1. family_violence_full

Download Report

Transcript 1. family_violence_full

พระราชบัญญัตค
ิ ม
ุ ้ ครอง
ผู ถ
้ ู กกระทา
ด้วยความรุนแรงในครอบคร ัว
พ.ศ. 2550
โดย
นายปกป้ อง ศรีสนิ ท
1. หลักการของกฎหมาย
2. บุคคลในครอบคร ัว
3. ลักษณะการกระทาด้วยความรุนแรงในครอบคร ัว
่
4. ความสัมพันธ ์ก ับความผิดอาญาอืนๆ
5. ความรุนแรงในครอบคร ัวกับอ ันตรายต่อจิตใจ
่
6. ความรุนแรงในครอบคร ัวกับความผิดเกียวกั
บเพศ
7. บทบาทของพนักงานเจ้าหน้าที่
8. การร ้องทุกข ์
9. การถอนคาร ้องทุกข ์ ถอนฟ้อง หรือยอมความแบบมีเงื่อนไข
1. หลักการของกฎหมาย
- ความรุนแรงในครอบครัวจากเรือ
่ ง “ปิ ด”
เปลีย
่ นมาเป็ นเรือ
่ ง “เปิ ด”
- “เปิ ด” ให ้พนักงานเจ ้าหน ้าทีแ
่ ละกฎหมายเข ้า
มาแก ้ปั ญหาอย่างถูกต ้อง
- “เปิ ด” อย่างมีขอบเขต ห ้ามเผยแพร่ข ้อมูลใน
ครอบครัวแก่สาธารณชน (มาตรา 9)
มาตรา 9 เมือ
่ มีการแจ ้งตามมาตรา 5
หรือมีการร ้องทุกข์ตามมาตรา 6 แล ้วห ้ามมิ
ให ้ผู ้ใดลงพิมพ์โฆษณา หรือเผยแพร่ตอ
่
สาธารณชนด ้วยวิธใี ด ๆ ซงึ่ ภาพ เรือ
่ งราว
หรือข ้อมูลใด ๆ อันน่าจะทาให ้เกิดความ
ี หายแก่ผู ้กระทาความรุนแรงในครอบครัว
เสย
หรือผู ้ถูกกระทาด ้วยความรุนแรงในครอบครัว
ในคดีตามพระราชบัญญัตน
ิ ี้
ผู ้ใดฝ่ าฝื นบทบัญญัตใิ นวรรคหนึง่ ต ้อง
ระวางโทษจาคุกไม่เกินหกเดือน หรือปรับไม่
เกินหกหมืน
่ บาท หรือทัง้ จาทัง้ ปรับ
มาตรา 15 ไม่วา่ การพิจารณาคดีการกระทาความ
รุนแรงในครอบครัวจะได ้ดาเนินไปแล ้วเพียงใด ให ้
ศาลพยายามเปรียบเทียบให ้คูค
่ วามได ้ยอมความ
กัน โดยมุง่ ถึงความสงบสุขและการอยูร่ ว่ มกันใน
ครอบครัวเป็ นสาคัญ ทัง้ นี้ ให ้คานึงถึงหลักการ
ดังต่อไปนี้ ประกอบด ้วย
ิ ธิของผู ้ถูกกระทาด ้วย
(1) การคุ ้มครองสท
ความรุนแรงในครอบครัว
(2) การสงวนและคุ ้มครองสถานภาพของการ
สมรสในฐานะทีเ่ ป็ นศูนย์รวมของชายและหญิงที่
สมัครใจเข ้ามาอยูก
่ น
ิ ฉั นสามีภริยา หากไม่อาจ
รักษาสถานภาพของการสมรสได ้ ก็ให ้การหย่า
ี หายน ้อยทีส
เป็ นไปด ้วยความเป็ นธรรมและเสย
่ ด
ุ
(3) การคุ ้มครองและชว่ ยเหลือ
ครอบครัว โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในขณะที่
ครอบครัวนัน
้ ต ้องรับผิดชอบในการดูแล
ึ ษาแก่สมาชก
ิ ทีเ่ ป็ นผู ้เยาว์
ให ้การศก
(4) มาตรการต่าง ๆ เพือ
่ ชว่ ยเหลือ
สามีภริยาและบุคคลในครอบครัวให ้
ั พันธ์
ปรองดองกันและปรับปรุงความสม
ระหว่างกันเองและกับบุตร
ภาพรวมขัน
้ ตอนการดาเนินคดีอาญาสามัญ
ความผิด
อาญา
้
เกิดขึน
พนักงาน
สอบสวน
อ ัยการ
ผู เ้ สียหาย
ศาล
ราชทัณฑ ์
คุมประพฤติ
้
ภาพรวมขันตอนคดี
ความรุนแรง
ในครอบคร
ัว
พนักงาน
ความผิ
ด
อาญา
้
เกิดขึน
สอบสวน
อ ัยการ
พนักงาน
เจ้าหน้าที่
ระงับเหตุ
ม.6
จ ัดให้ร ้อง
ทุกข ์
ศาล
ราชทัณฑ ์
คุมประพฤติ
ผู ป
้ ระนี ประนอม
บรรเทา
ทุกข ์ ม. 10
ยอมความ
แบบมีเงื่อนไข ม. 12
2. บุคคลในครอบคร ัว
มาตรา 3 “บุคคลในครอบครัว” หมายความว่า
คูส
่ มรส คูส
่ มรสเดิม ผู ้ทีอ
่ ยูก
่ น
ิ หรือเคยอยูก
่ น
ิ ฉั น
สามีภริยาโดยมิได ้จดทะเบียนสมรส บุตร บุตร
ิ ในครอบครัว รวมทัง้ บุคคลใด ๆ
บุญธรรม สมาชก
ั และอยูใ่ นครัวเรือนเดียวกัน
ทีต
่ ้องพึง่ พาอาศย
3. ลักษณะการกระทาด้วยความรุนแรงใน
ครอบคร ัว
มาตรา 3 “ความรุนแรงในครอบคร ัว”
หมายความว่า การกระทาใด ๆ โดยมุ่งประสงค ์
ให ้เกิดอันตรายแก่รา่ งกาย จิตใจ หรือสุขภาพ
หรือกระทาโดยเจตนาในลักษณะทีน่่ าจะ
ก่อให ้เกิดอันตรายแก่รา่ งกาย จิตใจ หรือ
สุขภาพของบุคคลในครอบคร ัว หรือบังคับหรือ
ใช ้อานาจครอบงาผิดคลองธรรมให ้บุคคลใน
ครอบคร ัวต ้องกระทาการ ไม่กระทาการ หรือ
ยอมร ับการกระทาอย่างหนึ่ งอย่างใดโดยมิชอบ
แต่ไม่รวมถึงการกระทาโดยประมาท
มาตรา 4 ผู ้ใดกระทาการอันเป็ นความรุนแรงใน
ครอบครัว ผู ้นัน
้ กระทาความผิดฐานกระทาความรุนแรง
ในครอบครัว ต ้องระวางโทษจาคุกไม่เกินหกเดือน
้ าทังปร
้
หรือปร ับไม่เกินหกพันบาท หรือทังจ
ับ
่
4. ความสัมพันธ ์กับความผิดอาญาอืนๆ
-ความรุนแรงในครอบครัวเป็ นกรรมเดียวกับ
ความผิดอาญาอืน
่ จะลบล ้างความผิดตาม
กฎหมายอืน
่ หรือไม่
-ความรุนแรงในครอบครัวเป็ นกรรมเดียวกับ
ความผิดอาญาอืน
่ จะลงโทษอย่างไร
-ความรุนแรงในครอบครัวเป็ นกรรมเดียวกับ
ความผิดอาญาอืน
่ จะขึน
้ ศาลใด
ความสัมพันธ ์ระหว่างคดีความรุนแรงใน
ครอบคร ัวกับคดีอาญาสามัญ
ความรุนแรงในครอบคร ัว
l
คดีอาญาสามัญ
มาตรา 4 ผู ้ใดกระทาการอันเป็ นความรุนแรงใน
ครอบครัว ผู ้นัน
้ กระทาความผิดฐานกระทาความรุนแรง
ในครอบครัว ต ้องระวางโทษจาคุกไม่เกินหกเดือน
้ าทังปร
้
หรือปร ับไม่เกินหกพันบาท หรือทังจ
ับ
ให ้ความผิดตามวรรคหนึง่ เป็ นความผิดอันยอม
ความได ้ แต่ไม่ลบล้างความผิดตามประมวลกฎหมาย
่ หากการกระทาความผิดตาม
อาญาหรือกฎหมายอืน
วรรคหนึง่ เป็ นความผิดฐานทาร ้ายร่างกายตาม
ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๒๙๕ ด้วย ให้
ความผิดดังกล่าวเป็ นความผิดอ ันยอมความได้
มาตรา 8 วรรค 2 ในกรณีทก
ี่ ารกระทาความผิดตาม
มาตรา 4 วรรคหนึง่ เป็ นความผิดกรรมเดียวกับ
ความผิดตามกฎหมายอืน
่ ให ้ดาเนินคดีความผิดตาม
มาตรา 4 วรรคหนึง่ ต่อศาลรวมไปกับความผิดตาม
กฎหมายอืน
่ นัน
้ เว ้นแต่ความผิดตามกฎหมายอืน
่ นั น
้ มี
่ อานาจ
อัตราโทษสูงกว่าให ้ดาเนินคดีตอ
่ ศาลทีมี
่ น
้ โดยให ้นา
พิจารณาความผิดตามกฎหมายอืนนั
บทบัญญัตท
ิ งั ้ หลายแห่งพระราชบัญญัตน
ิ ไ
ี้ ปใชบั้ งคับ
โดยอนุโลม
่ น
ความรุนแรงในครอบคร ัวทีเป็
ความผิดในประมวลกฎหมาย
อาญา
ก) ความผิดฐานฆ่าคนตายโดยเจตนา
ข) ความผิดฐานทาร ้ายจนเป็ นเหตุให ้ผูอ้ น
ื่
ถึงแก่ความตาย
ค) ความผิดฐานทาร ้ายร่างกาย
ง) ความผิดฐานทาร ้ายร่างกายสาหัส
จ) ความผิดฐานทาร ้ายไม่ถงึ กับเป็ นเหตุ
ฉ) ความผิดต่อเสรีภาพ
่
ช) ความผิดเกียวกั
บเพศ
ก) ความผิดฐานฆ่าคนตายโดย
เจตนา
ประมวลกฎหมายอาญามาตรา 288
บัญญัตวิ า่ “ผูใ้ ดฆ่าผูอ้ น
ื่
ต ้องระวาง
โทษประหารชีวต
ิ จาคุกตลอดชีวต
ิ
้ สบ
่ บปี ”
หรือจาคุกตังแต่
ิ ห ้าปี ถึงยีสิ
ข) ความผิดฐานทาร ้ายร่างกายจน
เป็ นเหตุให้ผูอ
้ นถึ
ื่ งแก่ความตาย
ประมวลกฎหมายอาญามาตรา 290
“ผูใ้ ดมิได ้มีเจตนาฆ่า แต่ทาร ้ายผูอ้ น
ื่
จนเป็ นเหตุให ้ผูน้ ้ันถึงแก่ความตาย
้ สามปี ถึงสิบ
ต ้องระวางโทษจาคุกตังแต่
ห ้าปี ”
ค) ความผิดฐานทาร ้ายร่างกาย
-ประมวลกฎหมายอาญามาตรา 295
บัญญัตวิ า่ “ผูใ้ ดทาร ้ายผูอ้ นจนเป็
ื่
นเหตุให ้
เกิดอันตรายแก่กายหรือจิตใจของผูอ้ นนั
ื่ ้ น
ผูน้ ้ันกระทาความผิดฐานทาร ้ายร่างกาย
ต ้องระวางโทษจาคุกไม่เกินสองปี หรือปรับ
่ นบาท หรือทังจ
้ าทังปร
้ ับ”
ไม่เกินสีพั
่ อยู
่ ่
-เนื่ องจากเจตนาเป็ นสิงที
ภายในใจ การพิสจ
ู น์วา่ ผูก้ ระทามี
เจตนาฆ่า หรือเจตนาทาร ้าย
ร่างกาย จึงต ้องอาศัย 2 ประการ
คือ
1. คาร ับสารภาพ
่ เจตนา
้
2. กรรมเป็ นเครืองชี
ซึง่
่ ้แก่
ซึงได
-การทาร ้ายร่างกายตาม ม.295 ปกติจะเป็ นอาญา
แผ่นดิน (ยอมความไม่ได้)
-การทาร ้ายร่างกายตาม ม. 295 ถ ้ากระทาระหว่าง
บุคคลในครอบครัวจะเป็ นอาญาส่วนตัว (ยอม
ความได้) ตามพ.ร.บ. มาตรา 4 วรรค 2
ง) ความผิดฐานทาร ้ายร่างกายสาหัส
ประมวลกฎหมายอาญามาตรา 297 ซึง่
้ั
กาหนดให ้ต ้องระวางโทษจาคุกตงแต่
6
เดือน ถึง 10 ปี
อันตรายสาหัส คือ ตาบอด หู
้
หนวก ลินขาด
หรือเสียฆานประสาท เสีย
อวัยวะสืบพันธุ ์ หรือความสามารถสืบพันธุ ์
้ ออวัยวะอืนใด
่
เสียแขน ขา มือ เท ้า นิ วหรื
หน้าเสียโฉมอย่างติดตัว หรือแท ้งลูก หรือ
เจ็บป่ วยทุกขเวทนาเกินกว่า 20 วัน
จ) ความผิดฐานทาร ้ายไม่ถงึ กับ
เป็ นเหตุให้เกิดอ ันตรายแก่กาย
หรือจิตใจ
-ประมวลกฎหมายอาญามาตรา
่ ญญัตวิ า
391 ทีบั
่ “ผู ใ้ ดใช้กาลังทา
ร ้ายผู อ
้ นโดยไม่
ื่
ถงึ ก ับเป็ นเหตุให้เกิด
อ ันตรายแก่กายหรือจิตใจ ต้องระวาง
โทษจาคุกไม่เกินหนึ่ งเดือน หรือปร ับ
้ าทัง้
ไม่เกินหนึ่ งพันบาท หรือทังจ
ฉ) ความผิดต่อเสรีภาพ
-ประมวลกฎหมายอาญามาตรา 309 “ผูใ้ ด
่ ้กระทาการใด ไม่กระทาการใด
ข่มขืนใจผู ้อืนให
่
หรือจายอมต่อสิงใด
โดยทาให ้กลัวว่าจะเกิด
่ ยง
อันตรายต่อชีวต
ิ ร่างกาย เสรีภาพ ชือเสี
หรือทร ัพย ์สินของผู ้ถูกข่มขืนใจนั้นเองหรือของ
ผูอ้ น
ื่ หรือโดยใช ้กาลังประทุษร ้ายจนผูถ้ ก
ู
ข่มขืนใจต ้องกระทาการนั้น ไม่กระทาการนั้น
่ ้น ต ้องระวางโทษจาคุกไม่
หรือจายอมต่อสิงนั
เกินสามปี หรือปร ับไม่เกินหกพันบาท หรือทัง้
้ ับ”
จาทังปร
-มาตรา 310 ผูใ้ ดหน่ วงเหนี่ ยว
หรือกักขังผูอ้ น
ื่ หรือกระทาด ้วย
ประการใดให ้ผูอ้ นปราศจากเสรี
ื่
ภาพใน
ร่างกาย ต ้องระวางโทษจาคุกไม่เกิน
สามปี หรือปร ับไม่เกินหกพันบาท หรือ
้ าทังปร
้ ับ
ทังจ
่
จ) ความผิดเกียวกับเพศ
มาตรา 276 ผูใ้ ดข่มขืนกระทา
ชาเราผูอ้ นโดยขู
ื่
เ่ ข็ญด ้วยประการใดๆ
ใดๆ โดยใช ้กาลังประทุษร ้าย โดยผูอ้ น
ื่
่ สามารถขัดขืน
ผูอ้ นนั
ื่ ้นอยูใ่ นภาวะทีไม่
ขืนได ้ หรือโดยทาให ้ผูอ้ นนั
ื่ ้นเข ้าใจผิด
่ ต ้อง
เข ้าใจผิดว่าตนเป็ นบุคคลอืน
้ สปีี่ ถึงยีสิ
่ บปี และ
ระวางโทษจาคุกตังแต่
้ แปดพันบาทถึงสีหมื
่ น
่
และปร ับตังแต่
บาท
5. ความรุนแรงในครอบคร ัวกับอ ันตรายต่อจิตใจ
มาตรา 3 “ความรุนแรงใน
ครอบคร ัว” หมายความว่า การกระทาใด ๆ
โดยมุ่งประสงค ์ให ้เกิดอันตรายแก่รา่ งกาย
จิตใจ หรือสุขภาพ หรือกระทาโดยเจตนาใน
ลักษณะทีน่่ าจะก่อให ้เกิดอันตรายแก่รา่ งกาย
จิตใจ หรือสุขภาพของบุคคลในครอบคร ัว หรือ
บังคับหรือใช ้อานาจครอบงาผิดคลองธรรมให ้
บุคคลในครอบคร ัวต ้องกระทาการ ไม่กระทา
การ หรือยอมร ับการกระทาอย่างหนึ่ งอย่างใด
โดยมิชอบแต่ไม่รวมถึงการกระทาโดยประมาท
่
6. ความรุนแรงในครอบคร ัวกับความผิดเกียวกับ
เพศ
่
ความผิดเกียวกับเพศ
เป็ น ความรุนแรงใน
ครอบคร ัวลักษณะหนึ่ง เพราะ
-ทาร ้ายร่างกาย เบากว่ายังเป็ น
-สามีไม่มส
ี ท
ิ ธิข่มขืนภรรยาอีกต่อไป
7. บทบาทของพนักงานเจ้าหน้าที่
-การเข ้าไประงับเหตุ
-การรักษากาย จิตใจ และสงั คมสงเคราะห์
-การจัดให ้มีการร ้องทุกข์
-การบรรเทาทุกข์ชวั่ คราว
มาตรา 6 วรรค 2 เมือ
่ พนักงานเจ ้าหน ้าทีไ่ ด ้
พบเห็นการกระทาด ้วยความรุนแรงในครอบครัว
หรือได ้รับแจ ้งตามมาตรา 5 แล ้ว ให ้พนักงาน
เจ ้าหน ้าทีม
่ อ
ี านาจเข้าไปในเคหสถานหรือ
สถานทีท
่ เี่ กิดเหตุเพือ
่ สอบถามผูก
้ ระทาความ
รุนแรงในครอบคร ัว ผู ้ถูกกระทาด ้วยความรุนแรง
ในครอบครัวหรือบุคคลอืน
่ ทีอ
่ ยูใ่ นสถานทีน
่ ัน
้
เกีย
่ วกับการกระทาทีไ่ ด ้รับแจ ้ง รวมทัง้ ให ้มีอานาจ
จ ัดให้ผถ
ู้ ก
ู กระทาด้วยความรุนแรงใน
ครอบคร ัวเข้าร ับการตรวจร ักษาจากแพทย์
และขอร ับคาปรึกษาแนะนาจากจิตแพทย์
ั
น ักจิตวิทยา หรือน ักสงคมสงเคราะห์
ในกรณีท ี่
ผู ้ถูกกระทาด ้วยความรุนแรงในครอบครัวประสงค์
่ั
การบรรเทาทุกข ์ชวคราว
(มาตรา 10 พ.ร.บ.)
ี หายชวั่ คราว
-เป็ นการคุ ้มครองผู ้เสย
ระหว่างการดาเนินคดีกบ
ั ผู ้กระทาความผิด
-เป็ นอานาจ พมจ. ผู ้กากับสถานีตารวจ
นายอาเภอ สงั่ แล ้วมีผล 48 ชวั่ โมง
-เมือ
่ ครบ 48 ชวั่ โมง ศาลจะต ้องตรวจสอบ
คาสงั่ อาจปรับปรุงแก ้ไข แล ้วมีผลจนกว่าคดี
ถึงทีส
่ ด
ุ
-ลักษณะของคาสงั่ คือ ห ้ามผู ้กระทาเข ้า
ใกล ้ ให ้ผู ้กระทาไปรักษา ให ้ผู ้กระทาชดใช ้
เงินชว่ ยเหลือเบือ
้ งต ้น กาหนดวิธด
ี แ
ู ลบุตร
-การไม่ปฏิบต
ั ต
ิ ามคาสงั่ มีโทษทางอาญา
จาคุกไม่เกิน 3 เดือนหรือปรับไม่เกิน 3,000
บาทหรือทัง้ จาทัง้ ปรับ
ี หาย
-จะออกคาสงั่ ตามมาตรา 10 ได ้ผู ้เสย
ต ้อง “ร ้องทุกข ์” เสมอ
มาตรา 10 และ มาตรา 11
-เหมือนกันทีเ่ ป็ นคาสงั่ บรรเทาทุกข์ชวั่ คราว
-เหมือนกันทีต
่ ้องมีการดาเนินคดีอาญา
(สอบสวน พิจารณาคดี)
-ต่างกัน ที่
ม. 10 ฝ่ ายปกครองสงั่ แล ้วศาล
ยืนยัน
ม. 11 ศาลสงั่
การคุม
้ ครองสวัสดิภาพของผู เ้ สียหายตาม
พ.ร.บ.ศาลเยาวชนและครอบคร ัวและวิธ ี
พิจารณาคดีเยาวชนและครอบคร ัว พ.ศ.
2553 มาตรา 172-178
่ ม
ลักษณะของคาสังคุ
้ ครองสว ัสดิภาพ
่ งว่างของมาตรา 10 แห่ง
-เข ้ามาอุดชอ
พ.ร.บ.คุ ้มครองผู ้ถูกกระทาด ้วยความรุนแรงใน
ครอบครัว
ี หายในคดีความ
-เป็ นการคุ ้มครองผู ้เสย
รุนแรงในครอบครัว หรือคดีตามพ.ร.บ.คุ ้มครอง
เด็ก
-ผู เ้ สียหายไม่ตอ
้ งร ้องทุกข ์ หรือ คดีขาด
อายุความ ศาลก็สามารถสงั่ คุ ้มครองสวัสดิภาพ
ได ้
ิ ธิร ้องขอ คือ ผู ้เสย
ี หาย ญาติ
-ผู ้มีสท
พนักงานสอบสวน พนักงานอัยการ พนักงาน
เจ ้าหน ้าที่ ngo รวมทัง้ บุคคลอืน
่ ใดเพือ
่
ี หาย
ประโยชน์ของผู ้เสย
-ศาลไต่สวนโดยไม่ใชวิ้ ธพ
ี จ
ิ ารณาคดีอาญา
และออกคาสงั่ คุ ้มครองสวัสดิภาพ
-ลักษณะของคาสงั่ คือ ห ้ามเสพสุราสงิ่ มึน
้ พย์สน
ิ ทีก
เมา ห ้ามเข ้าใกล ้ ห ้ามใชทรั
่ อ
่ ความ
รุนแรง ให ้ใชค่้ าเลีย
้ งดู ให ้ไปรักษาพยาบาล
-ระยะเวลาของคาสงั่ ไม่เกิน 6 เดือน
-หากปฏิบต
ั ต
ิ ามคาสงั่ คุ ้มครองสวัสดิภาพ
ิ้ ผลไป
ตลอดระยะเวลาของคาสงั่ คาสงั่ ก็จะสน
-หากไม่ปฏิบต
ั ต
ิ ามคาสงั่ คุ ้มครองสวัสดิภาพ
ศาลออกหมายขังผู ้ถูกกล่าวหามาขังไว ้จนกว่า
จะปฏิบต
ั ต
ิ ามคาสงั่ ไม่เกิน 1 เดือน
8. การร ้องทุกข ์
ี หายโดยพนักงาน
-การร ้องทุกข์แทนผู ้เสย
เจ ้าหน ้าที่ ตาม มาตรา 6 ให ้กระทาเมือ
่
ี หายประสงค์จะร ้องทุกข์เท่านัน
ผู ้เสย
้
-อายุความร ้องทุกข์ ตามมาตรา 7 ให ้เริม
่ นับ
ี หายอยูใ่ น
เวลา 3 เดือนนับแต่เวลาทีผ
่ ู ้เสย
ั ” และ “โอกาส” ทีจ
“วิสย
่ ะร ้องทุกข์ได ้
-การร ้องทุกข์ไม่จาเป็ นต ้องแจ ้งว่าให ้
ดาเนินคดีตาม พ.ร.บ.คุ ้มครองผู ้ถูกกระทาฯ
9. การถอนคาร ้องทุกข ์ ถอน
ฟ้อง ยอมความแบบมีเงื่อนไข
ในคดีอาญา
สามัญ
-คดีความผิดต่อส่วนตัว(ยอม
ความได ้)
ผล------ คดี
ยุตท
ิ น
ั ที
ในคดีความรุนแรงในครอบคร ัว
(ยอมความได้)
-การถอนคาร ้องทุกข ์ ถอนฟ้ อง
หรือยอมความจะต ้องจัดให ้มี “บันทึก
่
ข ้อตกลงแบบมีเงือนไข”
(ม.12)
้ นสิงที
่ คู
่ ก
-ข ้อตกลงนี เป็
่ รณี ให ้
่ ้
สัญญาจะทาในอนาคตเพือให
คดีอาญายุตล
ิ งโดยไม่มก
ี ารพิพากษา
จาคุกหรือปร ับ
ผลของข้อตกลงตาม มาตรา
12
1. หากผูต้ ้องหาหรือจาเลย
่
้อตกลงภายใน
ปฏิบต
ั ต
ิ ามเงือนไขในข
่ าหนด สิทธินาคดีอาญา
ระยะเวลาทีก
มาฟ้ องระงับลง (คดีอาญายุต)ิ
2. หากผูต้ ้องหาหรือจาเลยฝ่ า
่
ฝื นเงือนไขในข
้อตกลง พนักงาน
สอบสวน พนักงานอัยการหรือศาล
่ น
ในความรุนแรงในครอบคร ัวทีเป็
อาญาแผ่นดิน (ยอมความไม่ได้)
-บันทึกข ้อตกลงแบบมีเงือ
่ นไขตาม
มาตรา 12 ไม่มผ
ี ลให ้คดีอาญายุต ิ
-แต่ทาได ้โดยอนุโลมเพือ
่ เสนอให ้ศาลใช ้
ดุลพินจ
ิ ประกอบการลงโทษได ้
่
ความแตกต่างระหว่าง คาสังบรรเทาทุ
กข ์
่ั
ชวคราว(ม.10,
11) และ การยอมความแบบมี
เงื่อนไข (ม.12)
ี หายระหว่าง
-บรรเทาทุกข์ชวั่ คราวต ้องการคุ ้มครองผู ้เสย
ดาเนินคดีอาญา แต่ยอมความแบบมีเงือ
่ นไขต ้องการยุตค
ิ ดีอาญา
ิ้ ผลเมือ
-บรรเทาทุกข์ชวั่ คราวสน
่ คดีอาญายุต ิ แต่ยอมความ
แบบมีเงือ
่ นไขพิจารณาจากการปฏิบต
ั ต
ิ ามเงือ
่ นไขว่าสาเร็จหรือไม่
ถ ้าสาเร็จคดียต
ุ ิ ถ ้าไม่สาเร็จรือ
้ คดีอาญาพิจารณาต่อไป
สวัสดีครับ