พระลอ - WordPress.com

Download Report

Transcript พระลอ - WordPress.com

ลิลิตพระลอ
สมัยที่แต่ งและผู้แต่ ง
-ไม่ปรากฏสมัยที่แต่งและชื่อผู้แต่ง
-สันนิษฐานแตกต่างกันเป็ น ๒ ฝ่ าย
ฝ่ ายแรกเห็นว่าแต่งขึ ้นในสมัยอยุธยาตอนต้ น
ฝ่ ายที่สองเห็นว่าแต่งขึ ้นในสมัยอยุธยาตอนกลาง
-ส่วนใหญ่สนั นิษฐานว่าแต่งในช่วงสมัยสมเด็จพระ
บรมไตรโลกนาถถึงสมัยสมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๒
หรื อกว่านันเล็
้ กน้ อย
สมเด็จพระเจ้ าบรมวงศ์ เธอ
กรมพระยาดารงราชานุภาพ
สันนิษฐานว่าแต่งก่อนรัชกาลสมเด็จพระ
นารายณ์มหาราช เพราะหนังสือจินดามณี
ของพระโหราธิบดีกวีในสมัยนันได้
้ คดั โคลง
บทหนึง่ จากลิลิตพระลอมาเป็ นแบบอย่าง
ในการแต่งโคลงสี่สภุ าพที่มีฉนั ทลักษณ์
ถูกต้ อง
รัชกาลสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
นิยมแต่งด้ วยคาประพันธ์ประเภทลิลติ
เพราะในสมัยนันยั
้ งไม่เห็นความสาคัญของ
คณะละเอกโทเท่ากับการใช้ คา จึงควรถือ
เป็ นยุติวา่ แต่งในสมัยกรุงศรี อยุธยาตอนต้ น
ระหว่าง พ.ศ. ๑๙๙๑ ถึง พ.ศ. ๒๐๗๖ นัน่
คือ สมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
ส่วนผู้แต่งนันอาจจะเป็
้
นพระเจ้ า
แผ่นดินพระองค์ใดพระองค์หนึง่ ใน ๓
พระองค์ ดังแผนภูมิ
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
(พ.ศ.๑๙๙๑-๒๐๓๑)
สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ ๓ สมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๒
(พ.ศ.๒๐๓๑-๒๐๓๔)
(พ.ศ.๒๐๓๔-๒๐๗๓)
(โอรส)
(โอรส)
สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ ๔
(หน่อพุทธางกูร)
(พ.ศ.๒๐๗๓-๒๐๗๖)
(โอรส)
หม่ อมราชวงศ์ สุมนชาติ สวัสดิกุล
สันนิษฐานสมัยที่แต่งลิลิตพระลอโดยใช้
หลักฐานด้ านต่าง ๆ มาพิจารณาถึง ๕
ด้ าน คือ ด้ านฉันทลักษณ์ ด้ านภาษา
ด้ านประวัติศาสตร์ ด้ านอักษรศาสตร์
ด้ านโบราณคดีและประเพณี
ด้ านฉันทลักษณ์
ลิลิตพระลอแต่งด้ วยคาประพันธ์
ประเภทโคลงกับร่าย โคลงมีทงชนิ
ั ้ ดโคลง
โบราณ โคลงดัน้ และโคลงสี่สภุ าพ ส่วน
ร่ายมีทงร่
ั ้ ายโบราณและร่ายดัน้ เช่นเดียวกับ
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนต้ น
โคลงสี่สภุ าพที่ปรากฏในลิลิตพระลอก็
มิได้ ปรากฏเป็ นโคลงสี่สภุ าพที่ถกู ต้ องตาม
ฉันทลักษณ์ทงหมด
ั้
บางบทมีลกั ษณะผสม
ของโคลงสี่ดนปะปนอยู
ั้
ด่ ้ วย
โคลงสี่สุภาพที่มีโคลงดัน้ ปน
หมื่นขุนถ้ วนหน้ าส่า
อย่าใคร่อย่าคิดเคือง
สมภารส่งสองเรื อง
สองราชควรท้ าวไท้
หัวเมือง ก็ดี
สวาทไหม้
สองรุ่ง มานา
ธิราชผู้มีบุญฯ
โคลงสี่สุภาพที่มีโคลงโบราณและโคลงดัน้ ปน
ตาเสือเสือผาดเผ้ ง
กวางแนบหูกวางฟาน
ช้ างน้ าวหมูบ่ งทราง
ช้ างลอดอ้อยช้ างเหล้ น
มองทาง
ฟิ กเร้ น
ซอนอยู่
ป่ าลี้ลับดง
วรรคสุดท้ ายของบาทที่ ๔ ในคาประพันธ์บางบท
มีคาเกินจากฉันทลักษณ์ของโคลงดันวิ
้ วิธมาลี
ปกติ ๒ คา
สรวลเสียงขับอ่านอ้ าง
ฟั งเสนาะใดปูน
เกลากลอนกล่าวกลการ
ถวายบาเรอท้ าวไท้
ใดปาน
เปรี ยบได้
กลกล่อม ใจนา
ธิราชผู้มีบุญฯ
ฉันทลักษณ์เช่นนี ้ แสดงให้ เห็นว่าลิลิตพระ
ลอแต่งในช่วงหัวเลี ้ยวหัวต่อที่มีการพัฒนาการ
แต่งโคลงจากโคลงสี่ดนและโคลงโบราณมาเป็
ั้
น
โคลงสี่สภุ าพ ฉะนันลิ
้ ลิตพระลอน่าจะแต่งขึ ้นใน
สมัยอยุธยาตอนต้ น แต่ไม่ก่อนสมัยสมเด็จพระ
บรมไตรโลกนาถ และไม่ถงึ สมัยอยุธยาตอนกลาง
เพราะวรรณคดีที่แต่งในสมัยอยุธยาตอนกลาง
และตอนปลายโคลงสี่สภุ าพจะมีลกั ษณะถูกต้ อง
ตามฉันทลักษณ์แล้ ว
ด้ านภาษา
ลิลิตพระลอมีถ้อยคาภาษาคล้ ายคลึง
กับสมัยสุโขทัยมากกว่าสมัยอยุธยาตอนกลาง
เจ็บเผือว่าแหนงตาย
ดีกว่า ไส้ นา
พี่เผือผู้อ้ายตายจากเผือเตียมแต่ยงั เล็ก
(จารึกหลักที่ ๑)
เมืองกว้ างช้ างอัศวสู้
ละเสีย อ่อนเอย
อาจปราบฝูงข้ าเสิก มีเมืองกว้ างช้ างหลาย
(จารึกหลักที่ ๑)
ด้ านอักษรศาสตร์
ลิลิตพระลอแต่งก่อนสมัยสมเด็จพระนารายณ์
-เพราะพระมหาราชครูนาโคลงในลิลิตพระลอ
มาเป็ นโคลงแม่แบบ
-เพราะพระศรี มโหสถเมื่อแต่งกาพย์หอ่ โคลงได้
กล่าวถึงเรื่ องพระลอ
เกรื อกเปรี ยบเทียบพระลอ
ทาอุดรสนุกเสน่หา
กลก่อลอราชร้ าง
บ่สอู่ ยูอ่ าสา
ทาอุดรสนุกเสน่หา
เขายิงสิง่ สรรพร้ อย
บ่สขู่ อต่ออาสา
ปื นยาพิศม์ติดตรึงตาย
เมืองมา
หนึง่ น้ อย
สองราช
ร่างเร้ าเสียสกนธ์
ด้ านประวัตศิ าสตร์
ลิลิตพระลอกล่าวถึงการทาสงคราม
ระหว่างไทยกับลาว (ล้ านนา) ว่า “ฝ่ าย
ข้างยวนแพ้พา่ ย ฝ่ ายข้างลาวประลัย
ฝ่ ายข้างไทยไชเยศ”
เป็ นสงครามสมัยสมเด็จพระบรมไตร
โลกนาถ กับพระเจ้ าติโลกราช แห่งล้ านนา
ด้ านประเพณีและโบราณคดี
ลิลติ พระลอไม่ได้ แต่งสมัยสมเด็จพระนารายณ์
เพราะลิลติ พระลอกล่าวถึงการบรรจุพระศพพระลอ
ในโลงมิได้ บรรจุในโกศซึง่ เป็ นธรรมเนียมตังแต่
้ สมัย
พระเอกาทศรถแล้ ว
ลิลติ พระลอกล่าวถึงการบรรจุพระธาตุพระลอ
พระเพื่อน พระแพง เรี ยงกันในเจดีย์น่าจะได้ แรง
บันดาลใจจากสมัยสมเด็จพระรามธิบดีที่ ๒
ลิลติ พระลอกล่าวถึงพระบาทสร้ อยสรรเพชญ์
น่าจะได้ อิทธิพลจากการสร้ างพระศรี สรรเพชญ์
สมัยพระรามาธิบดีที่ ๒
วิภา กงกะนันทน์
กวีผ้ แู ต่งลิลิตพระลอน่าจะเป็ นเจ้ านาย
สตรี ในราชสานักสมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๒ แห่ง
กรุงศรี อยุธยา และอาจเป็ นกวีคนเดียวกับผู้แต่ง
วรรณคดีเรื่ องยวนพ่าย
นอกจากนี ้ยังสันนิษฐานว่า เมืองสรวง
ของพระลอมิได้ ตงอยู
ั ้ ใ่ นเขตจังหวัดภาคเหนือ
แต่ตงอยู
ั ้ ท่ ี่อาเภอเมืองสรวง จังหวัดร้ อยเอ็ด
ดวงมน จิตร์ จานงค์
ลิลิตพระลอแต่งในสมัยอยุธยาตอนต้ น
ประมาณสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ เพราะ
กล่าวชื่นชมที่กษัตริ ย์อยุธยาทรงเอาชนะกษัตริ ย์
ล้ านนาได้ สงครามเช่นเดียวกับลิลิตยวนพ่าย
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถได้ ทรงตังเมื
้ อง
พิษณุโลกเป็ นราชธานี ทาให้ ราชสานักรับวัฒนธรรม
ตานาน และนิทานจากอาณาจักรล้ านนา เรื่ อง
พระลอก็น่าจะเข้ ามาสูร่ าชสานักในครัง้ นันด้
้ วย
ชลดา เรืองรักษ์ ลิขิต
ลิลิตพระลอแต่งในสมัยอยุธยาตอนต้ น
เนื่องจากมีการใช้ ถ้อยคา สานวน และฉันท
ลักษณ์ คล้ ายคลึงและตรงกับกลุม่ วรรณคดี
สมัยอยุธยาตอนต้ น เช่น ลิลิตโองการแช่งน ้า
ลิลิตยวนพ่าย มหาชาติคาหลวง ทวาทศมาส
กาสรวลโคลงดัน้ อนิรุทธคาฉันท์ และสมุทร
โฆษคาฉันท์
นิยะดา เหล่ าสุนทร
ลิลิตพระลอแต่งในสมัยอยุธยาตอนต้ นแน่นอน และ
แต่งก่อนสมัยสมเด็จพระนเรศวรมหาราช สมเด็จ
พระเอกาทศรถ และสมัยสมเด็จพระนารายณ์
มหาราช เพราะลิลิตพระลอใช้ คาว่า “อโยธยา” ไม่ใช่
“อยุธยา” การใช้ คาว่า “อยุธยา” ปรากฏช่วงที่มีการ
เสียราชธานี ลิลิตพระลอจึงน่าจะแต่งก่อนสมัย
สมเด็จพระนารายณ์มหาราชอย่างแน่นอน
ลิลิตพระลอน่าจะแต่งในสมัยสมเด็จพระชัย
ราชาธิราช (พ.ศ. ๒๐๗๗-๒๐๘๙) โดยพิจารณา
จากหลักฐานการใช้ ปืนไฟในการทาสงคราม
เนื่องจากปื นไฟเริ่ มมีใช้ ในสมัยสมเด็จพระ
รามาธิบดีที่ ๒ โดยชาวโปรตุเกส จึงน่าจะแต่งขึ ้น
หลังจากสมัยสมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๒ และ
น่าจะแต่งขึ ้นในสมัยสมเด็จพระชัยราชาธิราช
โอรสของสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ ๔ (หน่อ
พุทธางกูร) ซึง่ สมัยนี ้ปรากฏหลักฐานว่าได้ ทา
สงครามชนะเชียงใหม่เช่นกัน
ที่มาของเรื่ องพระลอ
พระวรเวทย์ พสิ ิฐ
พระลอเป็ นเรื่ องนิยายประจาถิ่นทาง
ภาคเหนือ มีเค้ าโครงเรื่ องว่าเกิดขึ ้น
ในแคว้ นล้ านนาระหว่าง พ.ศ. ๑๖๑๖
ถึง ๑๖๙๓
หม่ อมราชวงศ์ สุมนชาติ สวัสดิกุล
เรื่ องพระลอน่าจะเป็ นเรื่ องจริ ง
พระลอเป็ นวีรบุรุษที่มีชีวิตร่ วมสมัยกับ
ท้ าวฮุ่งท้ าวเจือง และครองเมืองกาหลง
มีนามว่า แถนลอ
เมืองกาหลงเป็ นเมืองขึ ้นของท้ าวเจือง
ในเรื่ องนี ้แถนลอได้ มาช่วยฟ้าฮ่วนรบ
กับท้ าวเจือง
ดวงมน จิตต์ จานง
เรื่ องพระลอคงเป็ นนิทานเก่าแก่ก่อนสมัยพ่อ
ขุนมังรายรวมบ้ านเมืองเป็ นอาณาจักร
ล้ านนา เพราะในตอนต้ นเรื่ อง ได้ กล่าวถึงการ
สงครามระหว่างเมืองสรวงและเมืองสรอง
แสดงว่า พระลอเป็ นเรื่ องที่เกิดขึ ้นมาแต่
โบราณ สมัยที่คนไทยยังแยกกันเป็ นเมืองเล็ก
เมืองน้ อย และน่าจะอยูก่ ่อนสมัยขุนเจืองซึง่
เป็ นกษัตริ ย์แห่งอาณาจักรไทยในบริ เวณที่
ราบลุม่ แม่น ้าโขง
ชลดา เรืองรักษ์ ลิขิต
เนื ้อหามาจากวรรณกรรมพื ้นบ้ านของไทเขิน
เรื่ อง อลองเจ้ าสามลอ ต่อมาได้ แพร่กระจาย
มายังอาณาจักรล้ านนา
เนื ้อหามาจากพงศาวดารโยนก น่าจะเป็ นเรื่ องจริ ง
ปรากฏเรื่ องแถนลออยูด่ ้ วย ซึง่ แพร่กระจายมายังกรุง
ศรี อยุธยา เมื่อครัง้ ที่สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถได้
เสด็จไปประทับที่เมืองพิษณุโลกและได้ ทรงสถาปนา
พิษณุโลกเป็ นราชธานี ทาให้ กวีในราชสานักนามา
แต่งวรรณคดีเรื่ องลิลิตพระลอ
สถานที่กาเนิดเรื่องพระลอ
เมืองสรอง
อยูท่ ี่อาเภอสองในจังหวัดแพร่
เมืองสรวง
ยังไม่ยตุ ิ มีผ้ สู นั นิษฐานไว้ ๔ แห่ง
๑. เวียงกาหลง อาเภอป่ าเป้า จังหวัดเชียงราย
๒. อาเภอแม่สรวย จังหวัดเชียงราย
๓. เมืองกาหลง อาเภอแจ้ หม่ จังหวัดลาปาง
๔. เมืองลอ จังหวัดพะเยา
วิภา กงกะนันท์
เมืองสรวงอยูท่ ี่อาเภอเมืองสรวง จังหวัด
ร้ อยเอ็ด เพราะมีร่องรอยของเมือง
โบราณ อายุราว ๒,๐๐๐ ปี ในบริ เวณ
ใกล้ เคียง และชื่อเมืองก็เป็ นชื่อดังเดิ
้ มที่
มีมานาน มิใช่ตงขึ
ั ้ ้นใหม่ตามอิทธิพล
เรื่ องลิลิตพระลอ
การวิเคราะห์ ลิลิตพระลอ
โครงเรื่อง
โครงเรื่องหลัก
ความรักบนความขัดแย้ งของสองตระกูล
โครงเรื่องรอง
ความรักของพระนางบุญเหลือ : รักแท้
ของแม่ มิอาจสู้รักแท้ ของหนุ่มสาว
ความรักของพี่เลีย้ งทัง้ สี่ : รักแรกพบที่
เร่ าร้ อนและรุ นแรง
แก่ นเรื่อง
ความรักของหนุ่มสาวเป็ นความรักที่มี
อานุภาพรุนแรงมากกว่าความรักอื่นใด
แม้ อปุ สรรคหรื อกรอบเกณฑ์ใดก็มิอาจ
กีดกันหรื
้ อขัดขวางได้
ฉากและบรรยากาศ
สงครามเมืองสรวงกับเมืองสรอง :
ปมแห่งโศกนาฏกรรม
แม่น ้ากาหลง
สวนขวัญ
สามพระองค์อิงกัน ยืนอยูฉ่ นั บมิตาย :
รักแท้ ที่ความตายมิอาจพรากได้
ตัวละคร
พระลอ
พระเพื่อนและพระแพง
พี่เลีย้ งทัง้ สี่ : นายแก้ ว นายขวัญ นางรื่น
และนางโรย
พระนางบุญเหลือ
เจ้ าย่ า
ปู่ เจ้ าสมิงพราย
ท้ าวพิชัยพิษณุกร
ไก่ แก้ ว
กลวิธีการนาเสนอเรื่องในลิลิตพระลอ
• ขึ ้นต้ นด้ วยบทไหว้ ครูที่กล่าวถึงการ
สงคราม
• เริ่ มเรื่ องด้ วยความขัดแย้ งของเมืองสอง
เมือง เป็ นผลให้ เมืองทังสองเป็
้
นศัตรูกนั
• จบเรื่ องแบบโศกนาฏกรรม
• ตังชื
้ ่อตัวละครสอดคล้ องสัมพันธ์กบั โครง
เรื่ องและแก่นเรื่ อง
• เดินเรื่ องฉับไว
• แทรกบทสนทนา ทาให้ เรื่ องดูสมจริ ง
• แทรกบทนิราศ ทาให้ เรื่ องน่าสนใจและ
สะท้ อนอารมณ์ความรู้สกึ ของตัวละครได้
อย่างดี
• แทรกบทสระสรงทรงเครื่ อง บทสัง่ ห้ อง บท
ชมสวน บทจัดทัพ และยกทัพ ทาให้ มี
โอกาสแสดงฝี มือ
• ใช้ สตั ว์เป็ นตัวดาเนินเรื่ อง
• ใช้ นกเป็ นสื่อสะท้ อนอารมณ์ความรู้ สกึ ของ
ตัวละคร
• นาเสนอวิธีการสอนที่น่าสนใจ
การใช้ ถ้อยคาภาษาในลิลิตพระลอ
การเล่นเสียงสัมผัสพยัญชนะ
การเล่นคาซ ้า
การเล่นคาซ ้าที่ไม่มีการเปลี่ยนแปลงรูปคา
การเล่นคาซ ้าชนิดที่มีการเปลี่ยนแปลงรูปคา
การเล่นคาซ ้ากัน
การเล่นคาซ ้ากันโดยไม่กาหนดตาแหน่ง
การเล่นคาซ ้ากันโดยกาหนดตาแหน่ง
การเล่นคาพ้ องเสียง
การใช้ ภาพพจน์ ในลิลิตพระลอ
อุปมา
อุปลักษณ์
อติพจน์
บุคลาธิษฐาน
คาถามเชิงวาทศิลป์
รสของวรรณคดีในเรื่องพระลอ
ศฤงคารรส
เราทรรส
วีรรส
พีภตั สรส
ศานตรส
หาสยรส
กรุณารส
ภยานกรส
อัทภุตรส
รสแห่งความทราบซึ ้งในความรัก
รสแห่งความโกรธเคือง
รสแห่งความชื่นชมในความกล้ าหาญ
รสแห่งความน่ารังเกียจหรื อความน่าเบื่อ
รสแห่งความสงบ
รสแห่งความตลกขบขัน
รสแห่งความสงสาร
รสแห่งความหวาดกลัวหรื อน่ากลัว
รสแห่งความอัศจรรย์ใจ
อิทธิพลของลิลิตพระลอที่มีต่อวรรณคดี
ในสมัยต่ อ ๆ มา
•อิทธิพลของลิลิตพระลอด้ านถ้ อยคาสานวน
•ใช้ คาหรื อคาสร้ อยเลียนแบบลิลิตพระลอ
เช่น กระหมัง่ แลนา แก่แม่รา
•ใช้ สานวนเปรี ยบเทียบคล้ ายคลึงกัน
•ใช้ คาแทนตัวละคร
•ใช้ สานวนการเตือนสติของพี่เลี ้ยงตัวเอก
ฝ่ ายชาย
•อิทธิพลของลิลิตพระลอด้ านกลวิธีการแต่ง
•ใช้ กลวิธีการแต่งแบบลิลิตพระลอ เช่น
บทนิราศ บทสัง่ ห้ อง บทชมไม้
•ใช้ สตั ว์เป็ นตัวดาเนินเรื่ อง
•ใช้ นกเป็ นสื่อแสดงอารมณ์ความรู้ สกึ
ของตัวละคร
•ชมความงามของตัวเอกโดยผ่านตัว
ละครอื่น
อิทธิพลของลิลิตพระลอที่มีต่องาน
สร้ างสรรค์ ในรูปแบบอื่น
•อิทธิพลของลิลติ พระลอที่มีตอ่ การสร้ างสรรค์
วรรณกรรม
•พระลอในรูปแบบบันเทิงคดี
•พระลอในรูปแบบคาสอน
•พระลอในรูปแบบงานวิชาการ
•อิทธิพลของลิลติ พระลอที่มีตอ่ การสร้ างสรรค์ศิลปะ
•พระลอในนาฏศิลป์และคีตศิลป์
•พระลอในจิตรกรรม
•พระลอในประติมากรรม
พระลอในรู ปแบบบันเทิงคดี
รูปแบบบันเทิงคดีประเภทร้ อยแก้ ว
• นิทานเรื่องพระลอร้ อยแก้ ว ของ เชื ้อชื่น ศรี ยาภัย
• นิทานเรื่องพระลอ ของ พรจันทร์ จันทวิมล
• นิยายเรื่องเจ้ าสามลอกับนางฮุบมิ ของ พรพิมล
วุฒิลกั ษณ์
• นวนิยายเรื่ องรั กที่ถูกเมิน (๒๔๙๙) ของ นิตยา นาฏย
สุนทร
• เรื่องสัน้ เรื่องเพื่อนแพง ของ ยาขอบ
• นวนิยายเรื่องรักที่ต้องมนตรา (๒๕๔๔) ของ ทมยันตี
• เรื่องคาสารภาพของลอราช ของ เอมอร ชิตตะโสภณ
การแสดงละครพันทางเรื่ องพระลอของ
กรมศิลปากร จัดโดยมหาวิทยาลัย
ศิลปากร เมื่อวันที่ ๒๐ เมษายน ๒๕๓๖
บทละครเรื่องพระลอ
• THE MAGIC LOTUS พระนิพนธ์ของพระ
เจ้ าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้ าเปรมบุรฉัตร
• บทละครเรื่อง PRA LAW ของ สุรพล
วิรุฬห์รักษ์
• บทละครพูดร้ อยแก้ วเรื่ องลอดิลกราช
ของ ภัทราวดี ศรี ไตรรัตน์
รูปแบบบันเทิงคดีประเภทร้ อยกรอง
บทละครเรื่องพระลอประเภทร้ อยกรอง
• บทละครเรื่องพระลอนรลักษณ์ พระนิพนธ์สมเด็จ
พระบวรราชเจ้ ากรมพระราชวังบวรมหาศักดิพลเสพ
• บทละครเรื่องพระลอ ของเจ้ าพระยาเทเวศร์ วงศ์
วิวฒ
ั น์ (หม่อมราชวงศ์หลาน กุญชร)
• บทละครพันทางเรื่องพระลอ พระนิพนธ์ของพระ
เจ้ าบรมวงศ์เธอ กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์
• บทละครตาโบลวิวังต์ (Tableaux
Vivantes) เรื่องพระลอ พระนิพนธ์
สมเด็จพระเจ้ าบรมวงศ์เธอ เจ้ าฟ้า
กรมพระยานริ ศรานุวดั ติวงศ์
• บทละครชาตรีเรื่องพระลอ ของ
นายจีน
• บทละครเพลงเรื่องพระลอ ของ
สุธิวงศ์ พงศ์ไพบูลย์
• ลิลิตพระฦๅ เป็ นนิพนธ์ที่หลวงศรี มโหสถ
(กลัด)
• พระลอคากลอน ของหลวงทวยหาญ
รักษา (เพิ่ม)
• ค่ าวซอพระลอ ของท้ าวสุนทรพจนกิจ
• ผะหญาล้ านนาตอนพระลอคาคร่ าว
(๒๕๕๑) ของ นิคม พรหมมาเทพย์
• ค่ าวลิลิตพระลอ ของ สมถวิล เทพยศ
พระลอในรูปแบบคาสอน
พระลอสอนโลก หรื อบทกะโลงพระลอสอนโลก
ของ พระภิกษุลานนา สีโหภิกขุ
ตารา
• คู่มือลิลิตพระลอ ของพระวรเวทย์พิสิฐ
• พระลอลิลิต หนังสือประชุมวรรณคดีไทย
ภาค ๒ ของนายตารา
ณ เมืองใต้ และ
ฉันทิชย์ กระแสสินธุ์
• หนังสืออ่ านกวีนิพนธ์ เรื่องลิลิตพระลอ
ของกระทรวงศึกษาธิการ
• อ่ านลิลิตพระลอ : ฉบับวิเคราะห์ และ
ถอดความ ของ ชลดา เรื องรักษ์ ลิขิต
• วรรณกรรมสมัยอยุธยา เล่ ม ๑ กรม
ศิลปากร
• ชุมนุมเรื่องพระลอ
• ลิลิตพระลอ : ข้ อสังเกต ของ ดิเรกชัย
มหัทธนะสิน
• ลิลิตพระลอฉบับถอดความและ
อธิบายศัพท์ ของ วรพล สุทธินนั ท์
• พระลอ ของ อุทยั ไชยานนท์
ลิลิตพระลอ
ฉบับถอดความ
และอธิบายศัพท์
ของ
วรพล สุทธินนั ท์
วิทยานิพนธ์ งานวิจัย และหนังสือ
• การศึกษาเชิงวิเคราะห์ ลิลิตพระลอทางภาษา ของ
สุภาพรรณ จารุเทวินทร์
• "แนวคิดทางปรัชญากับการศึกษาวรรณคดี" ใน
วรรณคดีวิจารณ์ : พระลอ กามนิต คุณย่ าเพิง้
ลูกผู้ชาย ดร.ลูกทุ่ง ริชาร์ ด คอรีย์ (Richard Cory)
• วิเคราะห์ เรื่องพระลอ เงาะป่ า และมัทนะพาธา
ตามทฤษฎีโศกนาฏกรรมของอริสโตเติล ของ
วราภรณ์ บารุงกุล
• PHRA LO; A Portrait of the Hero as Tragic Lover
ของ วิภา กงกะนันทน์
• บทวิเคราะห์ ลิลิตพระลอในเชิงวิจารณ์ ของ ดวงมน
จิตรจานงค์
• ภาพของพระลอที่ปรากฏในบทละคร ของ บุญยืน
สุวรรณศรี
• วิเคราะห์ พฤติกรรมของพระเวสสันดร พระลอ
ขุนแผน และอิเหนา ตามแนวจริยศาสตร์ ของ พีระ
พันธุ์ บุญโพธิ์แก้ ว
• ปริศนาธรรมในวรรณคดีเพื่อชีวิต พระลอ ของ
พระวรศักดิ์ วรธมฺโม
• ข้ อมูล สมมุตฐิ านและทฤษฎีใหม่ เกี่ยวกับกวีนิพนธ์
เรื่องยวนพ่ ายและลิลิตพระลอ ของ วิภา กงกะนันทน์
• การศึกษาวิเคราะห์ ความเปลี่ยนแปลงของ
วรรณกรรมแนวเรื่องพระลอ (๒๕๔๐) ของ สร้ อยสน
สกลรักษ์
• ความตายของตัวละครเอกในวรรณคดีไทย
ของ วาสนา ศรี รักษ์
• Thai Literary Transformation : An Analytical
Study of the Modernization of Lilit Phra Lor
ของ สร้ อยสน สกลรักษ์
• วิถีไทยในลิลิตพระลอ ของ น.ท.สุมาลี วีระวงศ์
• จากลิลิตพระลอสู่รักที่ต้องมนตรา ของ จรัสพร
รุ่งเจริญชัย
บทความวิชาการ
• "ความแพร่ หลายของเรื่องพระลอ" ของ
ม.ร.ว.สุมนชาติ สวัสดิกลุ
• "สอบสวนเรื่องแต่ งพระลอ" ของ
ม.ร.ว.สุมนชาติ สวัสดิกลุ
• "สันนิษฐานผู้แต่ งลิลิตพระลอ" ของ ฉันทิชย์
กระแสสินธุ์
• "ลิลิตพระลอ…วรรณคดีศักดินา" ของ อินทรยุธ
(อัศนี พลจันทร์ )
• "แก่ นแท้ ของเรื่องพระลอ" ของ อัมพร ชวนปรี ชา
• "วิจารณ์ ลิลิตพระลอ" ของ ม.ล.บุญเหลือ
เทพยสุวรรณ
• "ลิลิตพระลอ : การศึกษาวิจารณ์ ตามแนวพุทธ
ปรัชญา" ของ ชลธิรา กลัดอยู่
• "สุนทรียภาพในลิลิตพระลอ" ของ ชลธิรา กลัดอยู่
• "พระลอ" ของ ศุภร บุนนาค
• "สมมุตฐิ านเกี่ยวกับถิ่นและยุคสมัยของพระลอ"
ของ พีรชาติ ลีรวัฒนางกูร
• "บทวิจารณ์ เรื่องลิลิตพระลอ" ของ จุไรรัตน์
หมัน่ พงษ์ สถาพร
• "ทัศนะเรื่องพระลอกับปู่ เจ้ าสมิงพราย" ของ วิภา
กงกะนันทน์
• "โต้ ทศั นะของวิภา กงกะนันทน์ เรื่องพระลอกับ
ปู่ เจ้ าสมิงพราย" ของ ดวงมน จิตร์ จานงค์
• "ช่ องว่ างระหว่ างหลักฐานข้ อมูลการตีความและ
ข้ อสรุ ปเรื่องผู้ประพันธ์ ลิลิตพระลอและยวนพ่ าย"
ของ นาวาอากาศโทหญิง สุมาลี วีระวงศ์
• "วาทกรรมทาเหตุในลิลิตพระลอ" ของ นพพร
ประชากุล
• "ภาพลักษณ์ ของพระลอ : รอยรูปในกาลเวลา" ของ
นพพร ประชากุล
• "ลิลิตพระฦๅ วรรณกรรมที่ดัดแปลงจากลิลิต
พระลอ" ของ วรางคณา ศรี กาเหนิด
• "ความรักและความตายในลิลิตพระลอ" ใน
สุนทรียภาพแห่ งชีวิต ของ รื่ นฤทัย สัจจพันธุ์
พระลอในนาฏศิลป์และคีตศิลป์
• เพลงตับเจริญศรี จากบทละครเรื่ องพระลอของ
เจ้ าพระยาเทเวศร์ วงศ์วิวฒ
ั น์
• เพลงลาวครวญ จากบทละครพันทางเรื่ องพระลอ
องพระเจ้ าบรมวงศ์เธอ กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์
• เพลงลาวจ้ อย จากเรื่ องลิลิตพระลอตอนชมความ
งามไก่
พระลอในจิตรกรรม
• พระลอภาพวิจิตร โดย เหม เวชกร
• ภาพเขียนจากเรื่องพระลอ ของ
จักรพันธุ์ โปษยกฤต ศิลปิ นแห่งชาติ
• ภาพจิตรกรรมเรื่องพระลอของ
นายทรงประพันธ์ ยกย่อง
• ภาพประกอบในหนังสือการ์ ตนู เรื่ อง
พระลอ : หนังสือชุดภาพและการ์ ตนู
ของ สมควร สกุลทอง
ภาพจิตรกรรมของ
เหม เวชชกร
ภาพจิตรกรรมผลงานของ
จักรพันธุ โปษยกฤต
พระลอตามไก่
พระลอเข้ าสวนปลอม
เป็ นพราหมณ์
พระลอพบพระเพื่อน
และพระแพง
พระลอลานางลักษณวดี
พระลอเสี่ยงนา้
พระลอตามไก่
พระลอเข้ าสวน
• ภาพการ์ ตนู ในวรรณกรรมการ์ ตนู
•พระลอ ของ ภร ขจรศักดิ์
•การ์ ตนู วรรณคดีชดุ นิทานไทย ของ ต้ นอ้ อ
แกรมมี่
•นิทานวรรณคดีล้านนา พระลอ ของ คาคึ
•เล่าตานานนิทานสี่ภาค : ตานานยอดดอย
(ภาคเหนือ) ของ สรรัตน์ จิรบวรวิสทุ ธิ์
นิทานวรรณคดีล้านนา
พระลอ
ของ
คาคึ
พระลอในประติมากรรม
ประติมากรรมตอน “สามองค์อิงกัน ผันหน้า
ต่อศัตรู พิศดูดงั นฤมิ ตร สิ้ นชีพิตพร้อมกัน
ยืนอยู่ฉนั บมิ ตาย” ที่วดั พระธาตุพระลอ
อาเภอสอง จังหวัดแพร่
อนุสาวรี ย์พระลอ พระเพื่อน
และพระแพง
ที่อาเภอสอง จังหวัดแพร่
พระธาตุพระลอ ที่อาเภอสอง
จังหวัดแพร่
แง่ คิดที่ได้ จากเรื่องพระลอ
•
•
•
•
แง่คิดเรื่ องกรรม
แง่คิดเรื่ องการให้ อภัย
แง่คิดเรื่ องความจงรักภักดี
แง่คิดเรื่ องศักดิ์ศรี