ข้อมูลเรื่องเพศ

Download Report

Transcript ข้อมูลเรื่องเพศ

การอบรมเชิงปฏิบตั ิ การ :การเตรียมความพร้อมครู
ระบบดูแลช่วยเหลือและระบบกิจกรรม
วันที่ ๑ - ๔ เมษายน ๒๕๕๕
ณ โรงแรมเอส ดี อเวนิว
ทบทวนวันวาน
วันแรก
๑. สถานี ร้เู ขารู้เรา
๒. เส้นชีวิต
๓. ย้อนรอยวัยรุ่น
๔. หนัง Freedom writers
วันทีส่ อง
. ดูหนัง “ทางเลือก”
- ความหลากหลายของเยาวชน
- ทางเลือก / การตัดสิ นใจ
- ข้อมูลเรื่องเพศ
- ท้องไม่พร้อม
- โอกาสเสี่ยงต่อการรับเชื้อเอชไอวี
(แลกน้า)
- ข้อมูลเรื่องเอดส์ /การอยู่ร่วมกัน
(หนังสัน้ “หนึ่ งวันชีวิตบวก”)
วันทีส่ าม
- ทัศนคติเรือ่ งเพศ (เลือกข้าง)
- การยอมรับพฤติกรรม (ปรับ)
- ผูใ้ ห้คาปรึกษา (คนกับต้นไม้)
- ทักษะการฟัง / การสะท้อน / การถาม
สิ่งสาคัญที่ได้เรียนรู้ ?
วาดรูป
สิ่งที่ได้เรียนรู้
• วัยรุ่นมีคาถามและความลับใน
เรื่องเพศมากมาย
• การหาที่ระบายและปรึกษาใน
เรื่องเพศ
• ผูโ้ อบอุ้ม ช่วยเหลือมีส่วนร่วม
โดยโรงเรียนและครอบครัว
• การช่วยเหลือด้วยใจ
• การฟังด้วยหัวใจ
• ฟังมากๆ พูดน้ อยๆ
• ฟังแล้วไม่ตดั สินถูกผิด
• ปรึกษาแล้วมีความสุข
• โดนบังคับ ........ถึงผ่านกิจกรรม
มากมาย.....สิ่งที่เรียนรู้สามารถ
นาไปขยายผลและพยายามทาให้ได้
• บรรยากาศของโรงเรียนมี
หลากหลาย สามารถทาให้มี
ชีวิตชีวาได้ ต้องอาศัยเวลา
• ความรักเป็ นเรื่องสวยงาม/ดี
• รัก + ป้ องกัน
• มีความรู้เรื่องการป้ องกันที่ชดั เจน
(ร่าง) การอบรมครูเพศวิถีศึกษาเพื่อเยาวชน
วัน
เช้า (๐๘๓๐-๑๒๐๐)
บ่าย (๑๓๐๐-๑๗๐๐)
๑




ชี้แจงโครงการ/วัตถุประสงค์ (รวมห้อง)
รู้จกั กัน
ความคาดหวัง
สารวจสถานการณ์เรื่องเพศของวัยรุ่น
(สถานี ร้เู ขารู้เรา)
 เพศวิถี และเพศศึกษารอบด้าน
(เส้นชีวิต)
 ธรรมชาติวยั รุ่น และการลด
ช่องว่าง (ย้อนรอยวัยรุ่น)
 ข้อมูล/ความเชื่อเรื่องเพศ
 สะท้อนการเรียนรู้ท้ายวัน
๒




Recap
สร้างการเรียนรู้จากหนัง “ทางเลือก”
การสร้างการมีส่วนในการตัดสินใจ
ทางเลือกกรณี ท้องไม่พร้อม
 โอกาสเสี่ยงต่อการติดเชื้อเอช
ไอวี(แลกน้า)
 ข้อมูลเรื่องเอดส์ผ่านหนัง “หนึ่ ง
วันชีวิตบวก”
 ทัศนคติและค่านิยมเรื่องเพศ
(เลือกข้าง)
๓




Recap
คุณสมบัติของผู้ให้คาปรึกษา
ทักษะการฟัง
ทักษะการสะท้อน




๔
 Recap
ิ ิ
ทักษะการถาม
การให้คาปรึกษา
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
การไม่ด่วนตัดสินผู้อื่น(อนุมาน)
 วางแผนแต่ละสถานศึกษา
คา่ (๑๙๐๐-๒๐๓๐)
 ดูหนัง
กระบวนการเรียนรูผ้ า่ นประสบการณ์ (Experiential Learning)
Do
มี/ผ่านประสบการณ์
Reflect
สะท้อน/สรุปสิ่งที่เรียนรู้
Apply
วางแผนประยุกต์ใช้
Analyze/Synthesis
คิด/วิเคราะห์/สังเคราะห์
เชือ่ มร้อยกับประสบการณ์ เดิม หรือการจัด “ประสบการณ์จาลอง” ในการเรียนรู้
สาธิตบทบาทสมมุติ role play
การให้การปรึกษา
• ให้สงั เกตบทบาทของผูใ้ ห้การปรึกษา ว่ามี
จุดแข็งและจุดอ่อนที่ควรปรับปรุงในเรื่องใด
•
•
•
•
•
•
บทบาทของผูใ้ ห้การปรึกษา
ว่ามีจดุ แข็งและจุดอ่อนที่ควรปรับปรุงในเรื่องใด
• บางคาถามเหมือนตัดสิน ตาหนิ เช่น รู้ใช่
ให้กาลังใจ
ไหมแล้วทาไมทา?
ชี้แนะให้ผรู้ บั บริการหาทางออก
ิ ตอกยา้ พฤติกรรม
•
น
้
า
เสี
ย
งต
าหน
ด้วยตัวเอง
• ไม่มีข้อมูลครบถ้วน
มีการสะท้อนเป็ นระยะๆ
• ผูใ้ ห้คาปรึกษาฟังแล้วสังสอน
่
รับฟังอย่างใส่ใจ
• เด็กมีความสับสนในการให้ข้อมูล
มีการตัง้ คาถามเป็ นระยะๆ
• ควรสร้างข้อตกลงว่าทุกอย่างเป็ น
บุคคลิกน่ าเชื่อถือ ไว้ใจ อบอุ่น ความลับ
• สภาพของคนที่กงั วลในเรื่องท้องไม่พร้อม
• Empowermentการเสริมศักยภาพผูร้ บ
ั บริการ
มีความกังวลน้ อยเกินความเป็ นจริง
• Optionมีทางเลือก
• ขาดการสัมผัสบาบัด
การปรึกษา Counseling
Counselor ผูใ้ ห้บริการปรึกษา
Counselee ( Client ) ผูร้ บั บริการ
การให้คาปรึกษา
• ผูให้คาปรึกษา (Counseller)
• ผูร้ บั บริการ (Clien
ฝึ กปฏิบตั ิ การให้คาปรึกษา
• กรณี ศึกษา ๑
นิด (ผูห้ ญิง) อายุ ๑๖ ปี เรียน
ปวช. ๒ขณะนี้ ตงั ้ ครรภ์ได้ ๘
สัปดาห์ กับคู่ที่เพิ่งคบกันได้
ประมาณ ๓ เดือน และยังไม่
สามารถติดต่อได้ในขณะนี้ มี
เพียงเพื่อนสนิทที่ร้เู รื่องนี้ ใน
เบือ้ งต้นเมื่อรับรู้ว่าท้อง ก็ร้สู ึก
หนักใจมากและคิดถึงการทา
แท้ง
• กรณี ศึกษา ๒
หนุ่ม อายุ ๑๘ ปี มีแฟนเป็ น
เพื่อนต่างสถาบัน เพิ่งคบกันได้
สองเดือน มีเพศสัมพันธ์กนั
ตลอด โดยไม่ใช้ถงุ ยาง แต่ใช้
การหลังข้
่ างนอกทุกครัง้ เมื่อ
สัปดาห์ก่อนแฟนมาบอกว่า
เมนส์ไม่มา หนุ่มกังวลใจมาก
กลัวแฟนจะท้อง เพราะกาลัง
เรียนอยู่ ปวช.๓ และพ่อแม่กย็ งั
ไม่ได้รบั รู้การมีแฟนของหนุ่ม
ฝึ กปฏิบตั ิ การให้คาปรึกษา
• กรณี ศึกษา ๓
มายด์ ผูห้ ญิงหน้ าตาดี เรียนปวช. ๒ ติด
เชื้อเอชไอวีมาตัง้ แต่เกิด กินยาต้าน
ไวรัสทุกวัน ตอนนี้ สขุ ภาพแข็งแรง ไม่มี
ใครรู้ว่ามายด์ติดเชื้อเอชไอวี นอกจาก
ปู่ กับย่า ที่ผา่ นมาปู่ กับย่าพูดตลอดว่า
อย่าไปมีแฟน มันเป็ นบาป เรามีกรรม
มายด์ร้สู ึกอึดอัด คับแค้นใจว่าทาไม
ต้องต่างจากคนอื่น อยากใช้ชีวิต
เหมือนเพื่อนคนอื่นๆ และตอนนี้ อยาก
ไปเที่ยวกับเพื่อนๆ ที่ต่างจังหวัดมีทงั ้
เพื่อนผูช้ ายและผูห้ ญิง แต่ปกัู่ บย่าไม่
อนุญาติ จะทายังไงดี
“บริการสุขภาพที่เป็ นมิตร” สาหรับเยาวชน
การรักษาความลับ/ส่วนตัว
ไม่เกิดการตีตรา
ได้มาตรฐาน
ครบวงจร
ฟรีหรือจ่ายน้ อยที่สดุ
ที่ตงั ้ หน่ วยบริการเหมาะสม
เอื้อต่อวิถีชีวิตของผูใ้ ช้บริการ
เช่นเวลาทาการ
– บรรยากาศแห่งความเข้าใจ
– การบอกบริการเชิงรุก
–
–
–
–
–
–
–
บริการสุขภาพทางเพศที่เป็ นมิตรกับ
วัยรุน่
•
•
•
•
ตรวจเลือดหาการติดเชื้อเอชไอวีและซิฟิลิส
ตรวจรักษาโรคติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์
ตรวจหามะเร็งปากมดลูก
บริการฟรี
คุมกาเนิด
สอบถามข้อมูล: 08-5340-0043
คลี
นิคออนไลน์
-แช็ิ ดตเชืกั้อบทางเพศสั
พยาบาล/หมอ
ความรู
เ้ กี่ยวกับโรคต
มพันธ์
หลักสูตรเพศศึกษาและ
การพัฒนาทักษะการดาเนินชีวิต
คู่มือเพศศึกษา ม. ๑- ม.๖
อนุมาน
ไก่กบั แดง
ไก่กบั แดงเป็ นเพื่อนสนิทกัน ทัง้ สองชอบที่จะไปชอปปิ้ง
ตามศูนย์การค้าหรูๆอยู่เสมอ วันหยุดที่ผา่ นมาไก่กบั แดงนัดกัน
ไปชอปปิ้งที่ศนู ย์การค้าสยามเซ็นเตอร์ เพื่อหาซื้อเสื้อผ้ายี่ห้อดังๆ
ที่กาลังลดราคา ทัง้ คู่นัดพบกันที่บนั ไดเลื่อนชัน้ ๑ ในศูนย์การค้า
เวลาเที่ยง เมื่อถึงวันนัดไก่ไปถึงก่อนเวลานัดและคอยที่บริเวณ
บันไดเลื่อนชัน้ ๑ ตามที่ได้นัดหมายไว้ ไก่คอยอยู่บริเวณนัน้ เป็ น
ชัวโมง
่
โดยไม่กล้าเดินไปที่อื่น เพราะเกรงว่าถ้าแดงมาแล้วจะ
คลาดกันได้ แต่แดงก็ยงั ไม่มา ไก่เลยโทรศัพท์ไปหาแดง ปรากฏ
ว่าติดต่อไม่ได้เลย ไก่ร้สู ึกไม่พอใจที่แดงมักผิดนัดกับตนอยู่บอ่ ยๆ
ไก่เลยตัดสินใจเดินดูของตามที่ตงั ้ ใจ แล้วก็กลับบ้านด้วยอารมณ์
ที่ไม่ส้ดู ีนัก
ไก่กบั แดง
๑. ไก่กบั แดงเป็ นวัยรุ่นที่ชอบชอปปิ้งตาม
ศูนย์การค้าหรูๆ
๒. ทัง้ สองสาวนัดพบกันในวันหยุดที่ผา่ นมาที่
สยามเซ็นเตอร์
๓. ไก่ไปคอยแดงเป็ นเวลานานแต่แดงก็ไม่ไป
ตามนัด
๔. ไก่โทรศัพท์ไปที่บา้ นแดงแต่กต็ ิ ดต่อไม่ได้
๕. แดงมักผิดนัดอยู่เสมอ
๖. ไก่ซื้อของตามที่ตงั ้ ใจแล้วก็กลับบ้านด้วย
อารมณ์ไม่ดีนัก
ข้อเท็จจริง อนุมาน
ไก่กบั แดง
๑. ไก่กบั แดงเป็ นวัยรุ่นที่ชอบชอปปิ้งตาม
ศูนย์การค้าหรูๆ
๒. ทัง้ สองสาวนัดพบกันในวันหยุดที่ผา่ นมาที่
สยามเซ็นเตอร์
๓. ไก่ไปคอยแดงเป็ นเวลานานแต่แดงก็ไม่ไป
ตามนัด
๔. ไก่โทรศัพท์ไปที่บา้ นแดงแต่กต็ ิ ดต่อไม่ได้
๕. แดงมักผิดนัดอยู่เสมอ
๖. ไก่ซื้อของตามที่ตงั ้ ใจแล้วก็กลับบ้านด้วย
อารมณ์ไม่ดีนัก
ข้อเท็จจริง อนุมาน
อนุมาน
เกิดจาก...
•ค
ส่งผล...
•.
สิ่งที่ได้เรียนรู้
กิจกรรม
Closing: “ทบทวนหลักการเรียนรู้”
ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเรียนรู้
 การใช้คาถามเปิด (Open Questions)
 สไตล์การเรียนรู้ (การอ่าน/ดู, การฟัง
, การลงมือทา)
 การสร้างความรู้สึกปลอดภัย (Safety)
การใช้กระบวนการเรียนรู้ผ่าน
ประสบการณ์ และ 4As model
 การฟัง
 สื่อสารสองทาง (Dialogue)
 การสร้างการมีส่วนร่วม
(Engagement)
 ความรับผิดชอบต่อการเรียนรู้ของ
ผูเ้ รียน (Accountability)
การเคารพ (Respect)
 การรอ (Waiting)
 การเชื่อมโยงประเด็น (Weaving)
 การสร้างความรู้สึกความเป็ นส่วน
หนึ่ ง (Inclusion)
 ความเกี่ยวข้องของประเด็นเนื้ อหากับ
ประสบการณ์ผเู้ รียน (Relevancy)
 การคานึ งถึงการนาไปปรับใช้
(Immediacy)
 การสรุปสาระสาคัญในแต่ละเรื่อง
ร่วมกับผูเ้ รียน
 อื่นๆ ..........................................
หลักการที่น่าจะถูกใช้มากกว่านี้
กิจกรรม
รู้ว่าเสี่ยง แต่...
ทุกครัง้
๑๐๐%
บ่อยครัง้
๘๐%
บางครัง้
๕๐%
น้ อยครัง้ /
ไม่เคยเลย
ทุกครัง้
๑๐๐%
บ่อยครัง้
๘๐%
คุณทาพฤติกรรมเหล่านี้ ได้แค่ไหน ?
บางครัง้
๕๐%
น้ อยครัง้ /
ไม่เคยเลย
๑. ฉันคาดเข็มขัดนิรภัยทุกครัง้ ที่นัง่ รถ
หรือใส่หมวกกันน็อคทุกครัง้ ที่ขบั ขี่
มอเตอร์ไซด์
๒. ฉันเลือกกินแต่อาหารที่มีประโยชน์
และงดอาหารทุกชนิดที่ทาให้อ้วน
๑. ไม่คาดเข็มขัดนิรภัยทุกครัง้ ที่นัง่ รถ หรือไม่ใส่
หมวกกันน็อคทุกครัง้ ที่ขบั ขี่มอเตอร์ไซด์
เสี่ยงต่อ... อุบตั ิ เหตุ
๒. ไม่เลือกกินแต่อาหารที่มีประโยชน์ และไม่งด
อาหารทุกชนิดที่ทาให้อ้วน เสี่ยงต่อ....โรคภัย
ไข้เจ็บ, สุขภาพ, ไม่สวย
คาดเข็มขัดนิรภัย หรือ ใส่หมวกกันน็อคทุกครัง้
๑๐๐% (๓)
• เพื่อความปลอดภัยของตัวเอง
• เคยชิน
• ๘๐%(๑๐)
•
•
•
•
•
•
•
มีเวลาเพียงพอ
ไปไกล
กลัวตารวจจับ
รีบ
ลืม
ไปใกล้ๆ ในซอย
ไม่มีหมวกกันน็อค
•
•
•
•
•
•
•
•
๕๐%(๘)
กลัวตารวจจับ
สะดวก
ไปไกล
รู้ว่าประมาทแต่ไม่คาด
รีบ
อึดอัด
ไปใกล้ๆ
รู้ว่าประมาท แต่ไม่คาด
น้ อยมาก/ไม่เคยเลย (ไม่มี)
เลือกกินแต่อาหารที่มีประโยชน์ และงดอาหารทุกชนิดที่ทาให้อ้วน
๕๐% (๙)
๑๐๐% (๑)
• เมียเป็ นคนทากับข้าว
• เมียสัง่
• ไม่มีโอกาส
๘๐% (๔)
• เป็ นครูสอนสุขศึกษา รู้/มีข้อมูล
• เห็นประโยชน์
• เห็นคนใกล้ตวั ป่ วย
• ไม่มีโอกาสให้เลือก /เลือกไม่ได้
• อร่อย /รู้รสชาติอื่นๆ
• อดใจไม่ได้
• อยากเลือกที่มี
ประโยชน์
• คิดถึงประโยชน์ /ห่วง
สุขภาพ
• สุขภาพเริ่มป่ วย
• เลือกไม่ได้ ของฟรี
• ของน่ ากิน อยากกิน
๑. ฉันคาดเข็มขัดนิรภัยทุกครัง้ ที่นัง่ รถ
หรือใส่หมวกกันน็อคทุกครัง้ ที่ขบั ขี่
มอเตอร์ไซด์
๒. ฉันเลือกกินแต่อาหารที่มีประโยชน์
และงดอาหารทุกชนิดที่ทาให้อ้วน
ข้อสังเกต
• เป็ นเรื่องของตัวเอง
• รู้ว่าเสี่ยง แต่กท็ า
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ต้องทาอะไรบ้าง
•
•
•
•
ฝึ ก และลองทาบ่อยๆ
ทาให้เห็นผลกระทบที่ตามมา
ทาให้ร้สู ึกว่าอยากเปลี่ยน / แรงจูงใจ
สร้างสภาพแวดล้อม / คนรอบข้าง เอื้อต่อการเปลี่ยน
“รณรงค์วยั รุ่น ไม่ให้มีเพศสัมพันธ์ในวัยเรียน”
เชื่อ/ทาตาม
๑๐๐%
ส่วนใหญ่ทา
ได้ ๘๐%
ครึ่ง-ครึง่
๕๐%
ทาได้น้อย/
ห้ามไม่ได้เลย
การห้ามวัยรุ่น ไม่ให้มีเพศสัมพันธ์ในวัยเรียน”
• เด็ก
• เด
–
-
กระบวนการปรับเปลีย่ นพฤติกรรม
สังคม
การทาพฤติกรรม
การลองทาพฤติกรรมใหม่
ใหม่อย่างต่อเนื อ่ ง
เกิดแรงจูงใจทีจ่ ะทา
บุคคล
ปรับความคิด/มีทกั ษะ
เกิดความรู/้ ความตระหนัก
ไม่ตระหนัก
การปรับเปลีย่ นพฤติกรรม
 ความรู้ และข้อมูลเป็ นเพียงจุดเริ่มต้น แต่ไม่เพียงพอที่ จะทาให้เปลี่ยน
พฤติกรรม
 การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเป็ นเรื่องไม่ง่าย เปลี่ยนได้ แต่ใช้เวลา และความ
พยายามต่อเนื่ อง
 การให้ข้อมูลที่ ทาให้เกิดความกลัวมีข้อจากัดในการกระตุ้นให้เปลี่ยน
พฤติกรรม
 พฤติกรรม ของแต่ละคนแตกต่างกันไปตามแต่ละช่วงวัย/สภาพแวดล้อม
 พฤติกรรมบุคคลเป็ นผลจากค่านิยมและการให้คณ
ุ ค่าในสังคม
 บุคคลจะยอมรับพฤติกรรมใหม่ง่ายขึน
้ ถ้ารู้สึกว่าตัวเองสามารถทาได้
 การเปลี่ยนพฤติกรรมบุคคลเกี่ยวพันกับแบบแผนการปฏิบต
ั ิ ของชุมชนและ
สภาพแวดล้อมด้วย
รู้ว่าเสีย่ ง...แต่
โจทย์:
• คนที่อยู่ในบทบาททางานเปลี่ยนพฤติกรรม มัก
คิดว่า “พฤติกรรม” เปลี่ยนง่าย
• คนมักเลือกใช้วิธีการให้ความรู้เป็ นหลัก แล้วหวัง
ว่า คนจะเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
• คนคิดว่า “คนอื่น” จะให้ความสาคัญในเรื่อง
ต่างๆ (ความเสี่ยงในชีวิต) เหมือนตัวเอง
• เหตุผลของ “คนนอก” และ “คนใน” ต่างกัน
“ข้ออ้าง/ข้อแก้ตวั ”
“เหตุผล”
“...ไม่ว่าจะชอบ หรือไม่ชอบการกระทาใดก็ตาม ความ
จาเป็ นประการแรกในอันที่จะควบคุมพฤติกรรมใด
ต้องเริ่มต้นที่เข้าใจพฤติกรรมนัน้ ในทุกแง่มมุ
เสียก่อน...”
ศ.นิธิ เอียวศรีวงศ์
มองและเข้าใจตัวเอง เพือ่ เข้าใจคนอืน่
กระบวนการเรียนรูผ้ า่ นประสบการณ์ (Experiential Learning)
Do
มี/ผ่านประสบการณ์
Reflect
สะท้อน/สรุปสิ่งที่เรียนรู้
Apply
วางแผนประยุกต์ใช้
Analyze/Synthesis
คิด/วิเคราะห์/สังเคราะห์
เชือ่ มร้อยกับประสบการณ์ เดิม หรือการจัด “ประสบการณ์จาลอง” ในการเรียนรู้
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรรม ต้อง....
• ระมัดระวังเรื่องการถ่ายทอดข้อมูลซึ่งต้องรอบด้าน
• คานึ งถึงสภาพแวดล้อม หรือเงื่อนไขที่ส่งผล
“สรุปกระบวนการอบรม”
(ร่าง) การอบรมครูเพศวิถีศึกษาเพื่อเยาวชน
วัน
เช้า (๐๘๓๐-๑๒๐๐)
บ่าย (๑๓๐๐-๑๗๐๐)
๑




ชี้แจงโครงการ/วัตถุประสงค์ (รวมห้อง)
รู้จกั กัน
ความคาดหวัง
สารวจสถานการณ์เรื่องเพศของวัยรุ่น
(สถานี ร้เู ขารู้เรา)
 เพศวิถี และเพศศึกษารอบด้าน
(เส้นชีวิต)
 ธรรมชาติวยั รุ่น และการลด
ช่องว่าง (ย้อนรอยวัยรุ่น)
 ข้อมูล/ความเชื่อเรื่องเพศ
 สะท้อนการเรียนรู้ท้ายวัน
๒




Recap
สร้างการเรียนรู้จากหนัง “ทางเลือก”
การสร้างการมีส่วนในการตัดสินใจ
ทางเลือกกรณี ท้องไม่พร้อม
 โอกาสเสี่ยงต่อการติดเชื้อเอช
ไอวี(แลกน้า)
 ข้อมูลเรื่องเอดส์ผ่านหนัง “หนึ่ ง
วันชีวิตบวก”
 ทัศนคติและค่านิยมเรื่องเพศ
(เลือกข้าง)
๓




Recap
คุณสมบัติของผู้ให้คาปรึกษา
ทักษะการฟัง
ทักษะการสะท้อน




๔
 Recap
ิ ิ
ทักษะการถาม
การให้คาปรึกษา
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
การไม่ด่วนตัดสินผู้อื่น(อนุมาน)
 วางแผนแต่ละสถานศึกษา
คา่ (๑๙๐๐-๒๐๓๐)
 ดูหนัง
สิ่งที่ตวั เราอยากเปลี่ยน...
หลังจากอบรม ๔ วันนี้
การเตรียม “ครู” ผูจ้ ดั การเรียนรู้เพศศึกษา
เพศวิถี
Sexuality
การพัฒนา
เยาวชนเชิงบวก
แนวคิดหลักเพศศึกษา ๖ ด้าน*:
๑. พัฒนาการของมนุษย์ (Human Development)
๒. สัมพันธภาพ (Relationship)
๓. ทักษะส่วนบุคคล (Personal Skills)
๔. พฤติกรรมทางเพศ (Sexual Behavior)
๕. สุขภาพทางเพศ (Sexual Health)
๖. สังคมและวัฒนธรรม (Social and Culture)
กระบวนการเรียนรู้แบบ
ผูเ้ รียนเป็ นศูนย์กลาง
แนวทางการให้การศึกษาเรือ่ ง “ชีวิตและครอบครัวศึกษา” กรมวิ ชาการ กระทรวงศึกษาธิ การ, ๒๕๔๓ และ
A Comprehensive Sexuality Education, SIECUS, National Guidelines Task Force
แนวคิด/ความรู้/ทัศนะ/ค่านิยม
• เส้นชีวิต
• ข้อมูลเรื่องเพศ
• เลือกข้าง
การพัฒนาเยาวชน
• สถานี ร้เู ขารู้เรา
• ย้อนรอยวัยรุ่น
• ดูหนังทางเลือก
เพศวิถี
Sexuality
เอดส์: ผลกระทบต่อสุขภาวะ
• แลกน้า
• หลักการ QQR
• หนังสัน้ : หนึ่ งวันชีวิตบวก
กระบวนการเรียนรู/้
ปรึกษา
•
•
•
•
ความคาดหวัง-ข้อตกลง
หนัง “ทางเลือก”
อนุมาน
สาธิตการให้คาปรึกษา
แนวคิด/องค์ความรู้
• เส้นชีวิต
• ข้อมูลเรื่องเพศ
ทัศนะ/ค่านิยม
• เลือกข้าง
ผลที่ตามมาจากเพศสัมพันธ์
• แลกน้า
• หลักการ(QQR)
 “เพศ” ครอบคลุมหลายมิติ มากกว่าเพศสัมพันธ์
 เพศศึกษา เป็ นการเรียนรู้ตลอดช่วงชีวิต
 การแยกแยะข้อเท็จจริงและความเชือ่ ในเรือ่ งเพศ
เพศวิถี
Sexuality
 ปัจจัยที เ่ อื้อต่อการสือ่ สารเรือ่ งเพศ / อุปสรรค
 ทัศนะ/ค่านิยมของบุคคลและสังคมในเรือ่ งเพศ
การทบทวน/เทียบเคียงกับประสบการณ์ตนเอง
เยาวชน
บริบททางสังคม
กระบวนการเรียนรู้
การออกแบบการจัดการเรียนรู้
เพือ่ ทบทวนความรู้เดิม
ตัง้ คาถามและหาคาตอบร่วมกัน
บริบททางสังคม
เพศ Sexuality
• ย้อนรอยวัยรุน่
ธรรมชาติวยั รุ่น
ความคาดหวังของผูใ้ หญ่ต่อวัยรุ่น?
สถานการณ์ วยั รุ่นในปัจจุบนั (การคบ
เพือ่ น การเรียนรู้ โอกาสการมี
เพศสัมพันธ์)
 ยุคสมัยทีเ่ ปลีย่ นไป เช่น สือ่ กิจกรรม
นอกบ้าน โครงสร้างครอบครัว สังคม



เยาวชน
กระบวน
การเรียนรู้
เพศ Sexuality
เยาวชน







บริบททางสังคม
กระบวนการเรียนรู้
ความไว้วางใจเป็ นพื้นฐานในการสร้างการเรียนรู้
การปรับเปลีย่ นทัศนะและพฤติกรรม ไม่งา่ ย ใช้เวลา
และต้องการความต่อเนื อ่ ง และการเรียนรู้ด้วย
หลากหลายวิธี
การจัดกระบวนการเรียนรูด้ ้วยวิธีหลากหลาย และ
สอดคล้องกับความต้องการ/ความสนใจของวัยรุน่
การไม่ใช้บรรทัดฐานของตัวเองตัดสิน/อนุมานคนอืน่
ความสะดวกใจในการสือ่ สารเรือ่ งเพศกับเยาวชน
ความหมายของการให้ “เด็กมีส่วนร่วม” ในการ
ตัดสินใจ/เรียนรู้/จัดการปัญหา
การตัดสินใจแทนเด็กของผูใ้ หญ่ ส่งผลต่อการเรียนรู้
ของเด็กอย่างไร
• สถานี ร้เู ขารู้เรา
• ย้อนรอยวัยรุ่น
• หนัง “ทางเลือก”
• คุยกันเรื่องเพศ
• แลกน้า
• อนุมาน
ตัวเรา
 ทัศนะต่อเรือ่ งเพศ, วัยรุ่น, การ
เรียนรู้ ?
 ข้อมูล/องค์ความรู้ เรือ่ งเพศ ?
 ทันสถานการณ์ และเข้าใจบริบท
เพศ Sexuality สังคม ?
 ทักษะการเป็ นผูใ้ ห้ปรึกษา
ครู
เยาวชน
บริบททางสังคม
กระบวนการเรียนรู้
บนทางยาวทีย่ งั ไกล........สุขใจเมือ่ มีเพือ่ นร่วมทาง...
ยืนยันจะร่วมสร้าง
ช่วยกันถางทางเส้นใหม่
สานหวังสังคมไทย
เรียนรู้ รักใคร่ เข้าใจชีวิต
คนปลูกต้นไม้
มีหน้ าทีร่ ดน้ า พรวนดิน ใส่ใจดูแล
ส่วนการเติบโต...
เป็ นเรือ่ งของ “ต้นไม้”