เอกสารการประชุม (6.62 MB.)

Download Report

Transcript เอกสารการประชุม (6.62 MB.)

การประชุมปฏิบตั ิ การแนวคิดการดาเนินงานป้ องกันแก้ไขปัญหา
เอดส์ ผ่านกลไกการดาเนินงานอาเภอป้ องกันควบคุมโรคเข้มแข็ง
แบบยังยื
่ นระดับตาบล
วันที ่ ๒๑ – ๒๓ มกราคม ๒๕๕๖
ณ ปัญจดารา จ.นครราชสีมา
กิจกรรมที่ ๑ : แนะนำตัว/ควำมคำดหวัง/ชี้แจงกำหนดกำร
• แนะนาตัว ชื่อ สกุล การทางาน
• แจกหัวใจ
• เขียนความคาดหวัง หรือ สิ่งที่ต้องการรูม้ ากขึน้ ในการอบรม
๓ วันนี้
• นาเสนอข้อมูลในกลุ่มใหญ่
ความต้องการ/คาดหวัง
• สิ่งใหม่ ๆ เช่ น เรื่องเพศ
• อยากแก้ ปัญหาเด็กท้ อง
• รู้จักภาคีตาบลอื่น
• แนวทาง ที่จะช่ วยเด็ก ป้องกัน
• หลักการทางานในตาบลให้ ทาได้ การตัง้ ครรภ์ ในวัยรุ่ น
ความต้ องการ/คาดหวัง/รู้เพิ่ม
•
•
•
•
•
จริง
แนวนโยบายการทางาน
งบประมาณในการทางาน
ปั ญหายาเสพติด
แก้ ปัญหารถโบราณ
เทคนิค/ทักษะ การบอกให้
เยาวชน เชื่อฟั ง
วัตถุประสงค์
1)
2)
3)
4)
เพื่อสร้ างความร่วมมือ ความเข้ าใจ และแรงบันดาลใจ
สร้ างความเข้ าใจเรื่ องเพศวิถี
สร้ างความเข้ าใจการพัฒนาเยาวชน
วางแผนในการแก้ ไขปั ญหาเยาวชนอย่างมีสว่ นร่วมให้ มี
คุณภาพและยัง่ ยืน
วัน
เช้า
(๐๘๓๐-๑๒๐๐)
๑
 พิธีเปิด แนะนาตัวรู้จกั กัน
 ชีแจงกาหนดการ สร้างข้อตกลง
 สถานี รเู้ ขา รู้เรา : ทบทวน
แนวทางการทางานเรื่องเพศและ
เอดส์กบั วัยรุ่น
 ทบทวนการเรียนรู้วนั วาน
 แลกน้า : สร้างความเข้าใจเรื่อง
การแพร่ระบาดเอชไอวี
 QQR : การจัดระดับความเสี่ยง
๒
๓
บ่าย
(๑๓๐๐-๑๗๐๐)
 เส้นชีวิต : หลักคิดสาคัญสาหรับการจัด
กระบวนการเรียนรู้เพศศึกษารอบด้าน
 เลือกข้าง : ทัศนคติและความเชื่อเรื่องเพศ
 สะท้อนการเรียนรู้ท้ายวัน




การสร้างความเข้าใจเรื่องวัยรุ่น
ย้อนรอยวัยรุ่น
ณัฐกับเมย์
การพัฒนาเยาวชนเชิงบวก
 ทบทวนการเรียนรู้/สรุปการ
 วางแผนการดาเนินงานในตาบลของตนเอง
ประชุม
 ปิดการประชุม
 วางแผนการดาเนินงานในตาบล
ของตนเอง
การรับรข้ ู องคน
10% การอ่าน
20% การฟัง
ดูภาพ-ภาพยนตร์
30% สิ่งที่เราเห็น
50% เห็น + ฟัง
70% สิ่งที่เราพูด
90% สิ่งที่เรา
ได้ลงมือทา
การอ่าน รับรจ้ ู ากการฟัง เห็น พูด
การฟั ง
รับรู้จากการ
มองเห็น
ชมสาธิต - ไปดูงาน
ร่วมอภิปราย + แสดงความคิดเห็น
ได้แสดง / อยู่ในสถานการณ์จาลอง
ลงมือทาจริง + สรุป (นาไปเล่าต่อ) ..
จากการมี
ส่วนร่วม
กระบวนการเรี ยนร้ ูผ่านประสบการณ์
(Experiential Learning) + 4 A Model
Do/Experience
ทากิจกรรม/
Apply
ประยุกต์ ใช้
มีประสบการณ์ร่วม
Analyze/Synthesize
คิด/วิเครำะห์ /สั งเครำะห์ /สรุ ป
Reflect
สะท้ อนสิ่ งทีเ่ รียนรู้
กรอบแนวคิดในการเอบรม
เพศวิถี
Sexuality
เยาวชน
กระบวนกำรเรียนรู้
แนวทางการให้ การศึกษาเรื่อง “ชีวิตและครอบครัวศึกษา” กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ, ๒๕๔๓ และ
A Comprehensive Sexuality Education, SIECUS, National Guidelines Task Force
ท้อง แท้ง HIV STI EQ
สำรเสพติด รุนแรง
GAP ของการดาเนินงานด้านสุขภาพในปัจจุบ ัน
• การมีสว่ นร่วม ของภาคียังไม่เป็ นจริง
“การดูแลสุขภาพเป็ นเรือ
่ งของสาธารณสุขเท่านัน
้ ”
• มีตวั ชวี้ ัด/นโยบายสงั่ การลงไปพืน
้ ทีม
่ าก
บางตัวชวี้ ัดไม่ตอบสนองต่อปั ญหาจริงในพืน
้ ที่
• ขาดการจั ด การข ้อมู ล ที่เ ป็ นระบบและมีคุณ ภาพเพื่ อ
ื่ มโยงข ้อมูลและการสง่
สะท ้อนรากของปั ญหา ขาดการเชอ
สะท ้อนข ้อมูลต่อภาคี
10
GAP ของการดาเนินงานด้านสุขภาพในปัจจุบ ัน
• กระบวนการวางแผนแก ้ไขปั ญหา ยังไม่ตอบการแก ้ปั ญหา
ที่ร ากและไม่ร อบด ้านเพีย งพอที่จ ะก่อ ให ้เกิด การปรั บ เปลี่ย น
่ ให ้ความรู ้ รณรงค์ เน ้นรักษา
พฤติกรรม ยังแก ้ทีป
่ ลายเหตุ เชน
มากกว่าป้ องกัน
• จนท.สว่ นใหญ่ไม่เข ้าใจแนวคิดการทางานเพือ
่ สง่ เสริมสุขภาพ
การแก ้ปั ญหายังทาเป็ นรายกิจกรรม ขาดความต่อเนื่อง ไม่ มอง
เชงิ ระบบ
“ ไม่มค
ี วามสาเร็จใด ทีค
่ ด
ิ เหมือนเดิม ทาเหมือนเดิม
แล ้วจะดีกว่าเดิม”
ทีม
่ า...จากการถอดบทเรียนภาคีเครือข่ายอาเภอควบคุมโรคเข ้มแข็ง ในการอบรมเชงิ ปฏิบัตก
ิ ารเรือ
่ ง
การจัดการเชงิ ระบบเพือ
่ พัฒนาการดาเนินงานอาเภอควบคุมโรคแบบยั่งยืน 14 ม.ค.-มี.ค.2554
11 11
นิยาม
“อาเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยังยื
่ น”
หมายถึง
อาเภอที่มีระบบและกลไกการบริหารจัดการ
การเฝ้ าระวัง ป้ องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพของพืน้ ที่
อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ทันสถานการณ์
12
12
ข้อตกลงร่วมกัน
•
•
•
•
มีส่วนร่ วมแลกเปลี่ยน
ตรงเวลา
รักษาความลับ
ปิ ดเสียงโทรศัพท์
กิจกรรมที ่ ๒ : สถานี “รู้เขารู้เรา”
๓. สถานี “รูเ้ ขารูเ้ รา”
คาถาม:
๑. วิถีชีวิตและพฤติกรรมทางเพศของเยาวชนที่เรารู้สึกเป็ นห่ วงคือ
๒. เรื่องเพศที่เยาวชนสนใจ ได้ แก่ ...
๓. เยาวชนเรียนรู้เรื่องเพศจากใคร หรือที่ใด
๔. สาเหตุท่ เี ยาวชนมีเพศสัมพันธ์ โดยไม่ ใช้ ถุงยาง คือ...
๕. การดาเนินงานเรื่องเอดส์ และลดพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศของ
เยาวชนที่ผ่านมาคือ
๖. ความท้ าทายในการดาเนินงานเรื่องเอดส์ และพฤติกรรมเสี่ยงทาง
เพศ คือ
แบ่ งกลุ่ม ๖ สถำนีเพือ่ ...
๑. วิเคราะห์และสรุปประเด็นสาคัญและตังข้
้ อสังเกตุ ที่
พบในแต่ละสถานี(๕ นาที)
๒. ส่งตัวแทนนาเสนอกลุม่ ละไม่เกิน ๒ นาที
๑.
วิถชี ีวติ และพฤติกรรมทำงเพศของเยำวชนทีเ่ รำรู้ สึกเป็ นห่ วงคือ
•
•
•
•
•
•
•
มีเพศสัมพันธ์
เข้ าถึงสื่อ
มั่วสุม ล่ าแต้ ม
มีแฟน
ทาแท้ ง
ติดโรค
มีsex ทาให้ แฟนรัก
เด็กเล่ าให้ ครูฟัง
ผู้หญิง ถ้ าเขามีเพศสัมพันธ์ เยอะ
กล้ าเล่ า ดูดี เพื่อนชื่นชม
แสดงความเป็ นฮีโร่
มีเพศสัมพันธ์ กันง่ าย
สาเหตุ ครอบครัว อยากสร้ าง
คุณค่ า สังคมให้ โอกาสเด็กแค่
ไหน วิถีชีวิตที่เปลี่ยนแปลงไป
ความอบอุ่นของครอบครัว สื่อ
17
๒.เรื่องเพศที่เยำวชนสนใจ ได้ แก่ ...
•
•
•
•
•
•
•
การเปลี่ยนแปลง
คุมกาเนิด
การยอมรับ
การช่ วยตัวเอง
การร่ วมเพศ
อกฟู รูฟิต
มีแฟนหลายคน
• ครู ควรสอนตัง้ แต่ อนุบาล
แต่ ถูกครูอ่ นื ๆไม่ เห็นด้ วย
18
๓.เยาวชนเรียนรูเ้ รือ่ งเพศจากใคร หรือที่ใด
• เพื่อน แฟน
• เน็ท
• พ่ อแม่ ญาติ
• รพ สต
โจทย์ ผู้ใหญ่ ครู
ทาให้ เด็กอยู่ได้ อย่ างปลอดภัย ครูบางคนด่ าๆ ยังไม่ ถงึ เวลา หยุด
ความคิดเด็ก ฟั งเด็ก ให้ ทางเลือก ยกตัวอย่ าง เรายอมรับฟั งเขา
จะคุยและเอาความคิดดี ไปใส่ ได้
19
๔.สาเหตุที่เยาวชนมีเพศสัมพันธ์โดยไม่ใช้ถงุ ยาง คือ...
•
•
•
•
•
•
•
•
•
เชย
ไม่ กล้ า
รักไม่ ใช้
สื่อไม่ ใช้
หาซือ้ ยาก
ฉุกเฉิน
ไม่ มัน
ไม่ มีเงิน
ถูกเล่ าต่ อ
ข้ อจากัด
เด็กเข้ าไม่ ถึง
ใช้ ต้ หู ยอดเหรีญ คนใช้ ไม่
หยอด
20
๕.กำรดำเนินงำนเรื่องเอดส์ และลดพฤติกรรมเสี่ ยงทำงเพศของเยำวชนที่ผ่ำนมำคือ
•
•
•
•
•
•
•
•
•
ให้ ความรู้
แจกถุง
โครงการให้ ความรู้ใน รร.
ติดตัง้ ตู้
ค่ ายอบรม YC
โครงการอบรม
ดูงานวัดพระบาทนา้ พุ
เสนอผู้บริหาร
21
๖.ควำมท้ ำทำยในกำรดำเนินงำนเรื่องเอดส์ และพฤติกรรมเสี่ ยงทำงเพศ คือ
•
•
•
•
•
•
ทาตามนโยบาย ผลลัพธ์ น้อย
ทาเดิมๆ
ทา ๒๐ ปี เหมือนเดิม
ชุมชนไม่ ยอมรับ
แรงจูงใจแรงสนับสนุนน้ อย
ความเข้ าใจพฤติกรรมวัยรุ่น
22
สิ่งสาคัญที่ต้องคานึ งถึงในการป้ องกันแก้ไขปัญหาเอดส์
เพศในเยาวชนคือ....
• ความคิด ต่อเรือ่ ง เพศศึกษา ของเราคนทางาน
• เปิดใจ เรา คนทางาน เข้าใจ ความเป็ นวัยรุน่ ไม่ตดั สิน
• ทัศนคติความเชื่อเดิมๆ เช่น เรือ่ งเพศต้องปรับเปลี่ยน
• ต้องเปิดการเรียนรูเ้ พิ่มจากภาคี
• อยากให้ผปู้ กครอง พ่อแม่ เข้าใจการดูแลลูก
• การเข้าถึง ถุงยางอนามัย ของเยาวชน
โจทย์สำคัญ .. ที่ต้องทำไปพร้อมๆกัน
5
สร้างประเด็นเยาวชน
เป็ นนโยบายสาธารณะ
(talk of the town)
• ผูบ้ ริ หาร
• สื่ อมวลชน
• ฯลฯ
2
พัฒนาทักษะส่วนบุคคล
• ปรับหลักสูตร
• ปรับกิจกรรมในโรงเรียน
ทีเ่ ปิดกว้าง-เหมาะสมกับ
การเรียนรูข้ องเยาวชน
เยาวชน
4
สร้างสิ่ งแวดล้อม
ที่เอื้อต่อสุ ขภาพ
• สื่ อ สิ่ งพิมพ์ (TV VCD)
• internet
• การบริ โภคสุ รา
• สถานบันเทิง ฯลฯ
1
3
สร้างชุมชนเข้มแข็ง
และสนับสนุนการมีส่วนร่ วม
(เปิ ดพื้นที่ทางสังคม – สนับสนุน)
• เครื อข่ายผูป้ กครอง
• บทบาทท้องถิ่น
ทีส่ าคัญ .. ปรับทัศนะคนทางาน + ปรับระบบงาน
ควำมเป็ นจริงเรื่องเพศในสั งคมไทย*
ภาพสะท้ อนเรื่ องเพศในสังคมไทย – ๑*
เพศสัมพันธ์ครัง้ แรกของเยาวชน อายุน้อยลง
(เฉลี่ย ๑๔.๕-๑๖.๗ ปี )
เพศสัมพันธ์ครัง้ แรกเกิดขึ ้นก่อนแต่งงาน
(ชาย ๘๔% หญิง ๗๖%)
๕๒% ของวัยรุ่นเคยมีคนู่ อนมากกว่า ๑ คน
เยาวชนเพียง ๒๓% ใช้ถุงยางอนามัยเมื่อมีเพศสัมพันธ์
ครั้งแรก
คนหนุ่มสาวแต่งงานในอายุที่มากขึ ้น
* รวบรวมจากงานวิ จยั หลายๆ ชิ้ นในช่วง ๔๒-๔๗
ภาพสะท้ อนเรื่ องเพศในสังคมไทย – ๒*
 ผู้ติดเชื้อเอชไอวีรำยใหม่ เกิดขึน้ ในกลุ่มเยำวชนมำกทีส่ ุ ด
(๑๕-๒๔ ปี มีอตั รำกำรติดเชื้อสู งสุ ด)
 ๑๑.๑% ของผู้ป่วยเอดส์ ๓๑.๗% ของผู้ป่วยกำมโรค และ
๓๐% ของผู้หญิงทีท่ ำแท้ งอยู่ในช่ วงวัยรุ่นอำยุน้อยกว่ ำ ๒๐ ปี
 ปี ๒๕๔๗ คำดว่ ำมีเด็กทีไ่ ด้ รับเชื้อเอชไอวี ๒๒,๘๕๒ คน
• ๗๐% เรียนประถมศึกษำ
• ๕-๖% เรียนมัธยมศึกษำ
* รวบรวมจากงานวิ จยั หลายๆ ชิ้ นในช่วง ๔๒-๔๗
ภาพสะท้ อนเรื่ องเพศในสังคมไทย – ๓*
• วัยรุ่นเริ่ มเรี ยนรู้เพศศึกษาจากโรงเรี ยน ที่อายุ ๑๕.๖ ปี
• วัยรุ่นเรี ยนรู้เรื่ องเพศศึกษาจาก พ่อแม่ เพียง ๑%
(ค่าเฉลี่ยทัว่ โลกอยูท่ ี่ ๑๒ %)
• วัยรุ่นเรี ยนรู้เรื่ องเพศจากอินเทอร์ เน็ตมากเป็ นอันดับ๑
* รวบรวมจากงานวิ จยั หลายๆ ชิ้ นในช่วง ๔๒-๔๗
ภาพสะท้ อนเรื่ องเพศในสังคมไทย – ๔*
วัยรุ่นทั้งชำยและหญิงมองว่ ำกำรมีคู่หลำยคนหรือมี “กิก๊ ” เป็ นเรื่อง
ทันสมัย
 ร้ อยละ ๗๔ ใช้ อนิ เทอร์ เน็ตเพือ่ หำเพือ่ น และร้ อยละ ๑๐.๗ หำแฟน
วัยรุ่นอำยุต่ำกว่ ำ ๑๙ ปี ทำคลอดเพิม่ ขึน้ จำก ๕๒,๐๐๐ รำย ในปี
๒๕๔๖-๒๕๔๗ เป็ นกว่ ำ ๗๐,๐๐๐ รำย ในปี ๒๕๔๘-๒๕๔๙ หรือ
เฉลีย่ วันละเกือบ ๒๐๐ คน ในจำนวนนีเ้ ป็ นเด็กอำยุต่ำกว่ ำ ๑๔ ปี
จำนวน ๒,๐๐๐ คน เฉลีย่ วันละ ๕ คน
*รวบรวมจำกงำนวิจยั ต้ นปี ๒๕๕๐
ร้ อยละการใช้ ถุงยางอนามัย
และการคลอดบุตรของมารดาอายุ < 20 ปี
เขตบริการที่ 9 ปี งบประมาณ 2553-2555
ทีม่ ำ : Node MCH and Teenage pregnancy
อัตราความชุกการติดเชื้อเอดส์ กลุ่มหญิงตัง้ ครรภ์ ปี
2538-2555
2.50
2.00
1.50
1.00
0.50
-
ปี 38 ปี 39 ปี 40 ปี 41 ปี 42 ปี 43 ปี 44 ปี 45 ปี 46 ปี 47 ปี 48 ปี 49 ปี 50 ปี 51 ปี 52 ปี 53 ปี 54 ปี 55
เขต 14 0.92
ประเทศ 2.29
1.32
1.81
1.35
1.71
0.85
1.53
1.15
1.74
1.10
1.46
1.44
1.37
0.97
1.39
0.92
1.18
0.81
1.04
0.72
1.01
0.48
0.87
0.57
0.78
0.46
0.72
0.59
0.65
0.59
0.70
0.97
0.58
0.60
อัตราความชุกการติดเชื้อเอดส์ กลุ่มชายไทยที่เข้าเป็ นพลทหารกอง
ประจาการ ปี 2546-2554
ร้อยละ
0.6
0.5
0.4
0.3
0.2
0.1
0
ปี 46
ปี 47
ปี 48
ปี 49
ปี 50
ปี 51
ปี 52
ปี 53
ประเทศ
0.5
0.5
0.4
0.5
0.4
0.5
0.5
0.5
ปี 54
0.5
เขต 14
0.40
0.20
0.25
0.35
0.25
0.45
0.55
0.52
0.40
มีการติดเชื้อเอดส์รายใหม่ วันละ 45 ราย
แนวโน้ มพบในกลุ่มอายุน้อยลง
33
ประเทศไทยใช้งบประมาณในการรักษาผูป้ ่ วยเอดส์
ปี ละไม่ตา่ กว่า 3,000 ล้าน
34
อัตราป่ วยโรคติดต่ อทางเพศสัมพันธ์ ต่อประชากรแสนคน
จาแนกตามชนิดโรค ประเทศไทย ปี พ.ศ. 2543 – 2552
อัตราป่ วยโรคติดต่ อทางเพศสัมพันธ์ ต่อประชากรแสนคน
จาแนกตามกลุ่มอายุ ประเทศไทย ปี พ.ศ. 2543 – 2552
กรอบการดาเนินงานเอดส์&STIs ปี 2556
เข้าสู่ ระบบการรักษาช้า
การเสี ยชีวติ ผูไ้ ม่รับยาสู งกว่ารับยา
ขาดยา ดื้อยา
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์สูงขึ้น
VCT ยังต่า Condom ต่า
กลไกกำร พัฒนำระบบ
ป้ องกัน ???
กลไกกำรเชื่อมประสำนใน
พืน้ ที่ ยังไม่ เข้ มแข็งพอ
พัฒนาระบบบริ การดูแล
รักษา HIV/AIDS
พัฒนาระบบบริ การโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
พัฒนำระบบบริกำรให้ กำรปรึกษำ
สนับสนุนและพัฒนำศักยภำพองค์ กรเอกชน
ด้ ำนเอดส์
พัฒนำระบบเพศศึกษำ
พัฒนำระบบ อำเภอควบคุม
โรคเข้ มแข็ง ตำบลสุ ขภำพ
กรอบการดาเนินงานเอดส์&STIs ปี 2556
เข้าสู่ ระบบการรักษาช้า
การเสี ยชีวติ ผูไ้ ม่รับยาสู งกว่ารับยา
ขาดยา ดื้อยา
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์สูงขึ้น
VCT ยังต่า Condom ต่า
สังคม สิ่งแวดล้ อม ครอบครั ว ปั จเจก
ภาพสะท้ อนเรื่ องเพศในสังคมไทย – ๕*
ร้ อยละ ๘๔.๓ ของพ่อแม่ ระบุว่ำลูกสนิทกับตนเองมำกทีส่ ุ ด
แต่ ควำมเป็ นจริงมีเพียงครึ่งหนึ่งเท่ ำนั้นที่กล้ำพูดคุยเรื่อง “เพศ”
กับพ่อแม่

 ร้ อยละ ๗๘.๘ ของพ่อแม่ มั่นใจว่ำตนเองเป็ นผู้ทเี่ หมำะสมใน
กำรให้ ควำมรู้เรื่องเพศศึกษำแก่ลูก ขณะที่ ร้ อยละ ๒๐.๓ ครู
เหมำะสมกว่ ำ และควรเริ่มสอนตั้งแต่ ป. ๕-๖
 เด็กอำยุเฉลีย่ ๔.๑ ปี และต่ำสุ ด ๑.๒ ปี เริ่มอยำกรู้อยำกเห็น
เรื่องเพศศึกษำ และถำมตรงๆ กับพ่อแม่
*รวบรวมจำกงำนวิจยั ต้ นปี ๒๕๕๐
วัยร่ ุนเรี ยนเรื่ องเพศจากไหน?
ถ้าเป็ นเรื ่องอวัยวะเพศ โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ เรี ยนจากตาราเรี ยนและครูสอน
ถ้ าเป็ นเรื่ องความผิดปกติทางเพศ รู้จากหนังสือพิมพ์ ทีวีและเห็นจากเพื่อนๆ
สาหรับท่าทางร่วมเพศ ดูจากวีซีดีโป๊ ที่เวียนดูกนั กับกลุม่ เพื่อน
ส่วนเรื่ องที่เกี่ยวข้ องกับอารมณ์ ความต้ องการทางเพศ รู้จากเพื่อนนักเรี ยนด้ วยกัน
ข้ อมูลที่น่าสนใจคือ เกือบห้ าพันคนนี ้เรี ยนรู้เรื่ องเพศจากพ่อแม่น้อยมาก โดยเฉพาะ แต่
ละหัวข้ อ
เด็กรู้จากพ่อแม่ไม่ถงึ สิบคน บางคนบอกว่า เพศศึกษาเป็ นเรื่ องที่พอ่ แม่ไม่สงั่ สอน
กระบวนการปรับเปลีย่ นพฤติกรรม
สังคม
การทาพฤติ กรรมใหม่อย่างต่อเนื อ่ ง
การลองทาพฤติกรรมใหม่
เกิดแรงจูงใจทีจ่ ะทา
ปรับความคิด/มีทกั ษะ
เกิดความรู/้ ความตระหนัก
ไม่ตระหนัก
บุคคล
การปรั บเปลี่ยนพฤติกรรม
 ความรู้ และข้อมูลเป็ นเพียงจุดเริ่มต้น แต่ไม่เพียงพอที่ จะทาให้เปลี่ยน
พฤติกรรม
 การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเป็ นเรื่องไม่ง่าย เปลี่ยนได้ แต่ใช้เวลา และความ
พยายามต่อเนื่ อง
 การให้ข้อมูลที่ ทาให้เกิดความกลัวมีข้อจากัดในการกระตุ้นให้ เปลี่ยน
พฤติกรรม
 พฤติกรรม ของแต่ละคนแตกต่างกันไปตามแต่ละช่วงวัย/สภาพแวดล้อม
 พฤติกรรมบุคคลเป็ นผลจากค่านิยมและการให้คณ
ุ ค่าในสังคม
 บุคคลจะยอมรับพฤติกรรมใหม่ง่ายขึน
้ ถ้ารู้สึกว่าตัวเองสามารถทาได้
 การเปลี่ยนพฤติกรรมบุคคลเกี่ยวพันกับแบบแผนการปฏิบต
ั ิ ของชุมชนและ
สภาพแวดล้อมด้วย
กิจกรรมที ่ ๔ : เส้นชีวิต
เมือ่ พูดถึง “เพศ”
คุณนึกถึง...
เมื่อพูดถึง “เพศ”
คุณนึ กถึง...
•
•
•
•
•
•
•
•
•
ผู้ชาย ผู้หญิง
มีเพศสัมพันธ์
อวัยวะเพศ
นม
หนังโป๊
ถุงยาง
หมอนข้ าง
กระเทย
โรงแรม
•
•
•
•
•
•
•
•
•
พุ่มไม้
โรคติดต่ อ
การตัง้ ครรภ์
การสาส่ อน
อุปกรณ์ ช่วย
โซ่ แซ่ กุญแจมือ
นา้ แข็ง
เหล้ า เบียร์
นุ่งน้ อย ห่ มน้ อย
•
•
•
•
•
เกี่ยวข้อง
การป้ องกัน
สังคม สวล
พัฒนาการ
พฤติกรรม
Sexuality เพศวิถี
หมายถึง ค่ านิยม บรรทัดฐาน และระบบวิธีคดิ วิธีปฏิบัตทิ ่ ีเกี่ยวกับความ
ปรารถนาและการแสดงออกทางเพศ ความคิดเกี่ยวกับคู่รัก คู่ชีวติ ในอุดมคติ
ซึ่งไม่ ใช่ พฤติกรรมตามธรรมชาติ แต่ เป็ นการสร้ างความหมายทางสังคม เพศ
วิถีจงึ สัมพันธ์ กับมิตทิ างการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมที่กาหนด
และสร้ างความหมายให้ แก่ เรื่ องเพศในทุกแง่ มุม เช่ น “ความปกติ” ของการ
เป็ นคนรั กต่ างเพศ “ความผิดปกติ” ของคนรั กเพศเดียวกัน หรื อ “ผู้หญิงดี”
คือผู้ท่ อี ่ อนประสบการณ์ หรื อเป็ นฝ่ ายรั บในเรื่ องเพศ (passive)
เพศสัมพันธ์ ในรู ปแบบ ต่ าง ๆ เช่ น การมีเพศสัมพันธ์ กับคนเพียงคนเดียว
หรื อหลายคน การมีเพศสัมพันธ์ ท่ ีปลอดภัย/ไม่ ปลอดภัย รั กต่ างวัย รั กนอก
สมรส ทัง้ หมดนีเ้ ป็ นตัวอย่ างของเพศวิถี ซึ่งมีความหลากหลาย เพศวิถีเป็ น
สิ่งที่เปลี่ยนแปลงไปในแต่ ละวัฒนธรรม ชนชัน้ และกาลเวลา เช่ น เพศวิถีใน
สมัยต้ นรั ตนโกสินทร์ มองว่ าการที่ผ้ ูหญิงนุ่งผ้ าซิ่น ห่ มสไบผืนเล็กปกปิ ด
ร่ างกายส่ วนบน ไม่ ถือว่ าโป๊ หรื อเป็ นผู้หญิงใจแตก ใจง่ ายแต่ อย่ างใด เพศวิถี
จึงเป็ นส่ วนหนึ่งของวิถีชีวติ และมีความเชื่อมโยงกับ “ภาวะความเป็ นหญิง
หรื อชายของผู้คนตามที่สังคมคาดหวัง” หรื อที่เรี ยกกันสัน้ ๆ ว่ า เพศภาวะ
• (ทีม่ า: เอกสารโครงการ แผนงานสร้างเสริ มสุขภาวะทางเพศ, เมษายน ๒๕๔๙)
อ่ ำนบทควำม ”เพศวิถี” มีประเด็นสำคัญอย่ ำงไร
• แต่ ละคนมี ลักษณะเรื่องเพศที่ต่างกัน
• รสนิยมทางเพศที่แตกต่ างกัน
• คนสร้ าง กาหนด สัญลักษณ์ เรื่องเพศ เปลี่ยนแปลงไปตามยุค
สมัย
• วัฒนธรรมตามยุคสมัย เรื่องเพศ
เส้ นชีวติ
•
•
•
•
•
•
กลุม่ ๑
กลุม่ ๒
กลุม่ ๓
กลุม่ ๔
กลุม่ ๕
กลุม่ ๖
วัยเด็ก ๐-๙ ปี
วัยรุ่น ๑๐-๑๙ ปี
วัยหนุ่มสาว ๒๐–๒๙ ปี
วัยทางาน ๓๐-๔๕ ปี
วัยผู้ใหญ่ ๔๖–๖๔ ปี
วัยสูงอายุ ๖๕ ปี ขึ ้นไป
เรื่องเพศทีเ่ กิดขึ้น
หรือเกีย่ วข้ องกับคน
ในแต่ ละช่ วงวัยมี
อะไรบ้ าง
• ตั้งคำถำม
ผู้หญิง
่ นคู่นอน ตั้งครรภ์ เป็ น
• มีเพศสั มพันธ์ ควำมคิด เห็นเรื่อง • เปลีย
กระโปรง ชำยกำงเกง เสื้อ เพศไม่ตรงกัน มีควำมต้องกำรสู ง โรค ปัญหำครอบครัง แลก
สี หวำน สั มผัสอวัยวะเพศ รักสนุก อยำกเป็ นฮีโร่ ล่ำแต้ ม เงิน มีกกิ๊ มีเพศสัมพันธ์
วัยเด็ก ๐-๙ ปี
วัยสูงอายุ ๖๕ ปี ขึ้น ไป
กล้ ำแสดงออก อยำกเห็น อยำกลอง
ตั้งครรภ์ กำรแต่ งกำยดึงดูด
ฮอร์ โมน
วัยรุ่น ๑๐-๑๙
วัยผูใ้ หญ่ปี๔๖–๖๔ ปี
• เข้าวัด กาลังถอย หญิง • เปลี่ยนคู่ มีกิ๊ก ไม่สมดุลย์
ไม่ต้องการ ชายต้องการ ชอบเที่ยว ความต้องการ
เสื่อม ไม่มีปฏิสมั พันธ์ ลด เข้าวัยทอง ชายมอง
อญุ่กนั แบบเพื่อน
เด็ก จ้างยิงคู่ สรีระเหี่ยว
ยานลง
วัยหนุ่มสาว ๒๐–๒๙
วัยทางาน ๓๐-๔๕ ปี
• เบือ่ คู่ ครอบครัว
แตกแยก หาคู่ หญิง
วัยทอง มีเวลาน้ อย
หย่าร้าง มีกิ๊ก ชายชอบ
ทาตัวให้เด็ก
ข้ อสั งเกต
• เหมือนเป็ นกราฟ
• เรื่องเพศ เกียวข้ อง พัฒนาการ สอดคล้ องกับพฤติกรรม เรื่ อง
เพศ
• มีปัญหาทุกวัย แตกต่ างกัน การดูแล น่ าจะแตกต่ าง
• กลุ่มวัยรุ่ น จะหนัก กว่ ากลุ่มอื่นๆ
•
กลับมำคุยกันในกลุ่มใหญ่
๑.เปรียบเทียบความเหมือน / ต่ างกันของหญิงชายในแต่ ละช่ วงวัย
อะไรทาให้ ไม่ เหมือนกัน
๒.หากคนในช่ วงวัยนัน้ ทาพฤติกรรมที่ไม่ เป็ นไปตามความคาดหวัง
หรือตามคนส่ วนใหญ่ จะมีผลอย่ างไร
๓.มีกลุ่มคนใดหรือไม่ ท่ เี ราละเลย ไม่ ได้ พูดถึงวิถีชีวิตทางเพศของเขา
เลย เขามีอะไรที่แตกต่ างจากวิถที างเพศของคนส่ วนใหญ่ อย่ างไร
แนวคิดหลักเพศศึกษา ๖ ด้าน*:
๑.
๒.
๓.
๔.
๕.
๖.
พัฒนาการของมนุษย์ (Human Development)
สัมพันธภาพ (Relationship)
ทักษะส่ วนบุคคล (Personal Skills)
พฤติกรรมทางเพศ (Sexual Behavior)
สุขภาพทางเพศ (Sexual Health)
สังคมและวัฒนธรรม (Social and Culture)
แนวทางการให้การศึกษาเรือ่ ง “ชีวิตและครอบครัวศึกษา”, กรมวิ ชาการ กระทรวงศึกษาธิ การ, ๒๕๔๓ และ
A Comprehensive Sexuality Education, SIECUS, National Guidelines Task Force
๑.
๒.
๓. ทักษะส่วนบุคคล
๔.
๕.
๖.
กำรเรียนรู้เรื่องเพศศึกษำรอบด้ ำน
๑. พัฒนาการของมนุษย์
๒.สัมพันธภาพ
(Relationship)
วัยรุน่
วัยเด็ก
๓.ทักษะส่วนบุคคล
(Human Development)
๔.
พฤติกรรมเพศ (Sexual
Behavior)
วัยหนุ่มสาว
เรือ่ ง “เพศ” ที ่
เกีย่ วข้อง
ในวิ ถีชีวิตของ
แต่ละช่วงวัย?
วัยทางาน
วัยกลางคน
Health)
วัยชรา
(Personal Skills)
๖.
๕. สุขภาพทางเพศ (Sexual
สังคมและวัฒนธรรม (Social and
Culture)
ประเด็นสำคัญ
เส้ นชีวติ
• เรื่ องเพศคือส่วนหนึง่ ของวิถีชีวิตตังแต่
้ เกิดจนตายและมี
พัฒนาการของแต่ละช่วงวัย (ธรรมชาติ)
• “เรื่ องเพศ” มีความหมายมากกว่า “เพศสัมพันธ์” แต่
เพศสัมพันธ์ เป็ นส่วนหนึง่ ของเรื่ องเพศ
• สังคม/วัฒนธรรมมีสว่ นในการกาหนดบทบาท ความคาดหวัง ใน
เรื่ องเพศของ คนในแต่ละช่วงวัย และแต่ละเพศ
• เป็ นเรื่ องสาคัญที่จะต้ องจัดการเรี ยนรู้เรื่ องเพศ ซึง่ เป็ นการเรี ยนรู้
ตลอดชีวิต
กิจกรรมที่ ๕ :
“เลือกข้าง”
ทัศนะและการให้คณ
ุ ค่าเรือ่ งเพศในสังคมไทย
วัตถุประสงค์
๑. ตระหนักถึงทัศนะและการให้ คณ
ุ ค่าในเรื่ องเพศของ
ตน
๒. ตระหนักว่าแต่ละคนอาจมีทศั นะที่แตกต่างกันได้
๓. วิเคราะห์ผลกระทบที่ตามมาจากค่านิยมเรื่ องเพศ
ในสังคม
๑
• ลูกชายของท่านจะแต่งงานกับผูห้ ญิงที่
เคยมีเพศสัมพันธ์กบั ชายอื่นมาก่อน
– ลูกสาวของท่านจะแต่งงานกับ
ผูช้ ายที่เคยมีเพศสัมพันธ์กบั หญิง
อื่นมาก่อน
ลูกชายของท่านจะแต่งงานกับผูห้ ญิงที่เคยมี
เพศสัมพันธ์กบั ชายอื่นมาก่อน
ลูกชาย
• มีเพศสัมพันธ์ แปดเปื ้ อน
มาแล้ ว
• ผู้หญิงไม่ ดี
ไม่ อยากให้ คนอื่นมาพูดไม่ ดกี ับ
ลูกสาว
เนือ้ คู่ ใช้ ชีวิตคู่
ลูกรัก แม่ ก็รัก
• เรา
ลูกสาว
กลัวเขาไม่ หยุดในพฤติกรรม
เป็ นผู้ชาย คิดว่ าเขารักลูกเราจริง
เสียตัว=
๒
• ฉันทาใจได้ถ้าเห็นลูกสาวยังโสด
พกถุงยางอนามัย
– ฉันทาใจได้ถ้าเห็นลูกชายที่
ยังโสดพกถุงยางอนามัย
ฉันทาใจได้ถ้าเห็นลูกสาวยังโสดพกถุงยางอนามัย
ลูกสาว
รับไม่ ได้
• ยังเรียนอยู่ไม่ ควรพก
รับได้
• เพื่อป้องกัน ตังเอง
• เราไม่ ได้ อยู่กับเขา ตลอดเวลา
ลูกชาย
ส่วนใหญ่รบั ได้ เป็ นการป้ องกัน
ไม่ทาให้ผหู้ ญิงท้อง
ป้ องกันหญิงข่มขืน
๓
• ฉันทาใจได้ถ้าคู่ครองของฉันบอก
ว่ายังมีเพศสัมพันธ์กบั คนอื่นอยู่
เวลานี้
• ถ้าทาใจไม่ได้จะเลิกกับคู่ครอง
หรือไม่
๓.ฉันทาใจได้ถ้าคู่ครองของฉันบอกว่ายังมีเพศสัมพันธ์กบั คนอื่นอยู่เวลานี้
รับได้
ธรรมชาติ ไม่ เสียหาย แต่ ต้อง
ตกลงกัน
รับไม่ ได้
มันหยามกัน กลัวแบ่ งความรั ก
มันสกปรก
ไม่ เลิก
ต้ องวิเคราะห์ ก่อน คุยกัน
เลิก(ส่ วนมาก)
ไม่ อยากถูกสวมเขา
เป็ นข้ อตกลงก่ อนแต่ ง
๔
• ถ้าตกลงเป็ นคู่ครองของใครแล้ว คุณ
จะไม่มีเพศสัมพันธ์กบั คนอื่นอีกเลย
– ฉันจะบอกคู่ ถ้าไปมีเพศสัมพันธ์
กับคนอื่น
๔.ถ้าตกลงเป็ นคู่ครองของใครแล้ว คุณจะไม่มีเพศสัมพันธ์กบั คน
อื่นอีกเลย
ไม่ บอก
• ถ้ าเขาเสื่อมจะอยู่ทาไม
• เพื่อความอยู่รอดของ
ครอบครัว
• มีแต่ ป้องกัน
• บอกยังไงผู้ชายรับไม่ ได้
• ก็มีบ้าง แต่ ก็ยังรักเมีย
แน่ นอน
ไม่ มี
• หัวแตกแน่
• ผู้หญิงดีๆก็ไม่ ควรจะมีคนอื่น บอก
• ผิดจรรยาบรรณครู ศาสนาพุธ • ไม่ ร้ ูจะปิ ดทาไม แต่ ป้องกัน
• ตัง้ ใจ
• ซื่อสัตย์ กล้ าทา กล้ ารับ
• ลูกชายของท่านจะแต่งงานกับผู้หญิงที่เคยมีเพศสัมพันธ์กบั ชายอื่น
มาก่อน
• ฉันทาใจได้ ถ้าเห็นลูกสาวยังโสดพกถุงยางอนามัย
• ฉันทาใจได้ ถ้าคูค่ รองของฉันบอกว่ายังมีเพศสัมพันธ์กบั คนอื่นอยู่
เวลานี ้
• ถ้ าตกลงเป็ นคูค่ รองของใครแล้ ว คุณจะไม่มีเพศสัมพันธ์กบั คนอื่น
อีกเลย
คำถำม ๔ ข้ อ สะท้ อน ค่ ำนิยมในเรื่องเพศ
ของสั งคมไทยอย่ำงไรบ้ ำง ?
•
•
•
•
คำถำม ๔ ข้ อ สะท้ อน เรื่องเพศของสั งคมอย่ ำงไร ?
ทัศนะเรื่ องเพศ หญิง ชาย
แตกต่างกัน
ผู้ชายมีอิสระทางเพศมากกว่า
หญิง
ทัศนะต่อไม่เรื่ องเพศของคนใน
สังคมไม่เหมือนกัน
การไม่ตดั สิน คนอื่น
ทัศนะเรื่องเพศในสั งคมไทย
•
•
•
•
ชาย
ไม่เจ้ าชู้ไม่ใช่ชาย
ไม้ ป่าเดียวกันชายเหนือชาย
ผู้ชายต้ องเป็ นช้ างเท้ าหน้ า
ชายข้ าวเปลือก หญิงข้ าวสาร
•
•
•
•
หญิง
รักนวลสงวนตัว
อย่าชิงสุกก่อนห่าม
เสือทองเท่าหัวไม่ยอมเสียผัวให้
ใคร
มีลกู สาวเหมือนมีส้วมอยู่หน้ า
บ้ าน
เซ็กส์
(Sex)
เพศสภาพ
บทบาททางเพศ
(Gender)
เซ็กส์ (Sex)
เพศสภาพ/บทบาททางเพศ
(Gender)
• เพศสรีระ /
เพศทางชีวภาพ
• เพศทางสังคม
• ความเป็ นหญิง
ความเป็ นชาย
• กลายมาเป็ น
• ผ่านกระบวนการหล่อหลอมทาง
สังคมวัฒนธรรม
• เปลี่ยนแปลงได้
• เกิดมาเป็ น
สรุปประเด็นสำคัญ
SEX
สรีระ
ธรรมชำติ
เพศวิถี/ชีวติ ทางเพศ
SEXUALITY
GENDER
เพศสภาพ
บทบาท
คือ อุปกรณ์คมุ กาเนิดชนิดเดียว
ที่ช่วยป้องกันโรคและการติดเชื ้อเอชไอวี
การป้องกันเป็ นเรื่ องของ ทัง้ สองฝ่ าย
ถุงยาง + ผูช้ าย
= รู้จกั ป้ องกัน, รับผิดชอบ
= อุปกรณ์ของผูช้ าย
เปลี่ยนภาพลักษณ์
ของถุงยาง ?
ถุงยาง = ปลอดภัย
ถุงยาง + ผูห้ ญิง
= ไม่ดี, มีเพศสัมพันธ์, พร้อมมี
ควำมรู้ เรื่องเพศ v.s. ทัศนะเรื่องเพศ
• เรื่ องการป้องกัน เป็ นเรื่ องทัง้ ๒ ฝ่ าย
• ถุงยาง ควรเป็ นบทบาท/หน้ าที่ของผู้ชาย
ความเชื่อ/ค่านิยม v.s. พฤติกรรม
สังคมไทย เป็ นสังคม
“ผัวเดียว เมียเดียว”
จริงหรือ ?
กรอบ/กติกำ/
บรรทัดฐำนทำงเพศ
เราใช้ กบั ใคร ?
ควำมเท่ ำเทียมทำงเพศ
พฤติกรรมอะไร ถ้ ำไม่ ดี
ไม่ ว่ำเพศอะไร ก็ไม่ ควรทำ
๓. เส้นชีวิต
วัตถุประสงค์:
• เข้ าใจว่าเรื่ องเพศคือส่วนหนึง่ ของวิถีชีวิตตังแต่
้ เกิดจนตายและมี
พัฒนาการของแต่ละช่วงวัย (ธรรมชาติ)
– เข้ าใจว่า “เรื่ องเพศ” มีความหมายมากกว่า “การร่วมเพศ”
• เห็นว่า สังคม/วัฒนธรรมมีสว่ นในการกาหนดบทบาท ความ
คาดหวัง ในเรื่ องเพศของ คนในแต่ละช่วงวัย และแต่ละเพศ
• เห็นความสาคัญในการ จัดการเรี ยนรู้เรื่ องเพศ ซึง่ เป็ นการ
เรี ยนรู้ตลอดชีวิต
คำคน
“เราจะปฏิเสธการเรี ยนรู้ได้ อย่างไรในสังคมที่เปิ ดกว้ างนี ้
ถ้ าคุณไม่อยากเรี ยนรู้ ก็อย่าไปปิ ดกันการเรี
้
ยนรู้ของคนอื่น อย่าคิดว่า... การเรี ยนรู้
จะไปทาร้ ายใครต่อใคร
ที่เรามีปัญหากันอยูท่ กุ วันนี ้ ไม่คิดหรื อว่า เป็ นเพราะเรารู้กนั มาผิดๆ และอีกส่วน
หนึง่ เป็ นเพราะเราไม่ยอมเรี ยนรู้”
ปกรณ์ พงศ์วราภา
M.Note, M Magazine , ๒๐ ตุลาคม ๒๕๔๓
ผลลัพธ์
• เปลี่ยน ทัศนคติ ตัวอื่นตัวเอง ต่ อ ถุงยาง ของเด็ก ทัง้ เพศ
หญิง เพศชาย เพศทางเลือก
• คาสอน เรื่องเพศ
• อย่ าคิดว่ าเรื่องเพศ เป็ นเรื่องใกล้ ตัว ต้ องเตรียมตัง้ เด็ก
• ได้ เข้ าใจเรื่องเด็ก เอาความคิดตัวเองเป็ นใหญ่
• เปิ ดใจ รับฟั ง คิดไม่ เหมือน ไม่ ตัดสิน
• คุยทัศนคติ ฟั งยอมรับ ไม่ ตัดสิน
98
หลักกำรเรียนรู้
 การใช้ คาถามเปิ ด (Open
Questions)
 สไตล์การเรี ยนรู้ (การอ่าน/ดู, การฟั ง,
การลงมือทา)
 การสร้ างความรู้สกึ ปลอดภัย (Safety)
การใช้ กระบวนการเรี ยนรู้ผ่าน
ประสบการณ์ และ 4As model
 การฟั ง
 สื่อสารสองทาง (Dialogue)
 การสร้ างการมีสว่ นร่วม
(Engagement)
 ความรับผิดชอบต่อการเรี ยนรู้ของผู้เรี ยน
การเคารพ (Respect)
 การรอ (Waiting)
 การเชื่อมโยงประเด็น (Weaving)
 การสร้างความรู้สึกความเป็ นส่วน
หนึ่ ง (Inclusion)
 ความเกี่ยวข้องของประเด็นเนื้ อหากับ
ประสบการณ์ผเู้ รียน (Relevancy)
 การคานึ งถึงการนาไปปรับใช้
(Immediacy)
 การสรุปสาระสาคัญในแต่ละเรือ่ ง
ร่วมกับผูเ้ รียน
 อื่นๆ ..........................................
สิ่ งสำคัญ/จะกลับไปใช้ ต่อ ทีไ่ ด้ เรียนรู้จำกวันวำน
•
•
•
•
•
•
•
•
•
ทัศนคติ/เข้ าใจเรื่องเพศวิถี
ไม่ ตัดสินคนอื่น ฟั งคนอื่น
ได้ ร้ ู จักเครือข่ ายเพิ่มขึน้
น่ าจะได้ เครือข่ ายที่เข้ มแข็ง
ใช้ กับลูก
ได้ แลกเปลี่ยน รู้เพิ่มขึน้
เปิ ดใจยอมรับเรื่องเพศวิถี
เข้ าใจปั ญหาเด็ก มากขึน้
มีทศั นคติแง่ บวกมากขึน้
• เพศ มีการเปลี่ยนแปลงตามยุค
เกี่ยวข้องกับสังคม ความเชื่อ
• ปรับทัศนคติ เรื่องถุงยาง
• ปัญหาที่เกิดขึน้ เกี่ยวข้องกับผูใ้ หญ่
• วิธีการวิเคราะห์ปัญหาให้ถึงราก
ต้ นทุนชีวติ เด็ก
• ไม่ ดุลูก แต่ ให้ คดิ วิเคราะห์ เอง
• พลังครอบครัว การเพิ่มต้ นทุน ความต้ องการของเด็กคือ ความ
เข้ าใจของพ่ อแม่ การเปิ ดโอกาสจากพ่ อแม่ ในการแลกเปลี่ยน
คิด การดูแล การสนับสนุน มีความคาดหวัง ให้ มีด้วยความ
เหมาะสม ต้ องการกาลังใจ ความชื่นชมในทางดี
• ทุ่มทุน ทุ่มเท พลังรัก ให้ กาลังใจ ฟั งความคิดเห็นจากลูก
• ผู้ใหญ่ มัก จับ ผิด มากกว่ าจับ ถูก
• ไม่ ว่าจะทาอะไร ควรมีการวางแผนก่ อน ต้ องฝึ กให้ คิด ใคร่ ควร
วางแผน การตัง้ เป้าหมาย วางแผนเรื่องเวลา
101
ต้ นทุนชีวติ เด็ก
• มองเด็กเชิงบวก มากขึน้
• เด็กมีโอกาสทาผิดพลาด เข้ าใจ
102
กิจกรรมที่ : ๖
“แลกน้า”
ขัน้ ตอนสาคัญ
• แจกน้า – ให้สงั เกตน้าว่า เหมือนต่างจากแก้วเพื่อน ?
(เพือ่ เชือ่ มโยงให้เห็น น้ าใสๆ = การมีเชื้อ HIV)
• เก็บน้าตัวอย่าง
(เพือ่ พิสจู น์ ให้เห็นเริม่ ต้น มีแก้วทีม่ ีเชื้อกีใ่ บ)
• แบ่งกลุ่ม : กลุ่มอาสาสมัคร (แลก ๑ ครัง้ ) และ กลุ่มใหญ่ (แลกหลาย
ครัง้ )
(เพือ่ เปรียบเทียบ การมีเพศสัมพันธ์ครัง้ เดียว/คนเดียว กับ หลาย
ครัง้ /หลายคน)
ตัดสินใจแลกน้า” เลือกคู่”
•
•
•
•
•
•
•
นั่งตรงกัน
เป็ น ผอ.
ดูเป็ นคนรั กเดียวใจเดียว
ดูน่ารั กดี
ดูอายุมากคงไม่ เป็ นไร
เลือกคนใกล้ ชิด
มีอารมณ์
แลกน้า
• การแลกน้า = เพศสัมพันธ์ไม่ป้องกัน
• อาสาสมัคร(๖ คน) = รักเดียวใจเดียว เพศสัมพันธ์ครัง้
แรก ครัง้ เดียว ไม่สาส่อน
• คนที่แลกน้า๔ครัง้ ( ๓๐ คน) =เปลี่ยนคู่หลาย
คน
• น้าใสๆ = ดูไม่ออกว่ามีเชื้อเอชไอวีหรือไม่
• อาสาสมัคร ๖ คน
• แลก ๑ ครัง้
เปลีย่ นสี .๒.... คน
• คนส่วนใหญ่ ๓๐ คน
• แลก ๕ ครัง้
เปลีย่ นสี = ๑๓…
เริ่มจาก ๑ แก้ว แพร่ระบาดไป..๑๕.. คน
รู้สึกอย่างไรที่ติดเชื้อ
•
•
•
•
ช๊ อค เราไม่ สาส่ อน
รับไม่ ได้ กลัวตาย
กินยาตายไปเลย
กลัวคนอื่นว่ าไปมั่วกับใคร
มา
จำก ..๑. ไป....๑๕ คน ?
•
•
•
•
มีเพศสัมพันธ์
ไม่ ป้องกัน
กับคนมีเชือ้
ซึ่งดูไม่ ออก
แลกนำ้
เครือข่าย
การมีเพศสัมพันธ์
โอกำสเสี่ ยงต่ อกำรติดเชื้อ HIV คือ
มีเพศสัมพันธ์โดยไม่ป้องกัน
กับผู้ติดเชื ้อเอชไอวี
ซึง่ ดูไม่ออก
โอกำสเสี่ ยงต่ อกำรติดเชื้อ HIV คือ
มีเพศสัมพันธ์โดยไม่ป้องกัน
กับผู้ติดเชื ้อเอชไอวี
ซึง่ ดูไม่ออก
ใครมีโอกาสทาพฤติกรรมแบบนี้ บา้ ง
x
กลุ่มเสี่ยง
•
•
•
•
มีเพศสัมพันธ์กบั คนขายบริ การ
คนเที่ยวบริ การทางเพศ
เพศสัมพันธ์กบั เพศเดียวกัน
พวกสาส่อน
“พฤติกรรมเสี่ ยง” (ไม่ ว่ำใครทำ)
= มีเพศสัมพันธ์โดยไม่ป้องกันกับผู้
ติดเชื ้อเอชไอวี ซึง่ ดูไม่ออก
กำรลดโอกำสเสี่ ยงต่ อกำรติดเชื้อเอชไอวีทำงเพศสั มพันธ์ คือ ?
•
•
•
•
•
ใช้ ถงุ ยาง
ไม่มีเพศสัมพันธ์ (ตลอดไป)
ไม่เปลี่ยนคูน่ อน
Safe Sex
ช่วยตัวเอง
ตรวจเลือด
วันที่มีพฤติกรรมเสี่ยง
๑ มกรา
๓ เดือน
ตรวจเลือด ?
๑ เมษา
๑๔ กุมภา ?
ฟ
• ผลเลือดบวก = ได้รบั เชื้อเอชไอวี
• ผลเลือดลบ = ๑. ยังไม่ได้รบั เชื้อ
๒. รับเชื้อแล้ว แต่ยงั ตรวจไม่พบ
ตรวจเลือด = ป้ องกัน
ติดเชื ้อ
ป่ วยเอดส์
ผู้ติดเชื้อเอชไอวี
ผ้ ทู มี่ ีเชื้อเอชไอวีอย่ ใู นร่ างกาย
ระดับภูมิค้ มุ กันปกติ
ดาเนินชีวิตได้ ตามปกติ
ผู้ป่วยเอดส์
มี ภาวะภูมิคมุ้ กันบกพร่ อง
มี โรคหรื อกลุ่มอาการ
ทีเ่ กิ ดจากภาวะภูมิคมุ้ กันบกพร่ อง
ถุงยางอนามัย ช่ วยป้ องกันการ
ติดเชื้อเอชไอวีได้
ถ้ าคณ
ุ ใช้ !!
ถุงยำง
ถุงยาง
ในมือผูห้ ญิง
• อุปกรณ์คมุ กาเนิดชนิดเดียว ที่ช่วย
ป้องกันการติดเชื ้อเอชไอวี
การให้คณ
ุ ค่า
ความปลอดภัย ?
ถุงยาง
ในมือผู้ชาย
โจทย์กิจกรรม “แลกน้ า”
• คนคิดว่า เพศสัมพันธ์ของตัวเองไม่เกี่ยวกับเอดส์ (ไกลตัว)
• ภาพในใจ/การรับรู้เรื่ องเอดส์ ในสังคมโดยทัว่ ไป
– “คนที่มีเชื ้อ” v.s. “ผู้ป่วยเอดส์”
– “กลุม่ เสีย่ ง” ไม่ใช่ “เรา”
• คนประเมินความเสี่ยงพลาด จะไม่นาไปสูก่ ารป้องกัน
• การรณรงค์ที่ผ่านมาทาให้ คนเข้ าใจผิด
– “สาส่อนทางเพศ ติ ดเอดส์แน่นอน”
– “รักเดียวใจเดียว ปลอดภัยจากเอดส์”
– “ตรวจเลือดก่อนแต่ง เพือ่ ความมัน่ ใจ (ว่าจะไม่ติดเชือ้ )”
แลกน้ า
วัตถุประสงค์:
๑. เข้ าใจเรื่ องการแพร่ระบาดของเชื ้อ
เอชไอวีทางเพศสัมพันธ์
๒. ให้ สามารถประเมินโอกาสเสี่ยงของตนเองต่อการ
ติดเชื ้อเอชไอวีในวิถีชีวิต
๓. เห็นทางเลือกในการป้องกัน/ลดโอกาสเสี่ยงต่อ
การติดเชื ้อเอชไอวี
Genderกับ เพศสัมพันธ์ ทปี่ ลอดภัย
• ลักษณะสรี ระตามธรรมชาติของหญิงและชาย (Sex)
• บทบาท/ความคาดหวังในเรื่ องเพศของหญิงชาย (Gender Roles)
• ความสัมพันธ์เชิงอานาจหญิงชาย (Gender Relations)
• โอกาสเสี่ยงต่อการติดเชื ้อของหญิงชาย
• ความสามารถในการป้องกันตนเองอย่างมีประสิทธิภาพ
• การเข้ าถึงอุปกรณ์การป้องกัน ข้ อมูลข่าวสาร และบริ การ
• การมีสว่ นร่วมในการรับผิดชอบผลที่ตามมาจากเพศสัมพันธ์ที่ไม่
ปลอดภัย
สิ่ งทีไ่ ด้ เรียนรู้จำกกิจกรรม “แลกน้ำ”
เรื่องเพศในสั งคมไทย*
เพศสัมพันธ์ครัง้ แรกของเยาวชน อายุน้อยลง (เฉลีย่ ๑๔.๕-๑๖.๗ ปี )
เพศสัมพันธ์ครัง้ แรกเกิดขึ ้นก่อนแต่งงาน (ชาย ๘๔% หญิง ๗๖%)
คนหนุ่มสาวแต่งงานในอายุที่มากขึ ้น
เยาวชนมากกว่าครึ่ งหนึ่ง เคยมีคนู่ อนมากกว่า ๑ คน
เยาวชนเพียง ๒๓% ใช้ถุงยางอนามัยเมื่อมีเพศสัมพันธ์ครั้งแรก
เริ่ มเรี ยนรู้เพศศึกษาจากโรงเรี ยน ที่อายุ ๑๕.๖ ปี
เรี ยนรู้เรื่ องเพศศึกษาจาก พ่อแม่ เพียง ๑% (ค่าเฉลีย่ ทัว่ โลกอยูท่ ี่ ๑๒ %)
ผู้ติดเชื ้อเอชไอวีรายใหม่ เกิดขึ ้นในกลุม่ เยาวชนมากที่สดุ
๑๑.๑ % ของผู้ป่วยเอดส์ ๓๑.๗% ของผู้ป่วยกามโรค และ ๓๐% ของผู้หญิงที่
ทาแท้ ง อยูใ่ นช่วงวัยรุ่นอายุน้อยกว่า ๒๐ ปี
ผู้ติดเชื ้อกว่า ๘๐% ในเมืองไทยได้ รับเชื ้อจากการมีเพศสัมพันธ์ ที่ไม่ป้องกัน
*รวบรวมจากหลายงานวิจยั ในช่วงปี ๔๓-๕๐
“แลกน้ำ”
• เป็ นตัวอย่างของการออกแบบกิจกรรมการเรี ยนรู้ เพื่อ
สร้ างความตระหนัก
• โดยจัดสถานการณ์จาลอง หรื อประสบการณ์จาลอง
ให้ ผ้ เู ข้ าอบรมมีสว่ นร่วมในการเรี ยนรู้
• และเชื่อมโยงสิ่งที่เกิดขึ ้นจากกิจกรรมการเรี ยนรู้ไป
เทียบเคียงกับสถานการณ์ที่อาจเกิดขึ ้นในชีวิตจริง
ของผู้เข้ าอบรม
แลกน้ า
• จัดกิจกรรม
แลกน้ า
เหมือนหรือ
ต่างกับการ
จัดการเรือ่ ง
เอดส์ทีผ่ า่ น
มาอย่างไร
• เก็บตัวอย่างน้า
• แลกน้า ๔ ครัง้
Do/Experience
ทากิจกรรม/
มีประสบการณ์ร่วม
Apply
Reflect
ประยุกต์ใช้
สะท้อนสิ่งที่เรียนรู้
แลกน้ า
เปรียบ
เหมือน
Analyze/Synthesize
ปัจจัยเลือกคู่ ตรวจ
คิด/วิเคราะห์/สังเคราะห์/สรุป
ชวนคุย การแพร่ โอกาสเสีย่ ง กลุ่มเสีย่ ง พฤติกรรมเสีย่ ง
กระบวนการเรี ยนร้ ูผ่านประสบการณ์ (Experiential
Learning)
คำถำม
• แตกในปาก
• จัดฟั น มีแผลในปากเสี่ยง
มัย้
กิจกรรมที่ ๗
“ระดับความเสี่ยง
QQR”
“โจทย์ ”
ระดับความเสี่ยง
• การให้ ข้อมูลเรื่องเอดส์ ท่ ผี ่ านมาไม่ ชัดเจน/สับสน
• “โอกาสเสี่ยง” กับ “การติดเชือ้ ” ต่ างกัน
• คนคิดว่ าเชือ้ HIV ติดต่ อง่ าย
–รั งเกียจผู้ตดิ เชือ้
–แต่ ไม่ กังวลการติดเชือ้ จากโอกาสที่ทาให้ เสี่ยงมาก
ระดับความเสี่ยง
วัตถุประสงค์:
• สามารถระบุปัจจัยที่สง่ ผลต่อการติดเชื ้อ และไม่ติดเชื ้อ
• สามารถใช้ หลักคิด QQR ในการประเมินระดับความ
เสี่ยงได้
• เพิ่มความมัน่ ใจในการอยูร่ ่วมกันกับผู้ติดเชื ้อ
ระดับควำมเสี่ ยง
• เสี่ยงมาก เป็ นความเสี่ยงในระดับทีท่ าให้ มีโอกาสได้ รับเชื้อสูงมาก
และคนส่ วนใหญ่ ได้ รับเชื้อเอชไอวีจากความเสี่ยงนั้นๆ
• เสี่ยงปานกลาง มีความเสี่ยงทีจ่ ะได้ รับเชื้อเอชไอวีอยู่บ้าง แต่ ไม่ เท่ า
เสี่ยงมาก
• เสี่ยงน้ อยมาก มีความเสี่ยงในเชิงทฤษฎี แต่ ในทางเป็ นจริง โอกาส
และความเป็ นไปได้ ทจ่ี ะได้ รับเชื้อเอชไอวีจากการกระทานั้นๆ แทบ
ไม่ มีเลย และไม่ ปรากฎหรือมีกรณีน้อยมากๆ ว่ ามีคนได้ รับเชื้อเอช
ไอวีจากช่ องทางนั้นๆ
• ไม่ เสี่ยง เป็ นการกระทาหรือช่ องทางทีไ่ ม่ มีโอกาสเสี่ยงต่ อการรั บ
เชื้อเอชไอวีเลย
บัตรคำ ๒๑ ใบ เห็นตรงกัน ใบและต่ ำงกัน ใบ
•
•
•
•
•
•
•
หลักในการวางบัตร
เคยรู้
ประสบการณ์
ความน่ าจะเป็ น
ความรู้เดิม
ปรึกษาในกลุ่ม
มติเสียงข้ างมาก
• ความรู้เรื่องเอดส์ “ไม่ตรงกัน” ?
เพราะรับ
ไม่ชดั เจน
มุมมองต่างกัน
ส่งผลอย่างไร
บรรยำกำศในกลุ่มย่ อย ?
การที่คนๆ หนึ่งจะได้ รับเชื้อ HIV เข้ าสู่ ร่างกายจะต้ อง
ประกอบด้ วย ๓ ปัจจัย ดังนี้
• ปริมาณของเชือ้ (Quantity)
• คุณภาพของเชือ้ (Quality)
• ช่ องทางการติดต่ อ (Route of Transmission)
Quantity – ปริมำณ/แหล่งทีอ่ ยู่ของเชื้อ
• เชื ้อ HIV อยูใ่ นคนเท่านัน้ (เกาะอยูก่ บั เม็ดเลือดขาว)
• เชื ้อ HIV อยูใ่ นสารคัดหลัง่ บางอย่างในร่างกายของคนที่มี
เชื ้อ HIV เช่น เลือด น ้าอสุจิ น ้าในช่องคลอด น ้านมแม่ ซึง่
มีปริ มาณที่ไม่เท่ากัน
• ต้องมีจานวนเชื้อ HIV ในปริ มาณที่มากพอในสารคัดหลัง่ ที่
เป็ นที่อยูข่ องเชื้อ
Quality - คุณภำพของเชื้อ
• เชื้อ HIV ต้องมี “คุณภาพพอ”
 เชื้อ HIV ไม่สามารถมีชีวิตอยู่นอกร่างกายคนได้
 สภาพในร่างกาย และสภาพแวดล้อม บางอย่าง
มีผลทาให้เชื้อไม่สามารถอยู่ได้ เช่น ความเป็ น
ด่างในน้ าลาย กรดในกระเพาะอาหาร สภาพ
อากาศ ความร้อน ความแห้ง น้ ายาต่างๆ
Route of transmission ช่ องทำงกำรติดต่อ
• ไวรัส HIV จะต้ องถูกส่ งผ่ ำนจำกคนทีต่ ิดเชื้อ ไปยังอีกคนหนึ่ง โดย
เชื้อจะต้ องตรงเข้ ำสู่ กระแสเลือด
– ทางเพศสัมพันธ์ สอดใส่
– ทางเลือด(การใช้ เข็มฉีดยาเสพติดร่ วมกัน)
– แม่ ส่ ูลูก
ช่องทางออก
ช่องทางเข้า
กำรทีค่ นๆ หนึ่งจะได้ รับเชื้อ HIV เข้ ำสู่ ร่ำงกำยจะต้ อง
ประกอบด้ วย ๓ ปัจจัยดังนี้
ปริมาณของเชื ้อ
(Quantity)
• เชื้อ HIV อยู่ในคนเท่านัน้
(เกาะอยู่กบั เม็ดเลือดขาว)
• เชื้อ HIV อยู่ในสารคัดหลัง่
บางอย่างในร่างกายของคน
ที่มีเชื้อ HIV เช่น เลือด น้า
อสุจิ น้าในช่องคลอด น้านม
แม่ ซึ่งมีปริมาณที่ไม่เท่ากัน
• ต้องมีจานวนเชื้อ HIV ใน
ปริมาณที่มากพอในสารคัด
หลังที
่ ่เป็ นที่อยู่ของเชื้อ
คุณภาพของเชื้อ ช่องทางการติดต่อ
(Quality)
(Route of Transmission)
เชื้อ HIV ต้องมี คุณภาพพอ
 เชื้อ HIV ไม่สามารถมีชีวิต
อยู่นอกร่างกายคนได้
 สภาพในร่างกาย และ
สภาพแวดล้อม บางอย่าง
มีผลทาให้เชื้อไม่สามารถ
อยู่ได้ เช่น ด่างในน้ าลาย
กรดในกระเพาะอาหาร
สภาพอากาศ ความร้อน
ความแห้ง น้ ายาต่างๆ
ไวรัส HIV จะต้องถูก
ส่งผ่านจากคนที่ติดเชื้อ ไป
ยังอีกคนหนึ่ ง โดยเชื้อ
จะต้องตรงเข้าสู่กระแส
เลือด
• เลือด
• เพศสัมพันธ์แบบสอดใส่
• แม่ส่ลู กู
โอกาส/ความเป็ นไปได้ที่จะเกิดขึน้
โอกำสติดเชื้อจำกแม่ สู่ ลูก
• โอกาสติดเชื ้อ ๒๕-๓๐%
–ระหว่างตังครรภ์
้
• รกผิดปกติ
–ตอนคลอด
• คลอดโดยธรรมชาติ
เด็กสัมผัสเลือดมาก
–หลังคลอด
• การกินนมแม่
• ลดโอกาสเสี่ยง
– คลอดโดยการผ่า
– กินนมผง
– นานมแม่ ไปต้ม
– กินยาต้าน
• ลดโอกาสติดเชื้อ
เหลือ ๒-๕%
oral sex
ฝ่ ายทา
Oral sex
(ให้ ผ้ ตู ิดเชื ้อ)
ฝ่ ายถูกทา
Oral Sex
(โดยผู้ติดเชื ้อทาให้ )
ผู้ตดิ เชื้อ ทำ oral sex ให้
ผู้ติดเชื ้อ
เจ้ าของจู๋/จิม๋
(เจ้ าของปาก)
มีโอกาสติดเชื ้อ ?
ทำ oral sex ให้ ผู้ตดิ เชื้อ
เจ้ าของปาก
เจ้ าของจิ๋ม
มีโอกาสติดเชื ้อ ?
ติดเชื ้อ
เจ้าของปาก
มีโอกาสติดเชื้อ ?
เจ้าของจู๋
ติดเชื้อ
ทำ oral sex ให้ ผู้ตดิ เชื้อ
เจ้ าของปาก
เจ้ าของจิ๋ม
มีโอกาสติดเชื ้อ ?
ติดเชื ้อ
ไม่พบว่า
มีการติดเชื้อ
ทำ oral sex ให้ ผู้ตดิ เชื้อ
เจ้าของปาก
เจ้าของจู๋
มีโอกาสติดเชื้อ ?
มีการติดเชื้อ
อักเสบในลาคอ
พบว่า
มีการติดเชื้อ
โดย
มีปัจจัย
ที่เกี่ยวข้อง
ติดเชื้อ
มีการหลัง่
ในปาก
โดยสรีระ
ผู้หญิงมีโอกำสเสี่ ยง มำกกว่ ำ ผู้ชำย
• ผู้หญิง เกิดการติดเชื ้อ
บริเวณช่องคลอด
• น ้าอสุจิ หลัง่ อยู่ในช่อง
คลอด
• ผู้ชาย เชื ้อเข้ าทางรูฉี่
• สัมผัสเชื ้อ ขณะอยู่ใน
ช่องคลอด
โอกำสกำรได้ รับเชื้อ HIV
เสี่ยง
Relativity
ขึน้ อยู่กบั บริบท
ติด ๑๐๐%
?
กิจกรรมที่ ๘ ย้อนรอยวัยรุ่น
กิจกรรมที่ ๘: ย้อนรอยวัยรุ่น
• นึ กย้อนไปถึงยุคสมัยที่ตวั เองเป็ นวัยรุน่ (อายุ ๑๓ – ๑๘ ปี ) ว่า มี
เรือ่ งอะไรที่ประทับใจที่สดุ หรือจาได้แม่นยา
• จับกลุ่มเล่าสู่กนั ฟังถึงเรือ่ งราวของตนเองในสมัยวัยรุน่ ที่จดจา
และประทับใจ ใช้เวลา ๓ นาที
กิจกรรมที่ ๘ : ย้ อนรอยวัยรุ่น
อภิปรายกันในกลุม่ ใหญ่ เกี่ยวกับความเป็ นวัยรุ่น โดยตอบคาถามดังนี ้
• รูส้ กึ อย่างไร เมือ่ ได้ยอ้ นคิดถึงสมัยทีต่ นเองเป็ นวัยรุ่น
• มีขอ้ สังเกตต่อความเป็ น “วัยรุ่น” อย่างไรบ้าง
• สิง่ ที่ “เหมือน” หรือ “แตกต่าง” ของวัยรุ่นสมัยนี้ กับ
สมัยเรา มีอะไรบ้าง
• สรุปสิง่ ทีไ่ ด้เรียนรูร้ ว่ มกัน โดยตอบคาถาม
ย้ อนรอยวัยรุ่น
๑.
๒.
๓.
๔.
๕.
๖.
๗.
๘.
๙. สถานที่มักนัดกับแฟน
เรื่องเสี่ยงๆ
๑๐. กิจกรรมที่ชอบทาในกลุ่ม
เรื่ องผู้ใหญ่ ห้ามแต่ ยังทา
เพื่อน
เรื่องที่ต่ นื เต้ นที่สุด
๑๑. ถ้ าอยากรู้เรื่องเพศจะรู้ จาก.
เรื่องที่ท้าทาย
๑๒. แฟชั่นที่เป็ นที่นิยม
คนที่ช่ ืนชมชื่นชอบ
๑๓. เรื่องที่แย่ ท่ สี ุด
สิ่งที่ฉันฝั นอยากจะเป็ น ๑๔. เรื่องที่ดีท่ สี ุด
เรื่องที่ทาให้ ฉันเสียใจ ๑๕. เรื่องที่ฉันเบื่อที่สุด
เรื่ องที่ทาให้ ฉันรู้ สึกอาย
•
•
•
•
•
•
•
•
•
ลักษณะความเป็ นวัยรุ่น
ผู้ใหญ่ บอกไม่ ได้
อารมณ์ ร้อน
มึน
เคยทาให้ ผ้ ูใหญ่ ร้องให้
เป็ นคนดี
ขโมย
ความท้ าทาย
ซุกซน
เสียใจ
•
•
•
•
•
•
•
•
•
เสียสละ
อยากได้
อยากดี
อยากเจอ
เชื่อเพื่อน ปรึกษาเพื่อน
มากกว่ าผู้ใหญ่
เที่ยว
คิดน้ อย
กล้ าเสี่ยง
รู้เท่ าไม่ ถงึ การณ์
วัยรุ่น “ยุคนี”้ กับ “ยุคก่ อน” ?
ความเหมือน
ลักษณะธรรมชาติ
เช่น ห้ ามก็ทา เชื่อเพื่อน
ความต่าง
โอกาสศึกษา เทคโนโลยี สังคม
วัฒนธรรม การเลีย้ งดู
ส่งผล
พฤติกรรม ความรับผิดชอบ
เด็กเป็ นปัญหา : กาลังเผชิญปัญหา?
Global perspective: bio-social gap
การศึกษาย้ อนหลัง เพือ่ ดูช่องว่ างของพัฒนาการเรื่ องเพศด้ านชีวภาพและด้ านสั งคม
อายุเมื่อมีประจาเดือนครัง้ แรก
อายุเมื่อ “แต่งงาน”
(Menarche)
(Married)
๑๔.๘
ปี ๑๘๙๐
๗.๒ ปี
๒๒
(๒๔๓๓)
๑๒.๕
ปี ๑๙๘๘
๑๑.๘ ปี
๒๔.๓
(๒๕๓๑)
ปี ๒๐๐๙
(๒๕๕๒)
?
? ปี
?
Global perspective: bio-social gap
การศึกษาย้ อนหลัง เพือ่ ดูช่องว่ างของพัฒนาการเรื่ องเพศด้ านชีวภาพและด้ านสั งคม
อายุเมื่อมีประจาเดือนครัง้ แรก
อายุเมื่อ “แต่งงาน”
(Menarche)
(Married)
๑๔.๘
ปี ๑๘๙๐
๗.๒ ปี
๒๒
(๒๔๓๓)
ปี ๑๙๘๘
๑๒.๕
๑๑.๘ ปี
๒๔.๓
(๒๕๓๑)
ปี ๒๐๐๙
(๒๕๕๒)
๑๐
๒๐ ปี
๓๐
• เด็กและเยาวชนเป็ นปัญหา : กาลังเผชิญปัญหา ?
ย้อนรอยวัยรุน่
•
•
•
•
•
•
ยุคสมัย/สภาพแวดล้อม - เปลีย่ นไป สถานบันเทิงมากขึ้น
โอกาสเสีย่ งมากขึ้น
เทคโนโลยี-โอกาสการเข้าถึงสือ่ /รับรู้
วัฒนธรรม/ค่านิยมอืน่ ๆ ง่ายขึ้น
โครงสร้างครอบครัว/ชุมชน/สังคม
เปลีย่ น
การเลี้ยงดูของครอบครัวการกากับทาง
สังคมอ่อนแอลง
ระบบคุณค่า เปลีย่ น
• กระบวนการหล่อหลอมเด็กทันกับการ
เปลีย่ นแปลงหรือไม่ ?
ธรรมชาติวยั รุ่น
- เหมือนเดิม • กล้าแสดงออกมาก
ขึน้ ความคิด
• รุนแรงมากขึน้
• ความอดทน ใจเย็น
• ความรับผิดชอบ
ช่องทาง/โอกาสการ
เรียนรู้มากขึน้
โอกาสเสี่ยง
เอดส์
บันทึกลับเฉพาะถึงพวกผูใ้ หญ่:
เยาวชนของเราทุกวันนี้ ชอบทาตัวหรูหรา ฟุ่ มเฟื อย
ไม่ มีมารยาท ชอบขัดคาสั่ง ไม่ นับถือผู้ใหญ่
เอาแต่ สรวลเสเฮฮา
พวกเขาไม่ ชอบแสดงความเคารพเมื่อผู้ใหญ่ เข้ าห้ องมา
ชอบเถียงพ่ อแม่ พูดจาไม่ ร้ ูกาละเทศะ
มูมมามเห็นแก่ กนิ และกบฎต่ อครู
โสเครตีส ปรั ชญาเมธีกรี ก
กล่ าวไว้ เมื่อ ๕๐๐ ปี ก่อนคริ สต์ กาล
สิ่งที่ได้เรียนรู้และจะนาไปใช้
• เข้ าใจความเป็ นธรรมชาติของวัยรุ่ น ส่ งผลให้ พฤติกรรม
ความรุ นแรงเพิ่มขึน้ จาก สื่อที่เปลี่ยนแปลง
• ครอบครั ว เปลี่ยนแปลงหาเงิน เคยคุยกับลูก
• ปรับอารมณ์ ความรุ นแรงลง ในการดูแลลูก เข้ าใจ
พัฒนาการลูก
•
• ธรรมชาติของวัยรุน่
• ความหลากหลายของวัยรุน่
• คนที่จะนาพา/ดูแลสังคมในอนาคต
การแก้ปัญหาเยาวชน
หรือการพัฒนาเยาวชน ?
วัยรุ่นกาลังเผชิญปัญหา เราจะจัดการอย่างไร
เยาวชนพลาดได้ ???
มีบุคคลที่พ่ งึ ได้ หรื อไม่ ???
มีผ้ ูใหญ่ ในชีวติ ที่พร้ อมและเข้ าใจ
ช่ วยเหลือให้ กาลังใจ
กิจกรรมที่ ๙ :
“ณัฐกับเมย์ ”
เรือ่ งของ “ณัฐกับเมย์”
“ณัฐ” อายุ ๑๗ ปี อยู่มธั ยมปี ที ่ ๖ เป็ นเด็กว่านอน
สอนง่าย และอยู่ในโอวาท
ค ่าวันหนึ ง่ ณัฐพา “เมย์” สาวน้ อยอายุ ๑๕ ปี ทีอ่ ยู่
โรงเรียนเดียวกันมาทีบ่ า้ น บอกว่าเป็ นแฟนกันมาหลายเดือน
ทัง้ สองสีหน้ าไม่ดี และเมย์เริม่ ร้องไห้ไม่หยุด
ถามได้ความว่าเมย์ท้องได้ ๓ เดือนแล้ว เมย์พกั อยู่
หอพักกับเพือ่ น โดยมีน้าสาวซึง่ อยู่ต่างจังหวัดอุปการะ เพราะ
พ่อแม่แยกกันอยู่
-คิดอย่างไร?
- มีโอกาสเกิดขึ้นจริงหรือไม่ ?
คิดอย่ างไร มีโอกาสเกิดจริงไหม ?
• ถ้ าทังคู
้ ร่ ้ ูวิธีป้องกันคงไม่
เกิดเหตุการณ์แบบนี ้
• ชื่นชม ที่เข้ าหาผู้ใหญ่
• เป็ นเรื่ องที่มีโอกาสพลาด
และเกิดขึ ้นได้
•
เรือ่ งของ “ณัฐกับเมย์”
แบ่งกลุ่มย่อย ๔ กลุ่ม
๑.
๒.
๓.
๔.
เป็ น “พ่อแม่” ของณัฐ
เป็ น “น้ า” ของเมย์
เป็ น “ณัฐ”
เป็ น “เมย์”
• รู้สึกอย่างไร
• อยากจัดการเรื ่องนีอ้ ย่างไร?
เรือ่ งของ “ณัฐกับเมย์”
“ณัฐ” อายุ ๑๗ ปี อยู่มธั ยมปี ที ่ ๖ เป็ นเด็กว่านอน
สอนง่าย และอยู่ในโอวาท
ค ่าวันหนึ ง่ ณัฐพา “เมย์” สาวน้ อยอายุ ๑๕ ปี ทีอ่ ยู่
โรงเรียนเดียวกันมาทีบ่ า้ น บอกว่าเป็ นแฟนกันมาหลายเดือน
ทัง้ สองสีหน้ าไม่ดี และเมย์เริม่ ร้องไห้ไม่หยุด
ถามได้ความว่าเมย์ท้องได้ ๓ เดือนแล้ว เมย์พกั อยู่
หอพักกับเพือ่ น โดยมีน้าสาวซึง่ อยู่ต่างจังหวัดอุปการะ เพราะ
พ่อแม่แยกกันอยู่
-รูส้ ึกอย่างไร?
-อยากจัดการเรื่ องนี้อย่ างไร
รู้สึก/จัดกำรอย่ ำงไร
พ่ อแม่
เสียใจ
หาเหตุท่ มี า
การป้องกัน
ลาบากใจ
ปรึกษาเด็ก
จะส่ งเสียให้ ถึง
ที่สุด
เอาเด็กออก
น้ า
เสียใจ
ตกใจ
คุยกับพ่อแม่
คุยกับเด็ก
ช่วยเลี้ยงหลาน
ชายเรียนต่อ
หญิงหาที่เรียน
เอาเด็กไว้
กังวล
รับผิดชอบ
จะคุยกับผูใ้ หญ่
อย่างไร
คุยกับเพื่อน
คุยกับเมย์
เมย์
ตกใจ
กลัว
เสียใจ
คุยกับณัฐ
แก้ปัญหา
ร่วมกัน
เอาเด็กไว้
เอาเด็กไว้
ณัฐ
กรณีท้องไม่ พร้ อม
ถ้ ำผู้ใหญ่ กบั เด็กเห็น “ต่ ำงกัน” ใครตัดสิ นใจ?
บทบาทผู้ใหญ่
กำรจัดกำร “ท้ องในวัยเรียน”
• ความถูกต้ อง ?
• มโนธรรม ?
• กฎหมาย ?
• ห้ามทาแท้ง ?
• ผูห้ ญิงท้องต่อไป ?
• ผูช้ ายเรียนต่อต้องมี
อนาคต ?
• อนาคตของเด็ก
– ของใคร?
– หญิงหรื อชาย ?
• ทาแท้ง
– แหล่งบริการ ?
• บ้านพัก
• กฎหมาย
กระบวนการตัดสินใจ
 หา “โจทย์” ให้เจอ - - เรื่องที่เราต้องตัดสินใจ คืออะไร
 คิดถึงทางเลือกทัง้ หมดที่มี
 หาความเป็ นไปได้ของผลที่จะเกิดขึน้ จากแต่ละทางเลือก
 ประเมินความเสี่ยงที่อาจมีของแต่ละทางเลือก
 ประเมินว่าเราจะคิด/รู้สึก/เผชิญ/รับผิดชอบ กับผลที่ตามมา
จากการตัดสินใจเราได้หรือไม่ อย่างไร
 ทัง้ ถ้าผลไม่เป็ นไปตามที่เราคาด เราได้เตรียมการณ์ไว้
อย่างไรหรือไม่
 ตัดสินใจ
ข้อบังคับแพทยสภา
ว่าด้วยหลักเกณฑ์การปฏิบตั ิ เกี่ยวกับ
การยุติการตัง้ ครรภ์ตามมาตรา ๓๐๕
แห่งประมวลกฎหมายอาญา พ.ศ. ๒๕๔๘
การยุติการตัง้ ครรภ์ทาได้ในกรณี ใดบ้าง?
๑. กรณีหญิงมีครรภ์มีปัญหาสุขภาพทางกาย
๒. กรณี หญิงมีครรภ์มีปัญหาสุขภาพจิต จะต้อง
ได้รบั การรับรองจากแพทย์ที่มิใช่ผทู้ าการยุติ
การตัง้ ครรภ์อย่างน้ อยหนึ่ งคน
ทัง้ นี้ ต้องมีข้อบ่งชี้ทางการแพทย์ที่ชดั เจน
และต้องมีการบันทึกการตรวจและวินิจฉัยโรค
ไว้ในเวชระเบียนเพื่อเป็ นหลักฐาน
๓. เมื่อทารกในครรภ์มีความพิการอย่างรุนแรงหรือมี
ความเสี่ยงสูงที่จะเป็ นโรคพันธุกรรมที่รุนแรง และ
หญิงนันมี
้ ความเครี ยด ซึง่ รับรองโดยสูตินรี แพทย์หรื อ
แพทย์ด้านเวชพันธุศาสตร์
ให้ถือว่าหญิงมีครรภ์นัน้
มีปัญหาสุขภาพจิต
๔. กรณี ถกู ข่มขืน ต้องมี
หลักฐานหรือข้อเท็จจริงอัน
ควรเชื่อได้ว่าหญิงนัน้ มีครรภ์
เนื่ องจากถูกข่มขืน
(ไม่จาเป็ นต้องมีใบแจ้งความ)
ไมม่ ีผหู้ ญิงคนไหนใน
โลกนี้ ที่ตงั ้ ใจท้อง
เพื่อ จะไปทาแท้ง
คุณจำภำพนีไ้ ด้ หรือไม่ ??
(พฤศจิกำยน 2553)
ข้ อมูลท้ องไม่ พร้ อม
• ข้ อมูลของกระทรวงสาธารณสุขพบว่า เมื่อปี ๒๕๔๗ มีผ้ หู ญิงต้ องเข้ า
โรงพยาบาลเพราะได้ รับอันตรายจากการยุติการตังครรภ์
้
ที่ไม่ปลอดภัยถึง
๑๓,๘๓๓ คน
• ในจานวนนี ้ร้ อยละ ๓๖.๒ เกิดอาการแทรกซ้ อนจากการยุติการตังครรภ์
้
เช่น
ติดเชื ้อ ไตวาย ตกเลือด มดลูกทะลุ ฯลฯ และเสียชีวิต ๑๒ ราย
• ตัวเลขนี ้เป็ นข้ อมูลที่ทางราชการได้ รับรายงานจากโรงพยาบาลบางแห่ง
เท่านัน้
•การศึกษาระดับโลกพบว่า การมีบตุ ร
ในขณะที่อายุมารดาไม่ถงึ ๒๐ ปี
โอกาสเสี่ยงต่อการเสียชีวิตของทังแม่
้
และเด็กมีสงู กว่ากรณีมารดาอายุเกิน
๒๐ ปี อันเนื่องมาจากสภาพร่างกายที่
ยังไม่สมบูรณ์เต็มที่ (AGI, 1997)
มีผ้ ูเชี่ยวชำญจำนวนมำกเชื่อว่ ำ กำรมีเพศสั มพันธ์ ของ
วัยรุ่นนั้นไม่ ใช่ เรื่องน่ ำวิตก ถ้ ำวัยรุ่นใช้ วธิ ีทมี่ ปี ระสิ ทธิภำพใน
กำรป้ องกันกำรตั้งครรภ์ และกำรติดโรคติดต่ อทำงเพศสั มพันธ์
และถ้ ำเป็ นเพศสั มพันธ์ ทเี่ กิดจำกกำรตัดสิ นใจอย่ ำงมี
วุฒิภำวะของวัยรุ่นเอง แต่ สิ่งทีต่ ้ องระมัดระวัง ได้ แก่ ปัญหำ
ของวัยรุ่นหญิงทีอ่ ำจมีเพศสั มพันธ์ โดยไม่ สมัครใจ ไม่ ร้ ู ตวั
ล่ วงหน้ ำและเป็ นเพศสั มพันธ์ ทไี่ ม่ ปลอดภัยทั้งในแง่ ของ
โรคติดต่ อและกำรตั้งครรภ์ (Singh et al:, 2000)
เยาวชนพลาดได้ ???
มีบุคคลที่พ่ งึ ได้ หรื อไม่ ???
มีผ้ ูใหญ่ ในชีวติ ที่พร้ อมและเข้ าใจ
ช่ วยเหลือให้ กาลังใจ
เราสามารถมีส่วนร่วมกับเรื่องนี้ ได้อย่างไร
• บทสาธาณสุข หาข้ อมูลความรู้รอบด้ าน เพื่อเป็ นที่ปรึกษาให้
ทางเลือก เตรียมระบบบริการ
• ดูแลเยาวชน ในหมู่บ้าน กระจายถุงยาง
• ครูต้องเปิ ดใจ ให้ คาปรึกษา
• รร. ทาความเข้ าใจผู้บริหาร ครูจะมีส่วนร่ วมได้ อย่ างไร
• บทบาท อสม. ต้ องเข้ าใจ เรื่องเพศวิถี ส่ งเสริมการใช้ ถุงยาง
• ท้ องถิ่น สนับสนุนงบประมาณได้
Positive Model
การพัฒนาเยาวชนด ้านบวก
กำรพัฒนำเยำวชนเชิงบวก
(Positive youth Development)
• “การสร้ างต้ นทุนชีวิตของเยาวชน จึงมีความจาเป็ นอย่ างมากและ
เป็ นเครื่องมือที่จะช่ วยให้ เยาวชน ครอบครัวและสังคมเกิดภูมิค้ ุมกัน
ที่แข็งแรงเพื่ออนาคตของประเทศชาติต่อไป”
• “การดูแลป้องกันสุขภาพทัง้ กายใจและสังคมของเยาวชน ไม่
เพียงแต่ ป้องกันเยาวชนในยุคปั จจุบัน แต่ ยังช่ วยสร้ างผู้ใหญ่ ท่ มี ี
คุณลักษณะที่ดใี นอนาคตด้ วยและเป็ นสิ่งที่ท้าทายผู้ท่ เี กี่ยวข้ องกับ
การดูแลสุขภาพเยาวชนเป็ นอย่ างมากในการที่จะเปลี่ยนแปลง
พฤติกรรมเสี่ยง”
“วันนีค้ ุณจับถูก (ไม่ ใช่ จับผิด) คนที่คุณรักและคนรอบข้ างคุณ
แล้ วหรือยัง ?”
กำรพัฒนำเยำวชนเชิงบวก
(Positive youth Development)
• “การสร้ างต้ นทุนชีวิตของเยาวชน จึงมีความจาเป็ นอย่ างมากและ
เป็ นเครื่องมือที่จะช่ วยให้ เยาวชน ครอบครัวและสังคมเกิดภูมิค้ ุมกัน
ที่แข็งแรงเพื่ออนาคตของประเทศชาติต่อไป”
• “การดูแลป้องกันสุขภาพทัง้ กายใจและสังคมของเยาวชน ไม่
เพียงแต่ ป้องกันเยาวชนในยุคปั จจุบัน แต่ ยังช่ วยสร้ างผู้ใหญ่ ท่ มี ี
คุณลักษณะที่ดใี นอนาคตด้ วยและเป็ นสิ่งที่ท้าทายผู้ท่ เี กี่ยวข้ องกับ
การดูแลสุขภาพเยาวชนเป็ นอย่ างมากในการที่จะเปลี่ยนแปลง
พฤติกรรมเสี่ยง”
“วันนีค้ ุณจับถูก (ไม่ ใช่ จับผิด) คนที่คุณรักและคนรอบข้ างคุณ
แล้ วหรือยัง ?”
มองต่างมุม
“มองปั ญหาเป็ นทีต
่ งั ้ ”
ี่ ง
1. วัยรุน
่ เป็ นวัยทีม
่ ค
ี วามเสย
และเป็ นปั ญหา
“มองคุณค่าเป็ นทีต
่ ัง้ ”
1.วัยรุน
่ เป็ นวัยทีม
่ พ
ี ลัง
ความคิดสร ้างสรรค์และมี
ั ยภาพมาก
ศก
2.ให ้ความสาคัญกับพฤติกรรม
ี่ งมากกว่า
เสย
2.ให ้ความสาคัญกับการมี
กิจกรรมร่วมมากกว่า
3.เมือ
่ เกิดผลจากพฤติกรรม
ี่ งจึงค่อยวางแผนการ : 3.สร ้างการสง่ เสริมคุณภาพ
เสย
ไว ้เป็ นเกราะป้ องกันจาก
วัวหายแล ้วล ้อมคอก
ี่ ง
ภาวะเสย
4.ขาดการจัดการกับปั ญหา
4.การมีสว่ นร่วมกิจกรรมต่อ
ั เจน
ชุมชนทีช
่ ด
“มองปั ญหาเป็ นทีต
่ งั ้ ”
5. มองการแก ้ปั ญหาต ้อง
ั ผู ้เชย
ี่ วชาญ
อาศย
6.การแก ้ปั ญหาขึน
้ อยูก
่ บ
ั
โครงการและความ
ั ซอนของปั
้
ซบ
ญหา
“มองคุณค่าเป็ นทีต
่ งั ้ ”
5.มองการแก ้ปั ญหาแบบบูรณา
การโดยเฉพาะชุมชนท ้องถิน
่
6.การแก ้ปั ญหาได ้โดยการสร ้าง
ทางออกทีห
่ ลากหลายแก่
เยาวชน
7.ดาเนินการได ้จากัดภายใต ้ 7.ดาเนินการได ้ตามชุมชน
ท ้องถิน
่ ทุกแห่งตาม
งบประมาณทีไ่ ด ้รับ
ทรั
พ
ยากรที
ม
่
ใ
ี
นพื
น
้
ที
่
่
ื
8.สอให ้เห็นความ
ื่ ให ้เห็นความสาคัญของ
8.สอ
ั ซอนของปั
้
สลับซบ
ญหา
การมีสว่ นร่วมของชุมชน และ
ยากแก่การแก ้ไข
ครอบครัว
ต้นทุนชวี ต
ิ ของเด็กและเยาวชน
เด็กทุกคนมีต ้นทุนชวี ต
ิ ในระดับหนึง่ ตัง้ แต่
เกิดและ จะเพิม
่ พูนจากการเลีย
้ งดูและ
สงิ่ แวดล ้อมทีง่ ดงาม
้ งลูก จนต้นทุนชวี ต
“บางครอบคร ัวเลีย
ิ ทีม
่ ี
ตงแต่
ั้
ตน
้ หดหายไปด้วย”
ความหมดหว ังแห่งชาติ
• เด็กมาเรียนเพราะหน ้าที่
• ในห ้องเรียนเป็ นทีท
่ เี่ ด็กไม่
อยากไป
• เด็กจะไปเรียนตามสถานทีก
่ วด
ื่ สงิ่ รอบตัว ฯลฯ
วิชา สอ
• โรงเรียนจะปรับตัวอย่างไร
• ครูจะสร ้างการเรียนรู ้อย่างไรให ้
• สถาบันครอบครัว “ล่ม
เด็กลงมือทา “ชอบ” “ตรงใจที่
สลาย”เลีย
้ งลูกด ้วยพีเ่ ลีย
้ ง
เด็กอยากรู ้” และทาให ้เด็ก “คิด
เป็ น” โดยทีส
่ อดคล ้องกับ “ยุค
โทรทัศน์ เกมส ์ ให ้เงิน
สมัย”
ควำมสำคัญของต้ นทุนชีวติ ของเด็กและเยำวชน
เด็กและเยาวชนทุกคนมี ต้นทุนชีวิต
ความสัมพันธ์ที่ดีของเด็ก เยาวชน
ครอบครัวและชุมชน คือ กุญแจสู่
ความสาเร็จ
การสร้างต้นทุนชีวิตเป็ นกระบวนการต่อเนื่ อง
และมีหลักการที่ชดั เจนควรปฏิบตั ิ อย่างสมา่ เสมอจน
เป็ นนกิจวัตร
•กำรสร้ ำงต้ นทุนชีวติ เป็ นวัฎจักรของชีวติ มำกกว่ ำเป็ น
โครงกำร
ทุกคนสำมำรถสร้ ำงต้ นทุนชีวติ ได้
คุณสมบัติของ ต้นทุนชีวิตของเด็กและเยาวชน
การสร้ างเสริมต้ นทุนชีวิต มีความสาคัญต่ อการลดพฤติกรรมเสี่ยง
มากกว่ าสถานะทางเศรษฐกิจของครอบครัว และมีความเชื่อมโยงแบบ
บูรณาการกับพฤติกรรมที่ดอี ีกหลายอย่ างของเด็กและเยาวชน
การพร่องต้นทุนชีวิตของเด็กและเยาวชน มีความสัมพันธ์
อย่างมีนัยสาคัญกับการก่อให้เกิดพฤติกรรมเสี่ยงต่างๆ
“ต้ นทุนชีวติ ยิง่ ตำ่ พฤติกรรมเสี่ ยงยิง่ มำก
ต้ นทุนชีวติ ยิง่ สู ง พฤติกรรมเสี่ ยงยิง่ น้ อย”
ได้ คดิ ได้ ตัดสิ นใจ
ระดับกำรมีส่วนร่ วม...ระหว่ ำงเด็ก
กับผู้ใหญ่
ได้ คดิ ไม่ ได้ ตัดสิ นใจ
ไม่ ได้ คดิ ไม่ ได้ ตัดสิ นใจ
จำก... หนังสื อกำรมีส่วนร่ วมของเด็ก..กำรทำพอเป็ นพิธีส่ ู ควำมเป็ นประชำชน
วิถชี ีวติ วัยร่ ุ นในปัจจุบัน
วัยร่ ุนเป็ นปัญหา หรื อ วัยร่ ุนกาลังเผชิญปัญหา
และความท้ าทาย?
การทาให้เยาวชนได้พฒ
ั นาอย่างเต็มศักยภาพตาม
แนวคิด Positive Youth DevelopmenT *
•
•
•
•
เยาวชนต้ องการที่จะได้ รับความปลอดภัย มีส่ งิ ยึดเหนี่ยว
เยาวชนต้ องการมีความรู้สึกเป็ นส่ วนหนึ่ง และได้ รับการยอมรั บ
เยาวชนต้ องการรู้สึกถึงคุณค่ าในตัวเอง และสามารถแบ่ งปั นกับผู้อ่ นื
เยาวชนต้ องการรู้จักตัวเอง สามารถสะท้ อน ประเมินสิ่งที่ตนคิด รู้สึก
หรือกระทา
• เยาวชนต้ องการเป็ นอิสระ พึ่งตนเอง และควบคุมชีวิตตนเองได้
• เยาวชนต้ องการใกล้ ชิด หรือมีสัมพันธภาพกับกับผู้ใหญ่ ในชีวิตที่ใส่ ใจ
• เยาวชนต้ องการพัฒนาทักษะให้ มีความสามารถในการแก้ ไขปั ญหา
จัดการและพัฒนาชีวิต
* www.ncsl.org/programs/cyf/positiveyouth.htm
๕. ย้อนรอยวัยรุน่
ประเด็นสาคัญ
• ธรรมชาติของวัยรุ่นยุคไหนก็เหมือนกัน
• สิง่ ทีเ่ ปลีย่ นคือ สภาพแวดล้อม และสังคม
• เมือ่ วิถีชีวิตของวัยรุ่นและสังคมยุคนี้ เปลีย่ นไป ผูใ้ หญ่อาจจะ
คาดหวังเหมือนเดิมได้ แต่...การสอนเด็ก เตรียมเด็ก แบบเดิม
และ เท่าเดิม พอไหม?
• ถ้าไม่พอ เราจะช่วยหรือเตรียมเด็กให้สามารถใช้ชีวิตอย่างเท่า
ทันและเอาตัวรอดในสังคมทุกวันนี้ อย่างมีความสุข ปลอดภัย
รับผิดชอบทัง้ ตัวเองและคนทีเ่ กีย่ วข้องได้อย่างไร?
ท่ามกลางความเปลีย่ นแปลงทางสังคม....
โรงเรียนปรับตัวอย่างไร กับการจัดการเรียนรู้ ?
• โรงเรี ยน และห้ องเรี ยนเป็ นที่ๆ เด็กอยากไป ?
• สิ่งที่สอนในโรงเรียน น่ าสนใจ สอดคล้ องกับความ
เป็ นไป การเปลี่ยนแปลงในสังคม ?
• วิธีการเรี ยนรู้ น่ าสนใจ และสิ่งที่เรี ยนรู้ สามารถนาไป
ปรั บใช้ ได้ กับโลกภายนอกที่หมุนเร็ว?
• มีทางเลือกที่หลากหลาย หรื อยังคงสูตรสาเร็จ?
• ปิ ดกัน้ ปกป้อง ห้ ามปราม หรื อ สอนให้ เท่ าทัน คิด
เป็ น วิเคราะห์ เป็ น แก้ ปัญหาได้ ?
กำรพัฒนำเยำวชนเชิงบวก
(Positive youth Development)
• “การสร้างต้นทุนชีวิตของเยาวชน จึงมีความจาเป็ นอย่างมากและ
เป็ นเครื่องมือที่จะช่วยให้เยาวชน ครอบครัวและสังคมเกิด
ภูมิค้มุ กันที่แข็งแรงเพื่ออนาคตของประเทศชาติต่อไป”
• “การดูแลป้ องกันสุขภาพทัง้ กายใจและสังคมของเยาวชน ไม่
เพียงแต่ป้องกันเยาวชนในยุคปัจจุบนั แต่ยงั ช่วยสร้างผูใ้ หญ่ที่มี
คุณลักษณะที่ดีในอนาคตด้วยและเป็ นสิ่งที่ท้าทายผูท้ ี่เกี่ยวข้องกับ
การดูแลสุขภาพเยาวชนเป็ นอย่างมากในการที่จะเปลี่ยนแปลง
พฤติกรรมเสี่ยง”
“วันนี้ คณ
ุ จับถูก (ไม่ใช่จบั ผิด) คนที่คณ
ุ รักและคนรอบข้างคุณ
แล้วหรือยัง ?”
แนวคิดกำรสอนเพศศึกษำ
• เพศศึกษารอบด้ าน
(Comprehensive
Sexuality
Education)
• เพศศึกษาแบบห้ ามมี
เพศสัมพันธ์จนกว่าจะ
แต่งงาน
(Abstinence-onlyuntil-Marriage)
(หน้ า ๓๘-๓๙)
เราสอนเพศศึกษาแบบไหน ??
เปรียบเทียบหลักสูตรเพศศึกษาแบบเพศศึกษารอบด้าน
กับเพศศึกษาแบบห้ามมีเพศสัมพันธ์จนกว่าจะแต่งงาน
แปลและเรียบรียงจาก Advocates for Youth, 2000 M Street, N.W., Suite 750, Washington,
D.C. 20036 USA., www.advocatesforyouth.org
โดย โครงการก้าวย่างอย่างเข้าใจ องค์การแพธ (path), ๓๗/๑ ซอยเพชรบุรี ๑๕ ถนนเพชรบุรี
กรุงเทพฯ ๑๐๔๐๐
โทรศัพท์ ๐๒—๖๕๓-๗๕๖๓ ถึง ๖๕ โทรสาร ๐๒-๖๕๓-๗๕๖๘ email:
[email protected] website: www.teenpath.net
เพศศึกษารอบด้ าน
(Comprehensive Sex Education)
สอนให้ เห็นว่ าเรื่องเพศ
เป็ นเรื่องธรรมชาติ
ความต้ องการทางเพศ
เป็ นเรื่องปกติ และเป็ น
ส่ วนหนึ่งของชีวิตที่มีสุข
ภาวะ
เพศศึกษาแบบห้ ามมีเพศสัมพันธ์
จนกว่ าจะแต่ งงาน
(Abstinence-Only-Until-Marriage)
สอนให้ เห็นว่ า
เพศสัมพันธ์ ท่ อี ยู่
นอกเหนือจากการ
ครองคู่ สมรส เป็ น
อันตรายต่ อชีวิต จิตใจ
และความผาสุกของ
สังคม
เพศศึกษารอบด้ าน
(Comprehensive Sex Education)
สอนให้ เห็นว่ าการไม่ มี
เพศสัมพันธ์ คือวิธีท่ ีได้ ผล
ที่สุดต่ อการป้องกัน
ตัง้ ครรภ์ ไม่ พงึ ประสงค์
โรคติดต่ อทางเพศสัมพันธ์
รวมทัง้ โรคเอดส์
เพศศึกษาแบบห้ ามมีเพศสัมพันธ์
จนกว่ าจะแต่ งงาน
(Abstinence-Only-Until-Marriage)
สอนให้ เห็นว่ าการไม่ มี
เพศสัมพันธ์ จนกว่ าจะ
แต่ งงานคือพฤติกรรมทาง
เพศอย่ างเดียวที่เป็ นที่
ยอมรั บ
เพศศึกษารอบด้ าน
(Comprehensive Sex Education)
เพศศึกษาแบบห้ ามมีเพศสัมพันธ์
จนกว่ าจะแต่ งงาน
(Abstinence-Only-Until-Marriage)
สอนให้ ตระหนักถึงการให้
คุณค่ า และตระหนักถึง
สิ่งที่ตนเองให้ คุณค่ า
ควบคู่ไปกับความเข้ าใจ
ว่ าครอบครั วชุมชน สังคม
ที่เราอยู่ ให้ คุณค่ าต่ อสิ่ง
นัน้ อย่ างไร
สอนให้ เห็นว่ ามี ควรให้
คุณค่ าแก่ ส่ งิ ที่ถูกต้ องดีงามที่
มีได้ เพียงอย่ างเดียวเท่ านัน้
สาหรั บทุกคน
เพศศึกษารอบด้ าน
(Comprehensive Sex Education)
เพศศึกษาแบบห้ ามมีเพศสัมพันธ์
จนกว่ าจะแต่ งงาน
(Abstinence-Only-Until-Marriage)
ให้ สาระที่หลากหลายที่
เกี่ยวกับเรื่องเพศ ไม่ ว่าจะ
เป็ นพัฒนาการธรรมชาติใน
เรื่องเพศของมนุษย์
สัมพันธภาพ ทักษะส่ วนบุคคล
การแสดงออกในเรื่องเพศ
สุขภาพทางเพศ มิตดิ ้ านสังคม
วัฒนธรรมของเรื่องเพศ
ตอกยา้ ประเด็นการรักษา
พรหมจรรย์ และผลร้ ายต่ าง ๆ
ของการมีเพศสัมพันธ์ โดยไม่
แต่ งงาน
เพศศึกษารอบด้ าน
(Comprehensive Sex Education)
เพศศึกษาแบบห้ ามมีเพศสัมพันธ์
จนกว่ าจะแต่ งงาน
(Abstinence-Only-Until-Marriage)
ให้ ข้อเท็จจริง
ตรงไปตรงมาไม่ ปิดบังใน
เรื่ องการทาแท้ ง การ
สาเร็จความใคร่ ด้วย
ตนเอง ความพึงใจและ
รสนิยมทางเพศแบบต่ างๆ
พยายามหลีกเลี่ยงที่จะพูด
ถึงเรื่ องเพศบางเรื่ อง เช่ น
การทาแท้ ง การสาเร็จ
ความใคร่ รสนิยมทางเพศ
ฯลฯ
เพศศึกษารอบด้ าน
(Comprehensive Sex Education)
ให้ ข้อมูลรอบด้ าน ทัง้
ทางบวกเกี่ยวกับเรื่ อง
เพศ การแสดงออก
ทางเพศ ควบคู่ไปกับ
ผลดีของการรักษา
พรหมจรรย์
เพศศึกษาแบบห้ ามมีเพศสัมพันธ์
จนกว่ าจะแต่ งงาน
(Abstinence-Only-Until-Marriage)
ให้ ข้อมูลเชิงตาหนิ ป้อง
ปราม เพื่อส่ งเสริมการ
รักษาพรหมจรรย์ และไม่
ส่ งเสริมการแสดงออก
หรือแสดงความรู้สึกที่
เกี่ยวกับเรื่องเพศ
เพศศึกษารอบด้ าน
(Comprehensive Sex Education)
เพศศึกษาแบบห้ ามมีเพศสัมพันธ์
จนกว่ าจะแต่ งงาน
(Abstinence-Only-Until-Marriage)
สอนให้ ร้ ูว่าการใช้ ถุงยางและ
สารหล่ อลื่นอย่ างถูกต้ อง จะ
ทาให้ สามารถลดความเสี่ยง
ต่ อการตัง้ ครรภ์ ไม่ พงึ ประสงค์
และการเกิดโรคติดต่ อทาง
เพศสัมพันธ์ แม้ ว่าจะไม่
ประกันความเสี่ยงได้ ๑๐๐%
(ซึ่งเกิดจากการใช้ )
เน้ นประเด็นว่ าไม่ สามารถ
เชื่อมั่นในถุงยางอนามัย
เพราะไม่ สามารถประกันความ
ปลอดภัย และมักจะขยาย
ภาพความล้ มเหลวของถุงยาง
อนามัยให้ เกินจริง
เพศศึกษารอบด้ าน
(Comprehensive Sex Education)
เพศศึกษาแบบห้ ามมีเพศสัมพันธ์
จนกว่ าจะแต่ งงาน
(Abstinence-Only-Until-Marriage)
สอนให้ ร้ ูว่าการใช้ วธิ ีการ
คุมกาเนิดสมัยใหม่
สามารถป้องกันการ
ตัง้ ครรภ์ ไม่ พงึ ประสงค์ ได้
อย่ างไร
ไม่ พยายามพูดถึงวิธี
คุมกาเนิดและวิธีใช้ ท่ ี
ถูกต้ อง แต่ เลือกพูด
เรื่องถุงยางโดยเน้ นความ
ไม่ ปลอดภัยของถุงยาง
เพศศึกษารอบด้ าน
(Comprehensive Sex Education)
ให้ ข้อมูลที่ถูกต้ องชัดเจน
เกี่ยวกับโรคติดต่ อทาง
เพศสัมพันธ์ และเอดส์
รวมทัง้ การหลีกเลี่ยงความ
เสี่ยงทาได้ อย่ างไรบ้ าง
เพศศึกษาแบบห้ ามมีเพศสัมพันธ์
จนกว่ าจะแต่ งงาน
(Abstinence-Only-Until-Marriage)
ให้ ข้อมูลที่ไม่ ชัดเจน และ
มักจะขยายความในเรื่องการ
ติดเชือ้ ด้ วยข้ อมูลที่เกินจริง
และมักพยายามทาให้ ผ้ ูเรี ยน
เชื่อว่ าถ้ ามีเพศสัมพันธ์ โดยไม่
แต่ งงาน จะได้ รับผลจากโรค
ร้ ายเล่ านัน้ อย่ างหลีกเลี่ยง
ไม่ ได้
เพศศึกษารอบด้ าน
(Comprehensive Sex Education)
สอนให้ ตระหนักว่ า คาสอน
และคุณค่ าทางศาสนาที่บุคคล
ยึดถือจะมีส่วนกาหนดการ
ดาเนินชีวติ และการ
แสดงออกทางเพศของบุคคล
อย่ างไร และให้ โอกาสผู้เรี ยน
ได้ สารวจความคิด ความเชื่อ
ของตน และครอบครัวต่ อเรื่ อง
นี ้
เพศศึกษาแบบห้ ามมีเพศสัมพันธ์
จนกว่ าจะแต่ งงาน
(Abstinence-Only-Until-Marriage)
มักจะนาคาสอนมาใช้ เป็ น
เครื่ องตอกยา้ จูงใจให้ เชื่อถือ
และปฏิบัติ และสร้ าง
ความรู้ สึกผิดบาปผิด เมื่อไม่
ปฏิบัตติ ามสิ่งที่พงึ เป็ น
เพศศึกษารอบด้ าน
(Comprehensive Sex Education)
เพศศึกษาแบบห้ ามมีเพศสัมพันธ์
จนกว่ าจะแต่ งงาน
(Abstinence-Only-Until-Marriage)
สอนให้ เห็นว่ าเมื่อเด็ก/วัยรุ่ นหญิง
ตัง้ ครรภ์ โดยไม่ ตงั ้ ใจ และไม่ พร้ อม
มีทางเลือก ไม่ ว่าจะเป็ นการอุ้ม
ครรภ์ จนครบกาหนดคลอดและ
เลีย้ งดูทารก หรือเมื่อคลอดแล้ ว
อาจหาทางให้ ทารกแก่ ผ้ ูอุปถัมภ์
อื่น หรืออาจยุตกิ ารตัง้ ครรภ์ ด้วย
การทาแท้ งหากไม่ พร้ อมจริง ๆ
สอนให้ เห็นว่ าหากเด็ก/วัยรุ่ นหญิง
ตัง้ ครรภ์ ไม่ พงึ ประสงค์ มีเพียง
หนทางเดียวคือต้ องอุ้มครรภ์ จน
คลอดและต้ องเลีย้ งดูบุตร หรื อหา
ผู้อุปถัมภ์ ทางเลือกของการทา
แท้ งเป็ นบาปผิดร้ ายแรง และ
ยอมรับไม่ ได้
เพศศึกษารอบด้าน
• เพศเป็ นเรื่องธรรมชาติ
• คุณค่าของคนขึน้ อยู่กบั
ตัวเอง คู่ ชุมชน และสังคม
• เป้ าหมายคือการคิด
วิเคราะห์ด้วยข้อมูลที่รอบ
ด้าน
• ให้ข้อมูลที่ถกู ต้อง รอบด้าน
• เชื่อมันในตั
่
วผูเ้ รียนว่าคิด
วิเคราะห์ และรับผิดชอบได้
เพศศึกษาเอทีเอ็ม
• เพศเป็ นเรือ่ งไม่ดี
• ให้คณ
ุ ค่าแก่พรหมจรรย์
• ต้องมีเพศสัมพันธ์หลัง
แต่งงานเท่านัน้
• ให้ข้อเท็จจริงเพียง
บางส่วน
• ใช้การห้ามปราม
เพศศึกษาชีโ้ พรงให้กระรอก?
• การศึกษาพฤติกรรมทางเพศของวัยรุน่
สหรัฐฯ และยุโรป โดย Advocates for
Youthและ North Carolina
อัตราการตัง้ ครรภ์ของวัยรุ่นหญิง (ต่อพันราย)
• สหรัฐฯ ๕๒
• เนเธอร์แลนด์ ๔
• ฝรังเศส
่ ๙
• เยอรมันนี ๑๔
อัตราการทาแท้งของวัยรุ่นหญิง (ต่อพันราย)
• สหรัฐฯ ๒๖.๘
• เนเธอร์แลนด์ ๔.๒
• ฝรังเศส
่ ๘.๙
• เยอรมันนี ๓.๑
จานวนผูป้ ่ วยเอดส์ (ต่อแสนราย)
•สหรัฐฯ ๒๑.๗
•เนเธอร์แลนด์ ๒.๒
•ฝรังเศส
่ ๔.๘
•เยอรมันนี ๑.๗
•(ไทย ๓ แสนใน ๖๐ ล้านคน = ๕๐๐)
อายุเมือ่ มีเพศสัมพันธ์ครัง้ แรก
•สหรัฐฯ ๑๖.๓
•เนเธอร์แลนด์ ๑๗.๗
•ฝรังเศส
่ ๑๖.๖
•เยอรมันนี ๑๗.๔
•(ไทย ๑๕)
ชี้โพรง???
• สหรัฐฯ : ผูน้ าเพศศึกษาแบบเอทีเอ็ม
• ยุโรป : ผูน้ าเพศศึกษาแบบรอบด้าน
• ไทย : สมาทานเพศศึกษาแบบไหน?
ข้อเสนอจากงานวิจยั
•
•
•
•
•
•
ออกมาตรการจากข้อเท็จจริงที่พบจากงานวิจยั
มีเป้ าหมายชัดเจนในการลดอัตราเพศสัมพันธ์ที่ไม่ปลอดภัย
วัยรุน่ สามารถเข้าถึงอุปกรณ์เพื่อความปลอดภัยได้ฟรี
ผูใ้ หญ่มองวัยรุน่ เป็ นทรัพยากร
ใช้สื่อมวลชนเป็ นแนวร่วม
เพศศึกษาแบบรอบด้าน
ข้อเสนอจากงานวิจยั (ต่อ)
• ผูใ้ หญ่จะสอนให้วยั รุ่นมองเรือ่ งเพศเป็ นเรื่อง
ธรรมชาติ
• ผูใ้ หญ่เชือ่ มันในการตั
่
ดสินใจของวัยรุ่น
• คุณค่าของพฤติกรรมทางเพศอยูท่ ค่ี วามรับผิดชอบ
ความรัก ความเคารพ ความเท่าเทียม
ข้อเสนอเรื่องแนวการสอนเพศศึกษา
•
•
•
•
มุง่ ให้ผเู้ รียนมีข้อมูลรอบด้าน และรับผิดชอบตัวเอง
ส่งเสริมการแลกเปลี่ยนข้อมูลและความคิดเห็นที่รอบด้าน
การไม่ตดั สินผูเ้ รียนจะทาให้เกิดการสื่อสารรอบด้าน
มองเห็นความเสี่ยง และผลกระทบที่ชดั เจน (ประสบการณ์
เฉี ยด)
• มองเห็นทางเลือกที่หลากหลาย ไม่มีสตู รสาเร็จ
• การตัดสินใจในการปฏิบตั ิ เป็ นภาระของผูเ้ รียน
เพศศึกษาชีโ้ พรงให้กระรอก?(ต่อ)
การศึกษาของ UNAIDS
• เพศศึกษาช่วยชะลอการมีเพศสัมพันธ์ครัง้ แรก
• ช่วยลดจานวนคูน่ อน
• ช่วยลดการตัง้ ครรภ์เมือ่ ไม่พร้อม
• ลดการติดโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
การศึกษาเรื่องการให้บริการถุงยางแก่นักเรียน
Susan Blake, Goerge Washington
•
•
•
•
บริการถุงยางไม่ได้ทาให้นักเรียนมีเพศสัมพันธ์มากขึน้
นักเรียนที่เคยมีประสบการณ์ทางเพศจะใช้ถงุ ยางมากขึน้
นักเรียนในโรงเรียนที่ไม่มีถงุ ยาง จะใช้ยาคุมมากกว่า
ต้องมีบริการข้อมูลข่าวสารอย่างรอบด้านในเรื่องเพศให้แก่
นักเรียน
ข้อเสนอจากงานวิจยั (ต่อ)
• ผูใ้ หญ่จะสอนให้วยั รุ่นมองเรือ่ งเพศเป็ นเรื่องธรรมชาติ
• ผูใ้ หญ่เชือ่ มันในการตั
่
ดสินใจของวัยรุ่น
• คุณค่าของพฤติกรรมทางเพศอยูท่ ค่ี วามรับผิดชอบ
ความรัก ความเคารพ ความเท่าเทียม
สิ่ งสำคัญ/จะกลับไปใช้ ต่อ ทีไ่ ด้ เรียนรู้จำกวันวำน
• เข้ าใจหลักการ QQR วิเคราะห์ ความเสี่ยง
• รู้ วธิ ีป้องกันตัวเอง และการใช้ ชีวติ กับผู้
ติดเชือ้
• เรี ยนรู้ วัยรุ่ น ลืมธรรมชาติของวัยรุ่ น
• ความเข้ าใจ การเผชิญเรื่ องการจัดการ
ท้ องไม่ พร้ อม
• เข้ าใจ พฤติกรรมเสี่ยง กับ กลุ่มเสี่ยง
• โอกาสเสี่ยง “แลกนา้ ” ดูภายนอกไม่ ร้ ู
• เข้ าใจ เด็กกาลังเผชิญปั ญหา ไม่ ใช่ ตัว
ปั ญหา “
นาไปใช้ในครอบครัวก่อน
เห็นผลแล้วจะขยายผล
อยากแนะนาในชุมชนหลัก QQR
เปลี่ยนวิธี การดูแล สื่อสารกับลูก
บอกชุมชนต่อ ที่ๆมีโอกาส
ควรให้เด็กเข้ามามีส่วนร่วม
และผูใ้ หญ่ควรให้ข้อมูลที่รอบด้านให้
มาก
• ควรให้ทางเลือกหลายๆทางในการ
คุมกาเนิด ป้ องกันตัวเอง
•
•
•
•
•
•
•