ข้อสังเกตุจากการติดตามฯ () (นพ.สุริยะ วงศ์คงคาเทพ)

Download Report

Transcript ข้อสังเกตุจากการติดตามฯ () (นพ.สุริยะ วงศ์คงคาเทพ)

ข้อสังเกตบางประการ
แผนดาเนิ นงานส่งเสริมสุขภาพและ
ป้ องกันโรค
ปี 2555
สุริยะ วงศ์ คงคาเทพ
การติดตามประเมินผล
วั ต ถุ ป ร ะ ส ง ค์
1. เพือ่ ประเมินกระบวนการดาเนิ นงาน P&P
ภายในจังหวัด รวมทัง้ ผลลัพท์ตามความเป็ นจริง
2. เพือ่ วิเคราะห์ศกั ยภาพของจังหวัดและหน่ วยปฏิบตั ิ
ความจาเป็ นต่อการพัฒนา และปัญหาอุปสรรค
3. เพือ่ สะท้อนสภาพปัญหาการทางานของจังหวัด อัน
เป็ นผลพวงจากนโยบาย แผน วิธีทางานส่วนกลาง
4. เพือ่ พัฒนาทีม M&E ระดับเขต
M&E ตอบอะไร ?
ทีม M&E เสนอข้อเท็จจริง สภาพการณ์และปัญหาการบริหาร
จัดการงานส่งเสริมป้ องกันในพื้นที่
จังหวัดได้รบั ข้อมูลป้ อนกลับที่สะท้อนถึงจุดอ่อนที่ตอ้ งแก้ไข
กรมวิชาการ รับทราบความเป็ นไป ปัญหาอุปสรรคของพื้นที่ นามา
ทบทวนเพื่อปรับมาตรการ แผนงาน โครงการ รวมถึงพิจารณาให้
การสนับสนุ นและพัฒนาจุดอ่อนในระดับปฏิบตั ิ
ทีม M&E ได้ประโยชน์จากข้อมูลจริงว่า อะไรเกิดขึ้นในจังหวัด
และหาวิธีการช่วยเหลือ
M&E ต่างจากตรวจ/นิ เทศ
การติดตามประเมินผล (M&E) ไม่ใช้ โครงการ / ตัวชี้วดั
เป็ นตัวตัง้ แต่จะยึด ปัญหาสุขภาพ เป็ นตัวตัง้ เพือ่ รวบรวม
ข้อมูลความเป็ นไปตามสภาพจริงที่เกิดขึ้นในพื้นที่
“ผูป้ ฏิบตั ิมวี ธิ กี ารทางานและการบริหารจัดการ งานส่งเสริม
สุขภาพและป้ องกันโรคอย่างไร ปฏิบตั ิแล้วมีปัญหาอุปสรรค
หรือไม่ และได้แก้ไขอย่างไร ฯลฯ”
ที่ผ่านมาการสะท้อนภาพดังกล่าวมีให้เห็นน้อยมาก ส่วนใหญ่เป็ น
การรายงานผลงานตามตัวชี้วดั เท่านั้น
บทบาทของ M&E
กระทรวง
จังหวัด
สปสช.
M&E
แนวทาง M&E ปี 2555
1. ความร่วมมือทัง้ ส่วนกลาง/เขต
(สานักตรวจ, สนย., 4 กรมหลัก, สปสช.)
2. พัฒนา ผูป้ ระสานงาน M&E ของศูนย์อนามัย สคร.
และศูนย์สขุ ภาพจิต เป็ นแกนหลักในระดับเขต
3. จัดทาตัวอย่าง M&E จากปัญหาเด่น 3 เรื่อง
4. สรุปผลการประเมิน ไปสูน่ โยบาย
ข้อกาหนด M&E
1. เน้น Monitoring มากกว่า Evaluation
2. ไม่ควรยึดโครงการ / KPI เป็ นเป้ าหมาย M&E
ควรยึดปัญหาและมาตรการแก้ปญั หาเป็ นตัวตัง้
3. เรียนรูค้ วามพยายามของ จว. และพื้นที่ในการ
ตอบสนองปัญหาที่ซบั ซ้อน ต้องบูรณาการหลาย
ภาคส่วน และมองผลระยะยาวมากกว่าระยะสัน้
4. ศึกษาสภาพจริงเชิงประจักษ์ มากกว่าการรับฟัง
บรรยายสรุป
5. ผูป้ ระเมินต้องทาหน้าที่อย่างอิสระ ไม่ใช่ผูน้ ิ เทศ
ตามงาน หรือผลสาเร็จของจังหวัด
ภารกิจ
ผูป้ ระเมิน
รูปแบบ ขัน้ ตอน
การบริหารจัดการ
กิจกรรมการประเมิน
ผลการประเมิน
ผูป้ ฏิบตั ิ
รูปแบบ กระบวนการ
การบริหารจัดการ
แนวคิด
แผนงาน
กิจกรรมปฏิบตั ิ
ผลการปฏิบตั ิ
กรอบการประเมินกระบวนการ
คุณภาพของแผน
1. มีการวิเคราะห์ปญั หาและสาเหตุ
2. กลุม่ เป้ าหมายชัดเจน เจาะจง
3. มาตรการ/กิจกรรม เหมาะสม
ปฏิบตั ิได้
แผนบูรณาการเชิงรุก
บูรณาการ เชิงยุทธศาสตร์การแก้ไขปัญหา
ยุทธศาสตร์สง่ เสริมสุขภาพระดับประเทศ
สถานการณ์ปญั หาสุขภาพระดับพื้นที่
บูรณาการ เชิงการใช้ทรัพยากร ได้แก่ หน่ วยงาน
งบประมาณ กาลังคน ความรู ้ และศักยภาพของ
หน่ วยงาน
... เน้น “แผนบูรณาการเชิงรุก”
บูรณาการ เชิงการกากับ ติดตาม และประเมินผล
สรุปรายงานผล M&E
การประเมินภาพรวม
แผนบู รณาการเชิงรุ ก
การบริหารจัดการงบประมาณ
การประเมินกระบวนการทางาน (กรณี ปญั หา)
งบประมาณสนับสนุ น
กระบวนการวิเคราะห์สภาพปัญหา
กระบวนการวางแผนแก้ปัญหา
กระบวนการนาแผนสูก่ ารปฏิบตั ิ
แผนพัฒนา M&E ปี 2555
1. สร้างเครือข่าย MENET และเชื่อมโยง SCME
ด้วยช่องทางต่างๆ เช่น Website, Social
networks, M&E Forum ฯลฯ
2. พัฒนาทักษะ ผูป้ ระสานงาน M&E เขต/จังหวัด
3. จัดทารายงานต้นฉบับ M&E ในปัญหาที่สาคัญ
4. สรุปผลการประเมิน ไปสูน่ โยบาย
แผนบูรณาการ PP
แผนยุทธศาสตร์
แผนแก้ปญั หา
เห็นทิศทางในภาพรวม
เน้นปัญหาสาคัญ
จัดกลุม่ ปัญหา / บูรณาการ
แต่ละปัญหามีกลยุทธ์ / มาตรการชัดเจน
มาตรการชัดเจน
งบประมาณตามกิจกรรม
แผนปฏิบตั ิ
กิจกรรม
คุณลักษณะของแผน 3 ระดับ
แผนยุทธศาสตร์
แผนแก้ ไขปั ญหา
แผนปฏิบัติ
แผนยุทธศาสตร์ (องค์กร/พื ้นที่) แผนยุทธศาสตร์ (ปั ญหา)
แผนงาน (ปั ญหา)
การพัฒนาสุขภาพในพืน้ ที่ การแก้ ไขปั ญหาหนึ่ง
เป้าหมาย/
วัตถุประสงค์ ของแผน (เน้ นปั ญหาที่หลากหลาย และ อย่ างเจาะจง
ผลกระทบที่เกิดขึ ้น)
กลยุทธ / มาตรการ
เนือ้ หาสาระของแผน ทิศทาง / ยุทธศาสตร์
โครงการ (ปั ญหา/พื ้นที่)
ขอบเขตของการ
วิเคราะห์ ปัญหา
“เจาะจงปั ญหาและ
พืน้ ที่”
ชื่อที่นิยมใช้
“ไม่ เจาะจงปั ญหา”
“เจาะจงปั ญหา”
(ใช้ ข้อมูล สถานะสุขภาพ สถิติ (ใช้ ข้อมูล สถานการณ์
เปรี ยบเทียบ และการจัดลาดับ ปั ญหา ระบาดวิทยา และ
ความสาคัญ)
ข้ อมูลที่เกี่ยวข้ อง)
การดาเนินงานเพื่อ
แก้ ปัญหาเฉพาะพืน้ ที่
กิจกรรมปฏิบตั ิ
ผลลัพท์ ท่ สี าคัญ
การจัดสรรทรัพยากร
ที่สอดคล้ องกับยุทธศาสตร์
(ใช้ ข้อมูล สถานการณ์
ปั ญหา และข้ อมูลในพื ้นที่)
ประสิทธิภาพของมาตรการ ประสิทธิผลของการ
ดาเนินงาน
แหล่ งงบประมาณ
หน่ วยงาน องค์ การ
หลายแหล่ ง
หลายแหล่ ง
แหล่ งเดียว
ประเทศ / เขต / จังหวัด
ประเทศ / เขต / จังหวัด
หน่วยงาน / สถานบริการ
ร้อยงบประมาณส่งเสริมสุขภาพและป้ องกันโรค ปี งบประมาณ 2555
จาแนกตามแหล่งงบประมาณ ภาพรวมเขตตรวจราชการที่ 5
แผนยุทธศาสตร์จงั หวัด
1.
2.
3.
4.
“ยุทธศาสตร์” มีหลายนิ ยาม
กระบวนการจัดทาแผนยุทธศาสตร์จงั หวัด
ระดับอาเภอจาเป็ นต้องมีแผนยุทธศาสตร์หรือไม่
วิเคราะห์แผนยุทธศาสตร์ จากกระจายตัวของ
งบประมาณไปอยู่ท่ใี ด
5. บทบาทของ สสจ. กากับดูแลภาพรวม หรือบริหารงบที่
อยู่ในความรับผิดชอบเท่านั้น
6. จังหวัดไม่สามารถรับรูง้ บประมาณที่ใช้จา่ ยจริง
7. บางเรื่องไม่มีแผนแก้ไขปัญหารองรับ
ร้อยละการใช้จา่ ยงบประมาณส่งเสริมสุขภาพและป้ องกันโรค ปี งบประมาณ 2555
จาแนกตามระดับหน่ วยงาน ภาพรวมเขตตรวจราชการที่ 5
แผนแก้ไขปัญหา
1. จังหวัดให้ความสาคัญกับแผนแก้ไขปัญหาน้อยเกินไป
2. วิเคราะห์ปญั หาไม่รอบด้าน ขาดวิเคราะห์จุดบกพร่องการ
ดาเนิ นงานที่ผ่านมา
3. กลุม่ งานต่างๆ ต่างคนต่างทางาน แยกส่วน ไม่บูรณาการ
4. การชี้แจงถ่ายทอดแผน และทาความเข้าใจผูป้ ฏิบตั ิ
5. แผนแก้ไขปัญหา ไม่ระบุมาตรการ หรือมีแนวคิด
นามธรรมเกินไป ปฏิบตั ไิ ด้ยาก
6. วิเคราะห์โครงการของอาเภอ/ตาบล ว่าสอดคล้องกับ
แผนและมาตรการหรือไม่ เพียงใด
ร้อยละการจัดสรรงบประมาณส่งเสริมสุขภาพและป้ องกันโรค
ปี งบประมาณ 2555 จาแนกรายโครงการ ภาพรวมเขต 5
แผนปฏิบตั ิ
1. แผนปฏิบตั ขิ องทัง้ จังหวัดมีมากเกินไป เป็ นโครงการ
เล็กๆ กิจกรรมเดี่ยวๆ
2. ขาดการวิเคราะห์ว่า มาตรการใดถูกใช้เพือ่ แก้ปญั หา
ได้ผลหรือไม่ มาตรการใดไม่ถกู ปฏิบตั ิ
3. ผูป้ ฏิบตั ขิ าดความเข้าใจต่อแนวทาง มาตรการแก้ไขปัญหา
ส่วนใหญ่ทางานซ้าๆ
4. การแลกเปลีย่ นเรียนรูก้ บั ความสาเร็จเฉพาะพื้นที่ เน้น
รูปแบบของกิจกรรมมากกว่าสาระ ขาดการสรุป
วิเคราะห์บทเรียนความสาเร็จ/ล้มเหลว
ตย. แผนงาน NCD
ภาพรวม
1. ยุทธศาสตร์/แผน/โครงการ ที่เกี่ยวข้องมากมาย
หลายชุด
2. ส่วนกลาง ยึด “ตัวชี้วดั ” เป็ นเป้ าหมายที่ตอ้ งบรรลุ
3. หน่ วยปฏิบตั ิ/กองทุนตาบล มุ่งกิจกรรมคัดกรอง
4. ภาพลักษณ์ การประกวด การเสนอผลงาน
ตย. แผนงาน NCD
สิง่ ที่อาจพบได้
1. จังหวัดมียุทธศาสตร์ แต่โครงการกลับแยกส่วน
ขาดบูรณาการระหว่างกลุ่มงาน/ฝ่ าย
2. พื้นที่ไม่มีการแยกแยะกลุม่ เป้ าหมาย
3. แนวโน้มคัดกรอง “โรค” มากกว่า “ปัจจัยเสีย่ ง”
4. มาตรการปรับพฤติกรรม ยังเห็นผลไม่ชดั เจน
5. ดูแลแบบ Case management มากกว่า
System management