สื่อ : ภาพสะท้อนและการผลิตซา้ เรือ่ งเพศ รุจน์ โกมลบุตร สาขาหนังสือพิมพ์และสิ่งพิมพ์ คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ หัวข้อการแลกเปลี่ยน • • • • เพศสภาวะในสื่อสิ่งพิมพ์ เพศวิถีในหนังสือพิมพ์ กรอบการทางานเรื่องเพศของสื่อ แบบฝึ กหัดท้ายชัวโมง ่ เพศภาวะในสื่อ • กองบก.ผูช้ าย (เช่น จีเอ็ม) นาเสนอ “เพศสภาวะผูช้ าย” เหมือนกับกองบก.ผูห้ ญิง (เช่น ดิฉัน)ไหม? • กองบก.ผูช้

Download Report

Transcript สื่อ : ภาพสะท้อนและการผลิตซา้ เรือ่ งเพศ รุจน์ โกมลบุตร สาขาหนังสือพิมพ์และสิ่งพิมพ์ คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ หัวข้อการแลกเปลี่ยน • • • • เพศสภาวะในสื่อสิ่งพิมพ์ เพศวิถีในหนังสือพิมพ์ กรอบการทางานเรื่องเพศของสื่อ แบบฝึ กหัดท้ายชัวโมง ่ เพศภาวะในสื่อ • กองบก.ผูช้ าย (เช่น จีเอ็ม) นาเสนอ “เพศสภาวะผูช้ าย” เหมือนกับกองบก.ผูห้ ญิง (เช่น ดิฉัน)ไหม? • กองบก.ผูช้

สื่อ : ภาพสะท้อนและการผลิตซา้ เรือ่ งเพศ
รุจน์ โกมลบุตร
สาขาหนังสือพิมพ์และสิ่งพิมพ์
คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
หัวข้อการแลกเปลี่ยน
•
•
•
•
เพศสภาวะในสื่อสิ่งพิมพ์
เพศวิถีในหนังสือพิมพ์
กรอบการทางานเรื่องเพศของสื่อ
แบบฝึ กหัดท้ายชัวโมง
่
เพศภาวะในสื่อ
• กองบก.ผูช้ าย (เช่น จีเอ็ม) นาเสนอ “เพศสภาวะผูช้ าย”
เหมือนกับกองบก.ผูห้ ญิง (เช่น ดิฉัน)ไหม?
• กองบก.ผูช้ าย (เช่น จีเอ็ม) นาเสนอ “เพศสภาวะผูห้ ญิง”
เหมือนกับกองบก.ผูห้ ญิง (เช่น ดิฉัน)ไหม?
• ใครที่สมาทาน “ปิตาธิปไตย” ไปใช้บา้ ง?
เนื้ อหาเรื่องเพศ (sexuality)และเพศสัมพันธ์ที่ปลอดภัย
(safe sex) ในหนังสือพิมพ์ไทยรัฐ
รุจน์ โกมลบุตร
คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
สนับสนุนโดย AIDS Society of the Philippines
และ The Rockefeller Foundation
หลักการและเหตุผล
• คนได้รบั ข้อมูลเรือ่ งเพศมาก = ทางเลือกมาก = สุขภาพ
ทางเพศดี
• หนังสือพิมพ์ไทยรัฐ ให้ข้อมูลเรือ่ งเพศว่าอะไรบ้าง และ
อย่างไร
วิธีการศึกษา
•
•
•
•
•
ศึกษาหนังสือพิมพ์ไทยรัฐปี ๒๕๔๐ ๒๕๔๓ และ ๒๕๔๕
สุ่มตัวอย่างหมุนเวียน ทุก ๘ วัน
ศึกษาทุกหน้ า ยกเว้นคอลัมน์ สงั คม คอลัมน์ ซุบซิบ โฆษณา และละคร
ศึกษาเฉพาะภาพหน้ า ๑
เรื่องเพศ = ๑.สรีระ ๒.อนามัยเจริญพันธุ์ ๓.สุขภาพทางเพศ ๔.พฤติกรรม
ทางเพศ ๕.อัตลักษณ์ทางเพศ ๖.สัมพันธภาพ ๗.ความรุนแรงทางเพศ
และ ๘.อื่นๆ
(๑) ปริมาณของการนาเสนอ
•
•
•
•
ปี ๒๕๔๐ จานวน ๒๕๒ ครัง้ ๖๙,๗๓๙ ตร.ซม.
ปี ๒๕๔๓ จานวน ๓๒๕ ครัง้ ๕๙,๙๔๙ ตร.ซม.
ปี ๒๕๔๕ จานวน ๓๗๔ ครัง้ ๘๒,๑๒๕ ตร.ซม.
พบมากที่หน้ าบันเทิง, หน้ า ๑, หน้ าในประเทศ,
ต่างประเทศ, สตรี, การศึกษา สาธารณสุข วิทยาการ
และเทคโนโลยี
(๒) ๑๐ ประเด็นที่ถกู นาเสนอบ่อย
ที่สดุ
๑ ปัญหาสัมพันธภาพ (๓๑.๐๒%)
– นอกใจ รสนิยมที่แตกต่าง หมดรัก
– โทษถึงตาย
๒ สัมพันธภาพอันดี (๒๑.๕๖%)
– มักเป็ นคู่ของดารา คนดัง
– การจีบกัน การแต่งงาน ในหน้ าบันเทิง และหน้ า ๑
(๒) ๑๐ ประเด็นฯ
๓ การข่มขืน (๙.๙%)
๔ ค่านิยมทางเพศ (๘.๒๐ %) เช่น ความงาม พรหมจรรย์ แม่ศรี
เรือน
๕ ขบวนการค้าประเวณี (๕.๔๗ %)
๖ เพศกับสื่อ (๔.๘๔%)
๗ กอดจูบลูบคลา (๔.๐๐%)
๘ ความเสมอภาคทางเพศ (๓.๖๘%)
(๒) ๑๐ ประเด็นฯ
๘ เอชไอวี (๓.๖๘%)
–
–
–
–
–
–
การติดต่อเกิดขึน้ เฉพาะกลุ่ม
โครงการวิจยั ในต่างประเทศที่ให้ข้อมูลสัน้ ๆ
ทางเลือกในการป้ องกันที่ไม่อธิบายข้อจากัด (ตรวจเลือด รักนวลฯ)
ตื่นตระหนก มรณะ
ข่าวประชาสัมพันธ์จากราชการ
ไม่พบข้อมูลเรื่อง “เอดส์รกั ษาได้”
(๒) ๑๐ ประเด็นฯ
๑๐ การประกวดนางงาม (๓.๐๕ %)
(๓) เพศสัมพันธ์ที่ (ไม่) ปลอดภัย
• ถุงยางอนามัย (๑.๒๖%)
– ใช้เฉพาะกลุ่ม
– เสนอในหน้ าการศึกษา สาธารณสุข ๑ ครัง้
– ไม่มนใจในถุ
ั่
งยางอนามัย
• การช่วยตัวเอง (๐.๓๑ %) เช่น วัยใส
• การมีเพศสัมพันธ์ทางปาก (๐.๒๑%) - ซื้อขายบริการทางเพศ
• งดการมีเพศสัมพันธ์ (๐.๑%)
(๔) โทนการนาเสนอ
• บอกกล่าว (๔๐.๙๐%) - เพิ่มขึน้ ทุกปี , อยู่หน้ า
บันเทิง
• สีสนั (๒๓.๓๔%) - มากในปี ๒๕๔๓, อยู่หน้ า ๑
• ตัดสิน (๒๓.๒๔%) -ไป “ญี่ปน”
ุ่ “แม่ใจยักษ์” “สาว
รักสนุก”, อยู่หน้ า ๑
• เหมารวม (๖.๑๐ %) - ผูช้ ายคือผูน้ าครอบครัว
วัยรุ่นไม่ว่นุ รัก, อยู่หน้ าบันเทิง
(๕) อุดมการณ์แฝง
• รักนวลสงวนตัว พรหมจรรย์ (ร้อยละ ๒๓.๕๕%) - ข่าว
ความสัมพันธ์ของดารา อยู่หน้ าบันเทิง
• ผูห้ ญิงเป็ นวัตถุทางเพศ (ร้อยละ ๒๓.๕๕%) -ข่าวข่มขืน
อยู่หน้ า ๑
• เพศเป็ นเรือ่ งสกปรก (ร้อยละ ๑๒.๕๑ %) - มีแนวโน้ ม
ลดลง
• อื่นๆ เช่น ผูช้ ายเป็ นใหญ่ เพศเป็ นเรือ่ งธรรมชาติ ฯลฯ
(๖) ภาพหน้ า ๑
• ภาพข่าว
– มีภาพเรื่องเพศมากขึน้
– ใช้พืน้ ที่มากที่สดุ ขึน้ ในปี ๒๕๔๓
– มักเป็ นภาพผูต้ ้องสงสัยคดีทางเพศ, ภาพบุคคลทัวไป,
่ ภาพดารา, ภาพ
ศพ
– มักปกปิดเอกลักษณ์ ด้วยการลงสกรีน และใส่แว่น ใส่หมวก
– มีการละเมิดเอกลักษณ์ อยู่บ้าง
– เนื้ อหา- ปัญหาสัมพันธภาพ การแต่งงาน การข่มขืน การประกวดสาว
งาม
(๖) ภาพหน้ า ๑
• ภาพแฟชัน่
– ๒๕๔๐ ใส่เสื้อผ้าเต็มตัว ๘๐.๐%, วันพีซ ๒๐.๐ %
– ๒๕๔๓ ใส่เสื้อผ้าเต็มตัว ๑๔.๒๙%, ทูพีซ ๕๗.๑๔ %,
สายเดี่ยว เกาะอก ๒๘.๕๗ %
– ๒๕๔๕ ใส่เสื้อผ้าเต็มตัว = ใส่ทูพีซ ๓๘.๘๙ %
(๗) สรุป
•
•
•
•
•
•
•
ปัญหาสัมพันธภาพ พรหมจรรย์ และค่านิยมตะวันตก
การข่มขืนกับปัญหาปัจเจกบุคคล และโครงสร้าง
อคติทางเพศ
เรื่องเพศในสื่อ
เอดส์ ไกลตัว และ อยู่ร่วมกันไม่ได้
การปฎิบตั ิ ทางวิชาชีพ
บทบาทของรัฐและเอ็นจีโอในเรื่องเพศ
หนังสืออ่านประกอบ
• กาญจนา แก้วเทพ, ภาพลักษณ์สตรีในสื่อมวลชน.
• Ruj Komonbut, Mariem Visasratana, Covering the Condom
Nation.
การสื่อสารเรื่องเพศในสังคมไทย
ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.วิลาสินี พิพิธกุล
คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย
สนับสนุนโดย สานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจยั (สกว.)
แนวทางการศึกษา
• วิเคราะห์วาทกรรมเรื่องเพศในหนังสือพิมพ์ไทยปี ๒๕๔๐-๒๕๔๕
๑. วาทกรรมว่าด้วยเพศสรีระ
•
•
•
•
อยู่ในปริมณฑลของหมอเท่านัน้ (เช่น ไวอะกร้า)
ขนาดของสรีระในเชิงกามารมณ์/บริโภคนิยม (เช่น ขยายขนาด)
ความงาม (เช่น ความผอม)
วาทกรรมเช่นนี้ ทาให้คนไม่กล้าสื่อสาร
๒. วาทกรรมความรุนแรง
ผูห้ ญิงคือเหยื่อของอุตสาหกรรมทางเพศ (หลอกง่าย / หญิงไม่ดี)
เพศคือเรื่องส่วนตัว ไม่ใช่เรื่องส่วนร่วม (ปัญหาผัว-เมีย / หึงหวง)
การข่มขืนคือโรคจิต
ความสัมพันธ์เชิงอานาจ (เหตุเกิดบนชัน้ ๒๘)
ผูห้ ญิงขาดสติ (ดิ่งเจ้าพระยาประชดผัว / ผัว ๕ คนหนี ตาย กอด
ลูกโดดน้า)
• วาทกรรมเช่นนี้ ทาให้คนมองเรื่องเพศว่าไกลตัว และขาดความ
เข้าใจ
•
•
•
•
•
๓. เพศแบบดัง้ เดิม
•
•
•
•
เพศเป็ นเรื่องต้องห้าม (แบนตุด๊ -แต๋วออกทีวี)
เพศที่ผิดปกติ (จุฬาฯตีแผ่รกั ร่วมเพศ)
เพศเสรีที่ควรถูกประณาม (สอบเอ็นเสร็จ ลูกทะลักคาห้องน้า)
วาทกรรมเช่นนี้ ทาให้มีการตัดสิน แบ่งฝ่ ายถูก/ผิด
เพศในสื่อ
• มีการผลิตซา้
• คนในกองบก. ส่วนมาก ไม่ว่าจะเพศอะไร ก็สมาทาน “ผูช้ ายเป็ น
ใหญ่” มาใช้
• เพศภาวะในสื่อสิ่งพิมพ์ ในรอบ ๑๐ ปี ที่ผา่ นมา มีการ
เปลี่ยนแปลงที่น้อยมาก
• เพศวิถีในหนังสือพิมพ์ ให้ข้อเท็จจริงที่ผิดพลาด แฝงทรรศนะ
แบบอนุรกั ษ์นิยม
• สร้างพันธมิตรกับสื่อบันเทิง เช่น ละคร เอ็มวี เกมส์ออนไลน์
กรอบการทางานเรื่องเพศของสื่อ
• การประกอบสร้างความเป็ นจริงทางสังคม
Social Construction of Reality
• CRASH
กรอบการทางานของสื่อ
• ประธานาธิบดีซดั ดัม แห่งอิรกั เป็ นคนยังไง
• เมื่อวานนี้ มีเหตุการณ์ ใดเป็ นข่าวสาคัญ
การประกอบสร้างความเป็ นจริงทางสังคม
Social Construction of Reality
• ความเป็ นจริงไม่ใช่สิ่งที่มีอยู่แล้ว แล้วรอให้ไปค้นพบ แต่
ความเป็ นจริงเป็ นสิ่งที่ “ถูกสร้าง” ขึน้
• มหาชนพร้อมใจเฝ้ าถวายพระพร พิธียิ่งใหญ่! บุชส่งสาส์น
ชื่นชมบารมี ตีข่าวทัวโลก
่
(ไทยรัฐ ๙ มิ.ย.๔๙)
• เหตุการณ์มีหลากหลายมิติ แล้วแต่ว่านักข่าวจะหยิบ
อะไรมารายงาน
การประกอบสร้างความเป็ นจริงทางสังคม
Social Construction of Reality (ต่อ)
• ผูร้ บั สารก็ active ใช้เนื้ อหาจากสื่อมวลชนมาสร้าง
ความหมาย คือ
– โลกกายภาพ physical world
– โลกทางสังคม social world ที่สร้างขึน้
• คนเรียนรูโ้ ลกทางกายภาพผ่านสื่อ โดยไม่เคยต้องสัมผัส
เช่น หิมะ
แนวคิดการสร้างความหมาย
(๑) “ภาษาศาสตร์” Whorf และ Sapir
•
•
•
•
•
•
เอสกิโม มีคาว่า “หิมะ” ๕๐ คา
ไทยมีคาว่า “หน้ า” และ “ใจ” เป็ นจานวนมาก
เราพูดเช่นนี้ เราจึงคิด/เชื่ออย่างที่เราพูด
คาในกลุ่มเพศ : สาส่อน พรหมจรรย์ รักร่วมเพศ
คาในกลุ่มวัยรุ่น : ติดยา ติดเซ็กส์ ติดเกมส์
คาในกลุ่ม(ต่าง)ศาสนา : Hindu Bomb Islamic Bomb
แนวคิดการสร้างความหมาย
(๒) “ทฤษฎีปรากฏการณ์ นิยม” Schultz
• เราเข้าใจวิถีชีวิตประจาวันได้อย่างไร เช่น กุหลาบแดง นักเรียน
ช่างกล
• Stock of Social Knowledge
ซึ่งมาจากประสบการณ์
• ใช้มากในการโฆษณา เพื่อแทรกสินค้าเข้าไปใน Stock of Social
Knowledge
• จักษุแพทย์ แป้ งเด็ก พนักงานต้อนรับบนเครื่องบิน วิลลีขาย
ผงซักฟอก
แนวคิดการสร้างความหมาย
(๓) “ทฤษฎีสื่อมวลชน”
• ผลกระทบจากการหล่อหลอมให้เราคิดเห็นเช่นนัน้ จนตกผลึก
เช่น เสื้อเหลือง ผูห้ ญิงออกนอกบ้าน
• ถึงแม้จะมีข้อบกพร่อง แต่สงั คมนี้ กย็ งั พอรับได้
วิธีสร้างความหมายของนักข่าว
• สื่อใช้แหล่งข่าวซา้ ๆ เนื้ อหาคล้ายๆ กัน Structural Bias
• คลังแห่งความรู้ทางสังคมที่มีอคติ เช่น ฝรังมั
่ วเซ็
่ กส์ พม่าศัตรู
ร้าย แขกงก ไทยดีที่สดุ
• แบ่งองค์กรตามกระทรวง
• การฝึ กฝน เช่น อะไรคือข่าวที่น่าสนใจ วิธีพาดหัวข่าว
CRASH
•
•
•
•
•
Class
Race
Age
Sex
Handicap
แบบฝึ กหัด
• ให้กลุ่มแลกเปลี่ยนว่าในชิ้นงานโฆษณา ปรากฏ crash เป็ น
อะไรบ้าง
• ในฐานะคนทางานด้านเพศ กลุ่มมีความเห็นอย่างไร
• ให้ลองปรับปรุง crash ในงานโฆษณาชิ้นนี้ เพื่อลดภาพเหมา
รวม และเพิ่มโอกาสให้ผค้ ู นที่แตกต่างได้มี “พืน้ ที่” มากขึน้
ทัง้ นี้ โฆษณาที่ปรับปรุงใหม่ควรบรรลุวตั ถุประสงค์ทาง
การตลาดได้
• ให้เวลาแลกเปลี่ยนในกลุ่ม ๑๐ นาที และนาเสนอกลุ่มละ ๓
นาที