโยชน์ต่อ
คนอ่าน เนื้อหาสาระทีด่ นี นั ้ อาจเป็ นในแง่การให้ความรู้ ให้ความ
คิดเห็น คติ คาสอน ข้อเตือนใจ ชีช้ อ่ งให้มองเห็นความจริง ความ
ดี ชีท้ างแก้ปญั หา แนะสิง่ ทีค่ วรปฏิบตั หิ รือ สิง่ ทีค่ วรละเว้น กลวิธี
การเขียนอาจชีแ้ นะโดยตรงหรือทางอ้อมก็ได้แล้วแต่กลวิธขี อง
ผูเ้ ขียน ว่าจะทาได้แนบเนียนน่าสนใจเพียงใด “
วิเคราะหคุ
้อหาสาระ
่ านเนื
้
์ ณคาด
ข้อทีน่ ่าสังเกตคือ งานเขียนทีด่ นี นั ้ ไม่จาเป็ นต้องสอน
ศีลธรรมหรือคุณธรรมโดยตรง ผูเ้ ขียนอาจใช้กลวิธตี ่าง ๆ
เพือ่ ให้คนอ่านเกิดความคิดได้ดว้ ยตนเอง ดังนัน้ ก่อนการ
วิจารณ์ คนอ่านจึงต้องพยายามทาความเข้าใจ จับ
ความหมายและสรุปแนวความคิดทัง้ หลายของผูเ้ ขียนให้ได้
เสียก่อน
“ หลักสาคัญมีอยู่อย่างหนึ่ งว่า งานประพันธ์ที่ดีควรมีเนื้ อหา
สาระมุ่งสร้างสรรค์ มิใช่ม่งุ ทาลาย “
ตัวอย่างการวิเคราะห์คุณค่าด้านเนื้ อหาสาระ
ฉันเป็ นหนี้ดอกจาปาของตาพลอย ตัง้ แต่น้อยยังนึกราลึกได้
ขอเล่าสูค่ ุณครูผรู้ ว่ มใจ
ว่าดอกไม้มอี านาจดลบันดาล
คุณยายฉันท่านพาไปฟงั เทศน์
ธรรมวิเศษแสนสุดพุทธบรรหาร
ฉันไม่รรู้ สธรรมล้าโอฬาร
ทีพ่ ระท่านเทศนาว่าอย่างไร
เพราะตัวฉันยังเด็กยังเล็กนัก
จะรูจ้ กั รสพระธรรมได้ไฉน
ทีฉ่ นั ไปฟงั เทศน์ทุกคราวไป เพราะฉันอยากได้ดอกจาปาของตาพลอย
ตาพลอยดีมจี าปาบูชาพระ
เด็กเด็กจะแย่งกันลาอยูบ่ ่อยบ่อย
ดอกไม้อ่นื ดื่นไปมีไม่น้อย
แต่ไม่คอ่ ยถูกใจใช่จาปา
เด็กรุน่ ฉันพากันไปฟงั เทศน์
ก็เพราะเหตุอย่างเดียวจะเทียวหา
ดอกไม้ของตาพลอยเพือ่ คอยลา
ต่างตัง้ ท่าแย่งกันทุกวันไป
ดอกจาปาล่อใจให้เป็ นเหตุ
ฉันคงไปฟงั เทศน์หาหยุดไม่
ตัวอย่างการวิเคราะห์คุณค่าด้านเนื้ อหาสาระ
ยิง่ นานวันพลันค่อยเจริญวัย
ยิง่ เข้าใจธรรมซึง้ ขึน้ ทุกที
พุทธประวัตชิ าดกท่านยกมาอ้าง ความคิดกว้างเห็นงามตามวิถี
รสพระธรรมนาใจให้ใฝด่ ี
ฉันเป็ นหนี้ดอกจาปาของตาพลอย
ตัวอยางการวิ
เคราะหคุ
้อหาสาระ
่
์ ณคาด
่ านเนื
้
(เรือ่ ง “ดอกจาปาของตาพลอย” ของเจือ สตะเวทิน)
วิเคราะห์และวิจารณ์คุณค่าด้านเนื้อหาสาระ แนวความคิดและกลวิธี
นาเสนอเนื้อหาเป็ นเรือ่ งราวในวัยเด็กของผูเ้ ขียนเล่าถึงการตามคุณยาย
ไปฟงั เทศน์เพราะอยากได้ดอกไม้ คือ ดอกจาปา ครัน้ ไปฟงั เทศน์บ่อย
เข้า ทาให้เข้าใจคาสอนต่าง ๆ จึงเจริญเติบโตขึน้ มาเป็ นคนดี นับได้วา่
ดอกจาปาเป็ นดอกไม้ทม่ี คี ุณค่าต่อชีวติ
เมือ่ วิเคราะห์เนื้อหาพบว่ากล่าวถึงความดีของรสพระธรรมคาสอน
และให้ขอ้ เตือนใจแก่ผอู้ ่านคือไม่ให้มองข้ามสิง่ เล็ก ๆ น้อย ๆ ทีช่ ว่ ยให้
เราได้รบั ผลตอบแทนในทางทีด่ งี าม บทร้อยกรองลักษณะนี้จงึ วิจารณ์
โดยสรุปได้วา่ ดีพร้อมทัง้ จินตนาการภาพคิดและเนื้อหาสาระเตือนใจ
นับว่ามีคุณค่าต่อผูอ้ ่านเป็ นอย่างมาก
วิเคราะห์คุณค่าด้านสังคม
การวิเคราะห์คุณค่าด้านสังคม ผูอ้ ่านต้องค้นหาสาระก่อนว่าผูเ้ ขียน
ต้องการเสนอ “สาระ” อะไรให้กบั ผูอ้ ่านเป็ นด้านดีหรือด้านเสีย
ของสังคมและผูอ้ ่าน ต้องพิจารณาว่า พึงปฏิบตั อิ ย่างไร หรือได้
แนวคิดอะไรบ้างจากการอ่านวรรณกรรมนัน้
การพิจารณาคุณค่าวรรณคดีดา้ นสังคมแบ่งออกได้ ๒ ลักษณะใหญ่ๆดังนี้
 ด้านนามธรรม ได้แก่ ความดี ความชัว่ ค่านิยม จริยธรรมของ
คนในสังคม ฯลฯ
 ด้านรูปธรรม ได้แก่ สภาพความเป็ นอยู่ วิถชี วี ติ การแต่งกาย
และการก่อสร้างทางวัตถุ ฯลฯ
วิธีวิเคราะห์คณ
ุ ค่าวรรณคดีต่อการนาไปใช้ในชีวิตประจาวัน
วรรณคดีทุกเรือ่ ง นอกจากจะมีหน้าทีห่ ลัก คือ ให้ความบันเทิงใจ
แล้ว ยังเป็ นอาหารสมองทีส่ าคัญแก่ผอู้ ่านด้วย
วรรณคดีประเภทคาสอน เช่น สุภาษิตต่างๆ ย่อมสัมพันธ์กบั
ศาสนา ปรัชญา และจริยศาสตร์เพราะศาสนาเป็ นเรือ่ งของศรัทธาความ
เชื่อ ปรัชญาเป็ นเรือ่ งของการตรวจสอบประสบการณ์ชวี ติ ซึง่ อาจเป็ น
ของกวีเองหรือของสังคมสมัยนัน้ ๆ ส่วนจริยศาสตร์เป็ นสัจธรรมที่
เกีย่ วข้องกับศาสนาของคนในสังคม
วิธีวิเคราะห์คณ
ุ ค่าวรรณคดีต่อการนาไปใช้ในชีวิตประจาวัน
วรรณคดีประเภทสุภาษิต ได้ประโยชน์ในการได้ศกึ ษาแนว
ทางการประพฤติปฏิบตั ิ ทีท่ าให้ผอู้ ่านได้เห็นสัจธรรมอันเป็ นที่
ยอมรับกันมาแล้วในสังคม ในขณะทีเ่ ราอ่านวรรณคดีประเภทนี้ เรา
จะไม่รสู้ กึ ว่ากาลังถูกสอนโดยตรง และผูอ้ ่านอาจจะไม่เห็นด้วยกับ
ผูเ้ ขียน ทัง้ นี้เพราะความแตกต่างกันในเรือ่ งวัยวุฒ ิ คุณวุฒแิ ละ
ประสบการณ์ต่อเมือ่ เราได้ผา่ นประสบการนัน้ ๆบ้าง ผูอ้ ่านจะเห็น
คุณค่าของภาษิตต่างๆ
การอ่านวรรณคดีประเภทสุภาษิตสามมารถตีความและสรุปเป็ นแง่
คิดได้เกือบทุกส่วน ผูเ้ ขียนจะสือ่ สารถึงผูอ้ ่านโดยตรง โดยไม่ผา่ นตัว
ละคร หรือพฤติกรรมตัวละครเหมือนวรรณคดีประเภทอื่นๆ ดังนัน้
เมือ่ ถึงอ่านเรือ่ งใดก็สามารถทาความเข้าใจและสรุปให้จบเป็ นเรือ่ งๆ
ได้
ขอบคุณค่ะ