สิทธิมนุษยชน/วันที่ 6 gender/การเลือกปฏิบัติ ด้วยเหตุแห่งเพศ_เพิ่ม

Download Report

Transcript สิทธิมนุษยชน/วันที่ 6 gender/การเลือกปฏิบัติ ด้วยเหตุแห่งเพศ_เพิ่ม

การเลือกปฏิบตั ิดว้ ยเหตุแห่งเพศ
โดย สถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งเอเชีย
วันที่ 6 วันศุกร์ ที่ 21 กันยายน 2555
เรื่ องเล่าของมะนะ-มะนี
• ครอบครัวสุขใจ ได้ คลอดลูกแฝด ตังชื
้ ่อว่า มะนะ-มะนี ภายใต้ ผ้าอ้ อม
ผืนน้ อยนัน้ แทบแยกไม่ออกเลยว่าใครคือ ทารกหญิง หรื อ ทารกชาย
• โตขึ ้น เด็กทังคู
้ ่ ถูกแต่งตัวที่ครอบครัวเห็นว่าเหมาะสมทางเพศ มะนะ ใส่
ชุดสีฟ้า และมะนี ใส่ชดุ สีชมพูมีระบายหวานแหว๋ว
• วันเกิดครอบรอบ 6 ขวบของทังสอง
้ พ่อแม่ของมะนะ-มะนี จัดงานวัน
เกิดให้ เด็กทังสอง
้ และเชิญเพื่อนๆของเด็กทังสองมาร่
้
วมงาน
• พ่อแม่ของเพื่อนมะนะ-มะนี นาของขวัญวันเกิดมาให้ มะนะได้ รับปื น
และรถถึง ส่วนมะนี ได้ ต๊ กุ ตาใส่กระโปรงลาย มีระบาย
เรื่ องเล่าของมะนะ-มะนี
• วันนี ้ทังคู
้ แ่ ต่งตัวตามเพศเด่นชัด มะนะใส่กางเกงขาขันพร้
้ อมหูกระต่าย
ส่วนมะนีใส่ชดุ กระโปรงพร้ อมถุงน่อง
• กิจกรรมที่มะนีอยากเล่น คือ ตามมะนะและเด็กผู้ชายคนอื่นไปปื นต้ นไม้
แต่บรรดาแม่ และน้ าๆ ต่างตะโกนคัดค้ านอย่างหนัก พร้ อมทังดุ
้ ให้
กลับมาเตรี ยมอาหารและเล่นตุ๊กตาเหมือนเดิม
• ถึงเวลาตัดเค้ กวันเกิด มะนะได้ เป็ นคนตัดเค้ ก และมะนีกลับต้ องรอเค้ ก
จากมะนะแล้ วนาไปบริการให้ ทกุ คน
เรื่ องเล่าของมะนะ-มะนี
• หลายสิบปี ผ่านไป มะนะแต่งงานกับหญิงที่เขาเลือกเอง และเลี ้ยงดู
หญิงอีกคนเพื่อเป็ นภรรยาคนที่สอง
• ส่วนมะนี ต้ องแต่งงานกับชายที่พอ่ แม่หาให้ แต่อยูก่ ินได้ ไม่ถึงสิบปี สามี
ก็ตาย สังคมประณามมะนีวา่ เป็ นผู้หญิงกินผัว
คาถาม
• เกิดอะไรขึ ้นกับเด็ก 2 คนนี ้ ???
• เลือกปฏิบตั ิ = ผช ได้ เลือก ภรรยาเอง ส่วน ผญ ไม่ได้
เลือก
• ผช ได้ ตดั เค้ ก ส่วน ผญ ไม่ได้ ตดั
• เป็ นการกาหนดกรอบไว้ ก่อน เพศไหนต้ องมีพฤติกรรม
อย่างไร ถ้ าไม่ทาตามนันก็
้ จะโดนประณาม
• บทบาททางเพศ ความเป็ นหญิงเป็ นชาย ความเป็ นภาพลักษณ์ที่สงั คม
กาหนด เช่น โบว์ต้องผญ ผช ต้ องสีฟ้า ปี นต้ นไม้ นี่เป็ นบทบาทของชาย
หญิงที่ควรจะเป็ น
• เด็กผช.มีเมียสองคนไม่ผิด แสดงออกของความเป็ นชาย เกี่ยวข้ องกับ
เรื่ องเพศ เกี่ยวข้ องไปทุกมิตขิ องสังคม แล้ วนาไปสูเ่ รื่ องอะไร
• เรื่ องญ ช เป็ นเรื่ องของของครอบครัว ผญ จะต้ องยังไง ผช จะต้ องเป็ น
อย่างไร คือ เป็ นกรอบของสังคม
• ผญ ต้ องแต่งตัวให้ เรี ยบร้ อย
• ความเป็ นจริงของโลก ภายใต้ กรอบของผช.เป็ นใหญ่ มายาวนาน วาง
กรอบให้ ผช.มีสิทธิกว่า ผญ.
• ผญ ต้ องเป็ นแม่บ้าน โดดเด่นไม่ได้ เช่น ผญ ที่เป็ นแม่มด ผญ มีผวั มาก
• สังคมบอกว่าผญ ต้ องทาอะไร แต่ผช.ทาอะไรก็ได้
• ชายเป็ นใหญ่ (ปิ ตาธิปไตย) เป็ นตัววางโครงสร้ างความคิด ของการ
ปฏิบตั ิในสังคม
• แนวคิดเรื่ องความเท่าเทียมมีกนั มาไม่นาน
• ในโฆษณาเรื่ องการซักผ้ า สมัยก่อน มีแต่ผญ ที่เป็ น พรี เซนเตอร์
• บทบาทของคนในสังคม บ้ าน ต้ องเป็ นเมีย เป็ นแม่ หย่ากับผัวก็กินผัว
แม้ กระทัง่ ถูกข่มขืน ผญ แต่งตัวโป้ป่ าว ทาไม ผญ ไม่สามารถบอกได้ วา่
ฉันมีอารมณ์
• กรณี ดาวพระศุกร์ โดน คุณภาคข่มขืน
• ผญ ที่ก้าวมาเป็ นนายก ก็โดนด่า เพราะว่า เธอเป็ น ผญ สรุป คือ ไม่
ควรถูกแบกรับ ความเป็ นหญิง หรื อ ความเป็ นตัวแทนของความเป็ น
หญิง
• หลักคิดการบริหารบ้ านเมือง กลับเป็ นเรื่ องของชายเป็ นใหญ่
• เรื่ องศาสนา ที่ภาคเหนือ มีวดั ที่ห้ามผญ เข้ า
• ทาไม ภิกษุณี ไม่มี ในเมืองไทย เป็ น กระเทย ไปขอพระบวช ไปขอ
ภิกษุณีบวช เพราะเธอเป็ นบัณเฑาะก์
• สรุป คือ เรื่ องบทบาท ชายเป็ นหญิง กีดกันไปทุกเรื่ อง ให้ ไม่เหลือความ
เป็ นมนุษย์ ไม่เหลือ ศักดิศ์ รี หรื อคุณค่าอะไรเลย
•
•
•
•
เพศ ที่ 3 คือ การแบ่งไว้ ในลาดับที่ 3
การตบจูบ เป็ นเรื่ องให้ ปกติ
จากเรื่ องเล่า มนุษย์เกิดมาเท่ากัน สัตว์ในโลกเพศเมียตัวใหญ่กว่า
ชายเสพสมกับชาย เป็ นยอดชาย ตานานกรี ก แสดงถึง คนมีอานาจกับ
อานาจ ส่วนผญ เป็ นเพียง วัตถุ
• ตามเรื่ อง ทางกายภาพ ของคนเริ่มเปลี่ยน เป็ นเรื่ องการครอบงาทาง
อานาจ
• การกาหนดอัตลักษณ์บคุ คล น่าจะมีมากกว่าอวัยวะสืบพันธุ์
คา 3 คา
• เพศ (sex) ในความหมายของ เพศสรี ระ หมายถึง ลักษณะกายภาพ บนพื ้นฐาน
ของอวัยวะที่เกี่ยวข้ องกับการเจริ ญพันธุ์ แบ่งได้ เป็ น ชาย และหญิง หรื อ ตัวผู้-ตัวเมีย
คนสองเพศ (intersex) มีการแบ่งเพศ ได้ มากกว่า 10 แบบ มีโครโมโซม แบบ
XXY
• เพศสภาวะ/เพศสถานะ/เพศสภาพ (gender) คือ ความเป็ นชาย ความเป็ นหญิง
ตามการกาหนดทางสังคมและวัฒนธรรม คุณค่า การปฏิบตั ิที่ควรเป็ นหญิงหรื อชาย
- Gender identity
- Gender expression กริ ยาบุคลิก
• เพศวิถี (sexuality) คือ การแสดงออกทางร่างกายที่สง่ ผลให้ เกิด อัตลักษณ์ทาง
เพศผ่านลักษณะภายนอก เช่น การแต่งกาย การวางตัวในสังคม รสนิยมทางเพศ มี
ความลื่นไหล ความใครว่าอยากมีsex กับเพศใด
คา 3 คา
• ความเข้ าใจเรื่ องเพศ เป็ นเรื่ องที่ใช้ เป็ นกรอบในการวิเคราะห์ ต่อไป
• อะไร คือ ปกติ และไม่ปกติ = ตัวกาหนดความเป็ น ปกติ คือ การเมือง สังคม
การศึกษา ซึง่ นาไปสูก่ ารเลือกปฏิบตั ิ
• คาว่าเพศ ไม่เคยเกินไปกว่า คาว่า อวัยวะทางเพศ ความเข้ าใจเรื่ องเพศ จึงคับ ทา
ให้ เห็นว่า ใครทาได้ ทาไม่ได้
• กรอบความคิด กาหนดการกระทา และทัศนคติของคนในสังคม เช่น คนรักเพศ
เดียวกัน มันไม่ยงั่ ยืน ถ้ าเป็ นทอม เดี๋ยวเจอของจริง ถ้ าเป็ นเกย์ กระทืบสองสามทีก็
หาย เช่น สถานศึกษา ก็ไม่ให้ ใส่ชดุ ตามเพศ
• การที่ลกู เป็ นทอม แล้ วพาลูกไปหาจิตแพทย์ พ่อแม่ตดั สินว่าลูกเป็ นโรคจิต
• ตาราเรี ยนวิชาสุขศึกษา
• สื่อ หญิง รักหญิง ตีฉิ่งครองเมือง
• การจัดกลุม่ แบบมักง่าย/หยาบๆ ตีตราว่ากลุม่ นันมี
้ พฤติกรรมแบบนันแบบนี
้
้ การ
จาแนกคนไม่เหมือนกัน ต้ องทาความเข้ าใจ
จากเรื่ องเล่า เราจะวิเคราะห์ผา่ นกรอบนี้ได้อย่างไร
SEX
(ลักษณะทางกายภาพ)
Gender
(ลักษณะโครงสร้ างทางสังคม)
จากสภาพความเป็ นจริ งของสังคม
เพศต่างๆในสังคมถูกมองอย่างไรภายใต้กรอบนี้
SEX
(ลักษณะทางกายภาพ)
Gender
(ลักษณะโครงสร้ างทางสังคม)
มันเกิดอะไรขึ้น??
การเลือกปฏิบตั ิ จาก CEDAW ให้ ความหมายไว้ วา่
• การแบ่งแยก (distinction)
• การกีดกัน (exclusion)
• การจากัดใดๆ (restriction)
เพราะเหตุแห่งเพศ หรื อผล หรื อความมุง่ ประสงค์ที่จะทาลาย หรื อทาให้
เสื่อมเสียการยอมรับการได้ อปุ โภคหรื อใช้ สทิ ธิโดยสตรี โดยไม่คานึงถึง
สถานภาพด้ านการสมรส บนพื ้นฐานของความเสมอภาคของบุรุษและ
สตรี ของสิทธิมนุษยชนและเสรี ภาพขันพื
้ ้นฐานในด้ านการเมือง
เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม พลเมือง หรื อด้ านอื่นๆ
คาศัพท์ในวงการ
•
•
•
•
•
•
G= Gay
L= lesbian
B = Bisexual
T= transgender
I = Intersexual
Q= Queer คนที่ไม่ระบุวา่ เป็ นเพศ unisex
กรณี ศึกษา ร่ วมกันวิเคราะห์
• กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี
• นกยลดา สวมชุดกระโปรงข้ าราชการ
กิจกรรมบทบาทสมมติ
• จาลองสถานการณ์ที่ประชุมเพื่อไม่เลือกปฏิบตั ิด้วยแหตุแห่งเพศ
• เวทีการนาเสนอร่างอนุสญ
ั ญาว่าด้ วยไม่เลือกปฏิบตั ดิ ้ วยเหตุแห่งเพศ
แบ่งกลุม่ ผู้เข้ าร่วมประชุมดังนี ้
กิจกรรมบทบาทสมมติ
• ฝ่ ายเสนอ
– โต้ ngo ด้ านรณรงค์เรื่ องความหลากหลายทางเพศ
– ยล ผู้ทางานด้ านสตรี แรงงานข้ ามชาติ
– วุฒิ นักกฎหมายเชี่ยวชาญด้ านเพศสภาวะ
– หลา ตัวแทนชาวบ้ านผู้เรี ยกร้ องความเป็ นธรรมในสังคม กรณี ที่ดินทากิน
– มาลิ อาจารย์ผ้ เู ชี่ยวชาญด้ านชนเผ่า
– เบญ ตัวแทนภาครัฐด้ านที่อยูอ่ าศัย
– นนท์ ผู้พิพากษาจากพื ้นที่ความขัดแย้ ง
กิจกรรมบทบาทสมมติ
• ฝ่ ายค้ าน
– เฟิ ร์ส นักกฎหมายด้ านกฎหมาย
– แซม อาจารย์ด้านการเคลื่อนไหวทางสังคม
– เต้ ย อัยการ
– พระ ผู้เชียวชาญด้ านศาสนา
– ฝน ngo รณรงค์เรื่ องการต่อต้ านการซ้ อมทรมาน
– เต้ า ตัวแทนชนเผ่า ผู้สง่ เสริมสิทธิควาเท่าเทียม
– กริศ ข้ าราชการกระทรวงการกระจายอานาจที่เป็ นจริง
กิจกรรมบทบาทสมมติ
• กรรมการผู้เสนอข้ อคิดเห็นเพิ่มเติม และเสนอแนวทางออก
– แก้ ม ผู้ทรงคุณวุฒิจากกรรมาธิการด้ านสิทธิสตรี
– เอ๋ ผู้ทรงคุณวุฒิด้านกฎหมายระหว่างประเทศ
– อ๋อง ผู้ทรงคุณวุฒิจากกรมการศาสนา
– ชาคร ผู้ทรงคุณวุฒิจากคณะกรรมาธิการว่าด้ วยสิทธิ เศรษฐกิจ สังคม
วัฒนธรรม
กิจกรรมบทบาทสมมติ
• ประธาน และเลขาฯ เป็ นผู้อานวยการประชุม และบันทึกการประชุม
– พี่ออ๋ ย ประธาน
– น้ องเดียร์ เลขาฯ
กิจกรรมบทบาทสมมติ
• กติกา (ให้ ทกุ คนได้ พดู และแสดงความคิดเห็น)
– รอบที่ 1
• ให้ ฝ่ายเสนอ ร่างอนุสญ
ั ญา 15 นาที
• ให้ ฝ่ายค้ าน แสดงความคิดเห็น 15 นาที
– รอบที่ 2
• ให้ ฝ่ายค้ าน เสนอและสรุป 5 นาที
• ให้ ฝ่ายเสนอ ตอบข้ อสงสัย และสรุปประเด็น 5 นาที
– รอบที่ 3 กรรมการ เสนอข้ อชี ้แนะ และสรุป 10 นาที
– รอบที่ 4 ประธานกล่าวชี ้แจง คาถามคาตอบ และปิ ดการประชุม 10 นาที