เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ สื่อการเรียนลีลาวรรณคดีไทย

Download Report

Transcript เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ สื่อการเรียนลีลาวรรณคดีไทย

สื่ อการสอนลีลาวรรณคดีไทย ชุด กาพย์ เห่ เรือ
จัดทาโดย นายกลยุทธ ยกย่ อง
โครงการผลิตสื่ อการเรี ยนรู ้กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาไทย โรงเรี ยนกระบุรี
วิทยา ได้จดั ทาขึ้นเพื่อให้ผเู ้ รี ยนได้เกิดการเรี ยนรู ้ที่มีประสิ ทธิภาพ
โดยโครงการผลิตสื่ อการเรี ยนรู ้มีการจัดทาสื่ อการสอนประกอบด้วย สื่ อการ
สอนลีลาวรรณคดีไทย จานวน 4 ชุด คือ 1.ขุนช้างขุนแผน 2.กาพย์เห่
เรื อ 3.อิเหนา และ 4.วรรณคดีสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยูห่ วั
และสื่ อการสอนพัฒนาทักษะทางภาษา จานวน 2 ชุด คือ 1.หลักสังเกต
ลักษณะคาที่มาจากภาษาอื่นในภาษาไทย 2.การสร้างคาในภาษาไทย ซึ่ งชุด
การสอนทั้ง 6 ชุด ผลิตโดย ครู กลยุทธ ยกย่อง ครู กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้
ภาษาไทย โรงเรี ยนกระบุรีวิทยา จ.ระนอง
โครงการผลิตสื่ อการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
สื่ อการสอนลีลาวรรณคดีไทย
ชุด
กาพย์ เห่ เรือ
โดย นายกลยุทธ ยกย่ อง
ประวัติความเป็ นมาของการเห่ เรือ
การเห่เรื อ เป็ นกิจกรรมที่ควบคู่มากับการเดินทางทางน้ า จาแนกได้ 2 ประเภท คือ
1.การเห่เรื อในงานพระราชพิธี ที่เรี ยกว่า "การเห่เรื อหลวง" และ 2.การเห่เรื อสาหรับ
เที่ยวเตร่ หรื อในงาน พื้นบ้านที่เรี ยกว่า "เห่เรื อเล่น" ปั จจุบนั การเห่เรื อเล่นลด
ความสาคัญลงไป คงมีแต่การเห่เรื อหลวง ที่ดารงอยูแ่ ละถือเป็ นโบราณราชประเพณี ที่
ต้องรักษาไว้เป็ นมรดกของชาติสืบต่อไปที่มาของการเห่เรื อนั้น ไม่เป็ นที่ทราบแน่ชดั
แต่สันนิษฐานว่าเป็ นประเพณี ของชนชาติต่าง ๆ หลากหลายชนชาติที่มีเรื อพายใช้ เช่น
อินเดีย จีน ญวน เป็ นต้น ลักษณะที่พลพายจะขับร้องในเวลา พายเรื อเพื่อให้เกิดความ
รื่ นเริ งในการเดินทาง และผ่อนคลายความเหนื่อยอ่อนลง
สาหรับการเห่เรื อ ของไทยนั้น นอกจากจะให้ความรื่ นเริ งแล้วยังเป็ นการ
ให้จงั หวะเพื่อให้พลพายพายพร้อมกัน โดยทาเป็ นทานองเห่ เรื อที่แตกต่างกัน 3
อย่าง ขึ้นอยูก่ บั ความต้องการให้พลพายพายช้าหรื อเร็ ว เช่น ในขณะเริ่ มออกเรื อ
ขณะพายเรื อตามน้ า จะใช้ทานอง ช้าลวะเห่ เมื่อเรื อจวนถึงที่ประทับจะใช้ทานอง
สวะเห่ และถ้าต้องการให้พายหนักจังหวะเร็ วจะใช้ทานองมูลเห่ สาหรับคนเห่หรื อ
ที่เรี ยกว่าต้นบท ต้องเลือกคนที่มีเสี ยงดีและเสี ยงดังพอให้ได้ยนิ ไปทัว่ ลาเรื อ ส่ วน
บทเห่เรื อนั้นนิยมประพันธ์เป็ น ร้อยกรอง หรื ออาจอยูใ่ นรู ปของกลอนสด และมีอยู่
หลายสานวนด้วยกัน ในสมัยโบราณจะใช้บทใด ไม่ได้กล่าวไว้ แต่เป็ นที่รู้จกั กันดี
และเริ่ มนามาใช้ต้ งั แต่สมัยรัชกาลที่ 4 แห่งราชวงศ์จกั รี ได้แก่ กาพย์ห่อโคลงของ
เจ้าฟ้ าธรรมาธิเบศร์ ซึ่ งนิพนธ์ไว้เมื่อตอนปลายกรุ งศรี อยุธยา มี 2 เรื่ อง เรื่ องแรก
ขึ้นต้นว่า "พระเสด็จโดยแดนชล ทรงเรื อต้นงามเฉิ ดฉาย" สันนิษฐานว่าทรงนิพนธ์
สาหรับ เรื อพระที่นงั่ ของพระองค์เอง เวลาตามขบวนเสด็จ ฯ
ประวัตผิ ู้แต่ งและผลงาน
ผู้แต่ ง เจ้าฟ้ าธรรมธิเบศรไชยเชษฐ์สุริยวงศ์ (เจ้าฟ้ ากุง้ )
ผลงาน
ด้ านคดีโลก
- กาพย์เห่เรื อ
- กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง
- กาพย์ห่อโคลนิราศพระบาท
- กาพย์เห่เรื่ องกากี
- เพลงยาว
ด้ านคดีธรรม
- นันโทปนันทสูตรคาหลวง
- พระมาลัยคาหลวง
สารานุกรมประเทศไทย...สมเด็จเจ้าฟ้ ากรมขุนเสนาพิทกั ษ์ มีพระ
นาม
เดิมว่า เจ้าฟ้ าธรรมธิเบศรไชยเชษฐสุ ริยวงศ์ หรื อขานพระนามกัน
โดยทัว่ ไปว่า เจ้าฟ้ ากุง้
เจ้าฟ้ าธรรมธิเบศรประสูติ พ.ศ.๒๒๔๘ ในแผ่นดินสมเด็จพระ
เจ้าอยูห่ วั
ท้ายสระซึ่งเป็ นพระปิ ตุลา (ลุง) ของพระองค์ ทรงเป็ นพระราชโอรสของ
สมเด็จ พระบรมโกศหรื อสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ ๓ กับกรมหลวง
อภัยนุชิต พระมเหสี ใหญ่ ทรงมีพระอนุชาต่างพระมารดา ๒ พระองค์ คือ
พระเจ้าลูกเธอเจ้าฟ้ าเอกทัศ(พระเจ้าเอกทัศ) และพระเจ้าลูกเธอเจ้าฟ้ าดอก
เดื่อ (ขุนหลวงหาวัด)
จุลศักราช ๑๑๐๓ ปี ระกา ตรีศก พ.ศ. ๒๒๘๔ เจ้ าฟ้าธรรมธิเบศร์ ได้ เข้ าพระราช
พิธีอุปราชาภิเษกเถลิงถวัลยราชสถิต ทีพ่ ระมหาอุปราช เป็ นกรมพระราชวังบวรสถาน
มงคล (วังหน้ า) และอภิเษกสมรสกับเจ้ าฟ้าหญิงอินทสุ ดาวดี เมือ่ เป็ นกรมพระราชวัง
บวรสถานมงคลและ พระองค์ ได้ เป็ นกองการปฎิสังขรณ์ วัดพระศรีสรรเพชญ์ และวัด
อืน่ ๆ มากมาย
เจ้ าฟ้าธรรมบิเบศร์ ทรงพระปรีชาสามารถหลายด้ าน โดยเฉพาะด้ านวรรณกรรม
พระองค์ ทรงเป็ นกวีที่ยงิ่ ใหญ่ ในสมัยกรุ งศรีอยุธยาพระองค์ หนึ่ง พระองค์ ท่าน
สิ้นพระชนม์ เพราะเหตุทมี่ ผี ้ ไู ปกราบทูลว่ าพระองค์ ลอบเป็ นชู้ กบั เจ้ าฟ้านิ่ม หรือเจ้ าฟ้า
สั งวาลย์ ซึ่งเป็ น เจ้ าจอมของ พระราชบิดา สมเด็จพระเจ้ าอยู่หัวบรมโกศจึงทรงลง
พระอาญาเฆีย่ นจนสิ้นพระชนม์ พร้ อมด้ วยเจ้ าฟ้าสั งวาลย์ แล้วนาพระศพไปฝังยังวัด
ไชยวัฒนาราม
กาพย์ ห่อโคลงประพาสธารทองแดง
เพกาต้นตุมกา
ชุมกาแลสาบกา
เพกาตุมกาต้น
โยทกากรรณิ การ์
ชุมกาแลสาบกา
ต้นมะกาการ้อง
โยทกากรรณิ การ์
ต้นมะกากาจับนอน
กาลา
ถี่ถอ้ ง
กาสู่
จับไม้กาหลง
กาพย์ห่อโคลงนิราศพระบาท
โมงเช้ าแล้ วเจ้ าพี่
หญิงใดไม่ มเี หมือน
เจ้ าถ้ วนถี่ดกี ารเรือน
ใช้ สอยดีพเี่ ชยชม
ลักษณะคาประพันธ์
แต่ งเป็ นกาพย์ เห่ เรือ คือ ขึน้ ต้ นด้ วยโคลงสี่ สุภาพ
1 บท แล้ วใช้ กาพย์ ยานีขยายความไปจนจบ เมื่อ
ขึน้ ต้ นใหม่ กแ็ ต่ งนาด้ วยโคลงสี่ สุภาพอีก
ตัวอย่างโคลงสี่ สุภาพ
•
•
•
•
•
เสี ยงลือเสี ยงเล่าอ้าง
เสี ยงย่อมยอยศใคร
สองเขือพี่หลับใหล
สองพี่คิดเองอ้า
อันใด พี่เอ่ย
ทัว่ หล้า
ลืมตื่น ฤาพี่
อย่าได้ถามเผือ่
ที่มา : ลิลิตพระลอ
ตัวอย่ างกาพย์ ยานี
มัสมัน่ แกงแก้ วตา
ชายใดได้ กลืนแกง
ยาใหญ่ ใส่ สารพัด
รสดีด้วยนา้ ปลา
หอมยีห่ ร่ ารสร้ อนแรง
แรงอยากให้ ใฝ่ ฝันหา
วางจานจัดหลายเหลือตรา
ญีป่ ุ่ นลา้ ยา้ ยวนใจ
กาพย์ เห่ ชมเครื่องคาวหวาน
บทพระราชนิพนธ์ ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
บทเห่ เรือของเจ้ าฟ้ าธรรมธิเบศรนี้ เป็ นการชมพยุ
หยา
ตราทางชลมารคทีน่ ามาเป็ นบทเรียน ประกอบด้ วย
เห่ ชมเรือ
กระบวย เห่ ชมปลา เห่ ชมไม้ เห่ ชมนก และเห่ ครวญ
ทรง
นิพนธ์ ขนึ้ สาหรับเห่ เรือพระทีน่ ั่งส่ วนพระองค์ เมือ่
ตามเสด็จ
เป็ นการเสด็จประพาสทางชลมารคของเจ้ าฟ้าธรรมธิเบศรเมื่อ
ตามเสด็จพระเจ้ าบรมโกศไปนมัสการพระพุทธบาทสระบุรี
โดยแบ่ งออกเป็ น 5 บท ดังนี้ คือ
1. ในเวลาเช้ า พรรณนากระบวนเรือพยุหยาตราทางชลมารค
2. ในเวลาสาย เป็ นการพรรณนาชมปลาต่ างๆ
3. ในเวลาบ่ าย เป็ นการพรรณนาชมพันธุ์ไม้ ต่างๆ
4. ในเวลาเย็น เป็ นการพรรณนาชมนกต่ างๆ
5. ในยามคา่ คืน เป็ นบทจบด้ วยการเห่ ครวญถึงนางผู้เป็ นที่รัก
ในเวลาเช้ า
เป็ นการพรรณนากระบวนเรือพยุหยาตราทางชลมารค ซึ่ง
ประกอบด้ วยเรือพระทีน่ ั่งกิง่ และเรือทีม่ ีโขนเรือเป็ นรู ปสั ตว์
ต่ างๆ ได้ แก่ เรือครุ ฑหยุดนาค เรือไกรสรมุข เรือสมรรถชัย
เรือสุ วรรณหงส์ เรือชัย เรือคชสี ห์ เรือราชสี ห์ เรือม้ า
เรือสิ งห์ เรือนาคา (วาสุ กรี) เรือมังกร เรือเลียงผา เรืออินทรี
เรื อสุ วรรณหงส์
เรือมังกร
เรือครุฑหยุดนาค
เรือเอกชัยเหินหาว
เรือพระทีน่ ั่งอเนกชาติภุชงค์ รัชกาลที่ 5
เรือพระที่นั่งอนันตนาคราช รัชกาลที่ 6
เรือพระทีน่ ั่งนารายณ์ ทรงสุ บรรณ รัชกาลที่ 9