พระราชบัญญัติ ศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดี เยาวชนและ

Download Report

Transcript พระราชบัญญัติ ศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดี เยาวชนและ

ศาลจัง หวัด แพร่ แ ผนกคดีเ ยาวชนและครอบครัว
กลุ่ ม งานบริก ารประชาชนและประชาสัม พัน ธ์
โทร. ๐ ๕๔๕๓ ๓๔๘๗ ต่ อ ๑๑๖ โทรสาร ๐ ๕๔๕๓ ๓๕๗๖
WWW.COJ.GO.TH/PREJC
 “เด็ก” หมายความว่า บุคคลอายุไม่เกินสิบห้าปี บริบรู ณ์
 “เยาวชน” หมายความว่า บุคคลอายุเกินสิบห้าปี บริบรู ณ์
แต่ไม่ถงึ สิบแปดปี บริบรู ณ์
 คดีอาญาให้ถอื อายุเด็กหรือเยาวชนในขณะกระทาความผิด
๑. คดีอาญาทีม่ ขี อ้ หาว่าเด็กหรือเยาวชนกระทาความผิด
๒. คดีอาญาทีศ่ าลคดีธรรมดาได้โอนมา (มาตรา ๙๗ อายุไม่เกิน ๒๐ ปี
แต่มสี ภาพเป็ นเด็ก)
๓. คดีครอบครัว
๔. คดีคมุ้ ครองสวัสดิภาพ
๕. คดีอ่นื ทีก่ ฎหมายบัญญัตใิ ห้เป็ นอานาจหน้าทีข่ องศาลเยาวชนและ
ครอบครัว
การจับเด็ก
ห้ามมิให้จบั กุมเด็กซึง่ ต้องหาว่าได้กระทาความผิด เว้นแต่
๑. กระทาความผิดซึง่ หน้า
๒. มีหมายจับหรือคาสังศาล
่
การจับเยาวชน
- ปฏิบตั ปิ ระมวลกฎหมายวิธพี จิ ารณาความอาญา
หลักเกณฑ์การออกหมายจับ
๑. ออกตาม ป.วิ.อาญา มาตรา ๖๖
๒. ศาลคานึงถึงการคุม้ ครองสิทธิเด็กหรือเยาวชนเป็ นสาคัญ
๓. พยายามเลีย่ งการออกหมายจับโดยให้ใช้วธิ กี ารติดตามตัว
ด้วยวิธอี ่นื ก่อน หากการออกหมายจับจะมีผลกระทบกระเทือน
ต่อจิตใจของเด็กหรือเยาวชน
เจ้าพนักงานผูจ้ บั (ส่วนที่เกี่ยวกับเด็กหรือเยาวชน)
๑. แจ้งแก่เด็กหรือเยาวชนว่าเขาต้องถูกจับ
๒. แจ้งข้อกล่าวหา
๓. แจ้งสิทธิตามกฎหมาย
๔. แสดงหมายจับ (ถ้ามี)
๕. นาตัวไปยังทีท่ าการของพนักงานสอบสวนท้องทีท่ ถ่ี ูกจับทันที
๖. ต้องกระทาโดยละมุนละม่อม คานึงถึงศักดิ ์ศรีความเป็ น
มนุษย์ ไม่เป็ นการประจานเด็กหรือเยาวชน ห้ามมิให้
ควบคุมเกินกว่าทีจ่ าเป็ น
๗. ห้ามใช้เครือ่ งพันธนาการกับ “เด็ก” ไม่วา่ กรณีใด ๆ เว้นแต่
มีความจาเป็ นเพือ่ ป้องกันการหลบหนี
หรือเพือ่ ความปลอดภัยของเด็กหรือบุคคลอื่น
๑ อยู่ด้วยถ้าในขณะจับกุม ให้เจ้าพนักงานผูจ้ บั แจ้งเหตุแห่งการจับ
ให้ทราบ กรณีความผิดอาญาซึง่ มีอตั ราโทษจาคุกอย่างสูงไม่เกิน
๕ ปี จะสังให้
่ เป็ นผูน้ าตัวเด็กหรือเยาวชนไปยังทีท่ าการของ
พนักงานสอบสวนก็ได้
๒. ไม่ได้อยู่ด้วยในขณะจับให้เจ้าพนักงานผูจ้ บั แจ้งให้ทราบถึงการ
จับกุมในโอกาสแรกเท่าทีส่ ามารถทาได้ หากผูถ้ ูกจับประสงค์
ติดต่อสือ่ สารหรือปรึกษาหารือกับบิดา มารดา ผูป้ กครอง
ถ้าไม่เป็ นอุปสรรคและอยูใ่ นวิสยั ทีท่ าได้ให้ดาเนินการให้ตาม
สมควรโดยมิชกั ช้า
เจ้าพนักงานผูท้ าบันทึกการจับกุม
๑. แจ้งข้อกล่าวหา
๒. แจ้งรายละเอียดเหตุแห่งการจับ
๓. ห้ามถามคาให้การ
๔. ถ้าขณะทาบันทึกบิดา มารดา ผูป้ กครอง อยูด่ ว้ ยให้กระทาต่อหน้า
บุคคลเหล่านัน้ และจะให้ลงชือ่ ด้วยก็ได้
บิดา มารดา ผูป้ กครอง อยู่ด้วยในขณะจับ
คดีอตั ราโทษอย่างสูงจาคุกไม่เกิน ๕ ปี
- เจ้าพนักงานผูจ้ บั จะสังให้
่ เป็ นผูน้ าตัวเด็กหรือเยาวชนส่งพนักงาน
สอบสวนก็ได้
คดีอตั ราโทษอย่างสูงจาคุกเกิน ๕ ปี
- เจ้าพนักงานผูจ้ บั นาตัวส่งพนักงานสอบสวนเอง
บิดา มารดา ผูป้ กครอง ไม่ได้อยู่ด้วยในขณะจับ
- เจ้าพนักงานผูจ้ บั นาตัวส่งพนักงานสอบสวนเอง
เพือ่ การคุม้ ครองเด็กหรือเยาวชน
๑. ห้ามมิให้ควบคุม คุมขัง กักขัง คุมความประพฤติ
๒. ใช้มาตรการอื่นใดอันเป็ นการจากัดสิทธิเสรีภาพของเด็กหรือ
เยาวชน ซึง่ ต้องหาว่าได้กระทาความผิดหรือเป็ นจาเลย เว้นแต่
มีหมายหรือคาสังของศาล
่
๑. เมือ่ ได้รบั ตัวเด็กหรือเยาวชนซึง่ ถูกจับ ให้พนักงานสอบสวนรีบ
สอบถามเบือ้ งต้นเพือ่ ทราบชื่อ อายุ สัญชาติ ทีอ่ ยูแ่ ละข้อมูล
เกีย่ วกับบิดา มารดา ผูป้ กครองฯ
๒. แจ้งข้อกล่าวหาให้เด็กหรือเยาวชนทราบ
๓. แจ้งให้ผอู้ านวยการสถานพินิจทีอ่ ยูใ่ นเขตอานาจทราบ
๔. กระทาในทีเ่ หมาะสม ไม่ปะปนกับผูต้ อ้ งหาอื่น ไม่เป็ นการประจานเด็ก
หรือเยาวชน ใช้ภาษาทีเ่ ข้าใจง่าย
๕. หากเด็กหรือเยาวชนต้องการติดต่อกับบิดา มารดา ผูป้ กครอง ถ้าอยู่
ในวิสยั ทีท่ าได้ให้ดาเนินการโดยมิชกั ช้า
๖. ส่งตัวไปศาลภายใน ๒๔ ชัวโมง
่
เพือ่ ตรวจสอบการจับ
๗. คดีเปรียบเทียบปรับได้ ให้ชาระค่าปรับ สิทธินาคดีอาญามาฟ้อง
ระงับ ตาม ป.วิ.อ.
 ดาเนินการตาม ป.วิ.อ. มาตรา ๑๓๔
 สอบถามข้อมูลเบือ้ งต้น
 แจ้งข้อกล่าวหา
 พิจารณาว่ามีเหตุตอ้ งควบคุมตัวหรือไม่ ถ้าไม่มใี ห้ปล่อยตัว
ถ้ามีเหตุควบคุมสังให้
่ ไปศาลเพือ่ ออกหมายควบคุม
เมื่อเด็กหรือเยาวชนอยู่ต่อหน้ าศาลให้ศาลตรวจสอบว่า
 เป็ นผูก้ ระทาผิดหรือไม่
 การจับและการปฏิบตั ติ ่อเด็กหรือเยาวชนชอบด้วยกฎหมายหรือไม่
ถ้าการจับไม่ชอบให้สงปล่
ั ่ อย
 มีทป
่ี รึกษากฎหมายหรือไม่ ถ้าไม่มใี ห้ศาลตัง้ ให้
 ศาลอาจมอบตัวให้บดิ า มารดา ผูป
้ กครอง เป็ นผูด้ แู ลในระหว่าง
ดาเนินคดี
 ถ้าปรากฏข้อเท็จจริงว่าการกระทาของเด็กหรือเยาวชนอาจเป็ นภัย
ต่อผูอ้ ่นื อย่างร้ายแรง หรือพนักงานสอบสวนหรืออัยการร้องขอ
ศาลอาจสังให้
่ ควบคุมไว้ในสถานพินิจหรือสถานทีอ่ ่นื
 ถ้าเยาวชนมีอายุตงั ้ แต่ ๑๘ ปี บริบรู ณ์ขน้ึ ไปและมีลกั ษณะหรือ
พฤติกรรมทีอ่ าจเป็ นภัยต่อบุคคลอื่น หรือมีอายุเกิน ๒๐ ปีบริบรู ณ์
ศาลอาจมีคาสังให้
่ ควบคุมไว้ในเรือนจาหรือสถานทีอ่ ่นื
ตาม ป.วิ.อ. มาตรา ๗๐
๑. สถานทีต่ อ้ งเหมาะสม ไม่เลือกปฏิบตั ิ ไม่ปะปนและไม่ประจาน
เด็กหรือเยาวชน ใช้ภาษาถ้อยคาทีเ่ ข้าใจง่าย คานึงถึงศักดิ ์ศรี
ความเป็ นมนุษย์ ถ้าจาเป็ นให้ใช้ล่าม
๒. ต้องมีที่ปรึกษากฎหมายของเด็กหรือเยาวชนร่วมอยูด่ ้วย
ทุกครัง้ ทีแ่ จ้งข้อกล่าวหาและสอบปากคา
๓. ต้องแจ้งว่าจะให้การหรือไม่ให้การก็ได้ คาให้การอาจใช้เป็ น
พยานหลักฐานในการพิจารณาคดี
๔. บิดา มารดา ผูป้ กครอง เข้าร่วมรับฟงั การสอบสวนได้
๕. ห้ามมิให้เจ้าพนักงานผูจ้ บั กุมหรือพนักงานสอบสวน จัดให้มหี รือ
ยินยอมให้มกี ารถ่ายภาพหรือบันทึกภาพ เว้นแต่เพือ่ ประโยชน์
ในการสอบสวน
๖. ระหว่างสอบสวนถ้าปรากฏว่าเด็กทีถ่ กู จับกุมหรือถูกควบคุมกระทา
ความผิดขณะอายุไม่เกิน ๑๐ ปี และอยูใ่ นความควบคุมของสถาน
พินิจหรือองค์กรอื่น ให้รายงานศาลเพือ่ ให้มคี าสังปล่
่ อยตัวหรือมอบ
ตัวเด็กให้แก่บดิ า มารดา ผูป้ กครองฯ ทันที
 ต้องสอบสวนให้เสร็จและส่งสานวนให้อยั การฟ้องศาลภายใน
๓๐ วัน นับแต่วนั ทีเ่ ด็กหรือเยาวชนถูกจับตัวหรือปรากฏตัวต่อ
หน้าพนักงานสอบสวน
 กรณีความผิดอาญาอัตราโทษอย่างสูงจาคุกเกิน ๖ เดือน
แต่ไม่เกิน ๕ ปี ผัดฟ้องได้ไม่เกินครัง้ ละ ๑๕ วันไม่เกิน ๒ ครัง้
 กรณีความผิดอาญาอัตราโทษอย่างสูงจาคุกเกิน ๕ ปี เมื่อขอ
ผัดฟ้องครบ ๒ ครัง้ ศาลจะอนุญาตให้ผดั ฟ้องได้อกี เมือ่ พนักงาน
สอบสวนหรืออัยการแสดงเหตุจาเป็ นและนาพยานมาสืบประกอบ
เป็ นทีพ่ อใจแก่ศาล อนุญาตได้อกี ครัง้ ละไม่เกิน ๑๕ วัน
ไม่เกิน ๒ ครัง้
 เมือ่ พ้นกาหนดเวลาห้ามพนักงานอัยการยืน
่ ฟ้องคดี เว้นแต่ได้รบั
อนุญาตจากอัยการสูงสุด
 ให้ศาลตัง้ ทีป
่ รึกษากฎหมายให้ เพือ่ แถลงคัดค้านหรือซักถามพยาน
 ในกรณีเด็กหรือเยาวชนผูต้ อ้ งหาหลบหนีจากการควบคุม มิให้นบ
ั
ระยะเวลาหลบหนีรวมเข้ากับระยะเวลาการสอบสวนหรือระยะเวลา
การผัดฟ้อง
 ในกรณีจาเป็ นต้องควบคุมตัวเด็กหรือเยาวชน ห้ามมิให้ควบคุมตัว
ไว้ปะปนกับผูต้ อ้ งหาหรือจาเลยทีเ่ ป็ นผูใ้ หญ่และห้ามมิให้ควบคุม
ไว้ในห้องขังทีจ่ ดั ไว้สาหรับผูต้ อ้ งหาหรือจาเลยทีเ่ ป็ นผูใ้ หญ่
การจัดทาแผนแก้ไขบาบัดฟื้นฟูก่อนฟ้ องคดี
๑. ความผิดอาญาอัตราโทษอย่างสูงจาคุกไม่เกิน ๕ ปี
๒. เด็กหรือเยาชนไม่เคยได้รบั โทษจาคุกโดยคาพิพากษาถึงทีส่ ดุ
ให้จาคุกเว้นแต่เป็ นความผิดโดยประมาทหรือลหุโทษ
๓. เด็กหรือเยาวชนสานึ กในการกระทาก่อนฟ้องคดี
๔. ผูอ้ านวยการสถานพินิจพิจารณาเห็นว่าอาจกลับตัวเป็ นคนดีได้
๕. เด็กหรือเยาวชนและผูเ้ สียหายต้องให้ความยินยอมกับแผนแก้ไข
บาบัดฟื้นฟู
๖. พนักงานอัยการเห็นชอบกับแผนแก้ไขบาบัดฟื้นฟู
๗. ต้องเชิญฝา่ ยเด็กหรือเยาวชน ผูเ้ สียหาย นักจิตวิทยาหรือนักสังคม
สงเคราะห์รว่ มประชุม
๘. ต้องทาให้แล้วเสร็จและเสนอพนักงานอัยการภายใน ๓๐ วัน
นับแต่วนั ทีเ่ ด็กหรือเยาวชนสานึกในการกระทาผิด
๙. ต้องไม่จากัดสิทธิหรือเสรีภาพ เว้นแต่เพือ่ ประโยชน์สาธารณะ
๑๐. ระยะเวลาปฏิบตั ติ ามแผนฯ ต้องไม่เกิน ๑ ปี
๑๑. ระหว่างจัดทาและปฏิบตั ติ ามแผนฯ ให้งดการสอบปากคาหรือ
ดาเนินการใด ๆ เกีย่ วกับคดีไว้ก่อน
กรณี พนักงานอัยการไม่เห็นชอบกับแผนฯ
๑. ให้พนักงานอัยการสังแก้
่ ไขหรือดาเนินคดีต่อ
๒. ให้ผอู้ านวยการสถานพินิจ แจ้งพนักงานสอบสวนและผูเ้ กี่ยวข้อง
๓. การแก้ไขแผนฯ ต้องได้รบั ความยินยอมจากผูเ้ สียหาย เด็กหรือ
เยาวชนทีท่ าผิด
กรณี พนักงานอัยการเห็นชอบด้วยกับแผนฯ
๑. ให้ดาเนินการตามแผนฯ
๒. ให้ผอู้ านวยการสถานพินิจรายงานให้ศาลทราบ
 กรณีฝา่ ฝื น ไม่ปฏิบตั ติ ามแผนฯ
- ให้ผอู้ านวยการสถานพินิจรายงานอัยการทราบและ
- แจ้งให้พนักงานสอบสวนดาเนินคดีต่อไป
 กรณีปฏิบตั ติ ามแผนฯ ครบถ้วน
- ให้ผอู้ านวยการสถานพินิจรายงานอัยการทราบ
- หากอัยการเห็นชอบให้มอี านาจสังไม่
่ ฟ้อง คาสังอั
่ ยการเป็ นที่สดุ
สิทธินาคดีอาญามาฟ้องเป็ นอันระงับแต่ไม่ตดั สิทธิคดีสว่ นแพ่ง
- ให้ผอู้ านวยการสถานพินิจรายงานคาสังไม่
่ ฟ้องให้ศาลทราบ
๑. คดีอตั ราโทษอย่างสูงจาคุกไม่เกิน ๒๐ ปี
๒. เด็กหรือเยาวชนไม่เคยได้รบั โทษจาคุกโดยคาพิพากษาถึ งทีส่ ุด
มาก่อน เว้นแต่เป็ นความผิดโดยประมาทหรือลหุโทษ
๓. ดาเนินการก่อนศาลมีคาพิพากษา
๔. สานึกในการกระทา
๕. ผูเ้ สียหายให้ความยินยอม
๖. โจทก์ไม่คดั ค้าน
๗. พฤติการณ์แห่งคดีไม่รา้ ยแรง
๘. ศาลเห็นว่าอาจกลับตนเป็ นคนดี
๙. ผูเ้ สียหายอาจได้รบั การเยียวยา
๑๐. เป็ นประโยชน์ต่ออนาคตของเด็กหรือเยาวชน
๑๑. มีคาสังให้
่ ผอู้ านวยการสถานพินิจจัดทาแผนฯ เสนอศาล
เพือ่ พิจารณาภายใน ๓๐ วัน นับแต่ศาลมีคาสัง่
กรณี ศาลเห็นชอบกับแผนฯ
- ดาเนินการตามแผนฯ
- จาหน่ายคดีชวคราว
ั่
กรณี ศาลไม่เห็นของกับแผนฯ
- ดาเนินกระบวนพิจารณาต่อไป
 กรณีฝา่ ฝื น ไม่ปฏิบตั ติ ามแผนฯ
- ให้ผอู้ านวยการสถานพินิจรายงานให้ศาลทราบ
- ศาลพิจารณาสังตามที
่
เ่ ห็นสมควรหรือยกคดีขน้ึ พิจารณาต่อไป
 กรณีปฏิบตั ติ ามแผนฯ ครบถ้วน
- ให้ผอู้ านวยการสถานพินิจรายงานให้ศาลทราบ
- หากศาลเห็นชอบมีอานาจสังจ
่ าหน่ ายคดีจากสารบบความ
และมีคาสังในเรื
่ อ่ งของกลาง โดยให้สทิ ธินาคดีอาญามาฟ้องระงับ
ไม่ตดั สิทธิผมู้ สี ว่ นได้เสียดาเนินคดีสว่ นแพ่ง
 คุณสมบัติที่ปรึกษากฎหมาย
๑. เป็ นทนายความตามกฎหมายว่าด้วยทนายความ และ
๒. ผ่านการอบรมเรือ่ งวิธพี จิ ารณาคดีเยาวชนและครอบครัว ความรู้
เกีย่ วกับจิตวิทยา การสังคมสงเคราะห์และความรูอ้ ่นื ทีเ่ กี่ยวข้องหรือ
๑. จบการศึกษาระดับปริญญาตรีทางกฎหมายและผ่านการอบรมเรือ่ ง
วิธพี จิ ารณาคดีเยาวชนและครอบครัว ความรูเ้ กีย่ วกับจิตวิทยา
การสังคมสงเคราะห์และความรูอ้ ่นื ทีเ่ กีย่ วข้อง
๒. ได้จดทะเบียนเป็ นทีป่ รึกษากฎหมาย
๑. ปฏิบตั หิ น้าทีเ่ ช่นเดียวกับทนายความ
๒. มีสทิ ธิได้รบั ค่าปว่ ยการ
ช่วงเวลาทีเ่ ด็กหรือเยาวชนต้องมีทป่ี รึกษากฎหมาย
๑. การตรวจสอบการจับเด็กหรือเยาวชน ตามมาตรา ๗๓
๒. แถลงคัดค้านกรณีศาลสังควบคุ
่
ม ตามมาตรา ๗๔
๓. ร่วมอยูร่ ะหว่างทีม่ กี ารแจ้งข้อกล่าวหาและสอบปากคา ตามมาตรา ๗๕
๔. แถลงคัดค้านหรือซักถามพยานชัน้ ผัดฟ้อง ตามมาตรา ๗๘