เทคนิคการจัดทารายงานการวิจัย นวัตกรรม และเอกสารประกอบ โดย รศ.ดร.กรรวี บุญชัย ภาควิชาพลศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ การประชุมวิชาการแห่ งชาติ สมาคม สพสท. กพ.2555 ผลงานทางวิชาการ 1. เอกสารประกอบการสอน 2.

Download Report

Transcript เทคนิคการจัดทารายงานการวิจัย นวัตกรรม และเอกสารประกอบ โดย รศ.ดร.กรรวี บุญชัย ภาควิชาพลศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ การประชุมวิชาการแห่ งชาติ สมาคม สพสท. กพ.2555 ผลงานทางวิชาการ 1. เอกสารประกอบการสอน 2.

เทคนิคการจัดทารายงานการวิจัย
นวัตกรรม และเอกสารประกอบ
โดย รศ.ดร.กรรวี บุญชัย
ภาควิชาพลศึกษา
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
การประชุมวิชาการแห่ งชาติ สมาคม สพสท. กพ.2555
ผลงานทางวิชาการ
1. เอกสารประกอบการสอน
2. เอกสารคาสอน
3. บทความทางวิชาการ
4. ตารา
ผลงานทางวิชาการ
5. หนังสื อ
6. งานวิจัย
7. ผลงานทางวิชาการในลักษณะอืน่
(เช่ น นวัตกรรม)
8. งานแปล
งานวิจัย หมายถึง งานค้ นคว้ าอย่ างมีระบบ
และมีวตั ถุประสงค์ ทชี่ ัดเจนเพือ่ ให้ ได้ มาซึ่ง
ข้ อมูล หลักการ หรือข้ อสรุปรวม ทีจ่ ะนาไปสู่
ความก้ าวหน้ าทางวิชาการ หรือเอือ้ ต่ อการนา
วิชาการนั้นไปประยุกต์ มีลกั ษณะเป็ นเอกสาร
ทีมีระเบียบวิธีวจิ ัยทีเ่ หมาะสมกับธรรมชาติ
ของวิชา
“ระดับดี” เป็ นงานวิจัยทีม่ ีความถูกต้ อง
เหมาะสมทั้งในระเบียบวิธีวจิ ัย การ
วิเคราะห์ และการนาเสนอผล ซึ่งแสดงให้
เห็นถึงความก้ าวหน้ าทางวิชาการ หรือ
นาไปประยุกต์ ได้ ทั้งนีต้ ้ องได้ รับการ
ตีพมิ พ์และเผยแพร่ ตามหลักเกณฑ์ ที่
กาหนด
“ระดับดีมาก” ใช้ เกณฑ์ เดียวกับระดับดี โดยมี
ข้ อกาหนดด้ านคณ
ุ ภาพเพิม่ เติมดังต่ อไปนี้
1) เป็ นผลงานทีแ่ สดงถึงความรู้ ใหม่ ทลี่ กึ ซึ้ง
กว่ างานเดิมทีม่ ผี ู้ศึกษาแล้ ว
2) เป็ นประโยชน์ ด้านวิชาการอย่ าง
กว้ างขวางหรือสามารถนาไปประยุกต์ ได้
อย่ างแพร่ หลาย
“ระดับดีเด่ น” ใช้ เกณฑ์ เดียวกับระดับดีมาก
โดยมีข้อกาหนดด้ านคณ
ุ ภาพเพิม่ เติมดังนี้
1) เป็ นงานบุกเบิกทีม่ คี ุณค่ ายิง่ ทาให้ เกิด
ความก้ าวหน้ าทางวิชาการในระดับสู ง
2) เป็ นทีย่ อมรับในวงวิชาการหรือ
วิชาชีพทีเ่ กีย่ วข้ องในระดับชาติ/หรือ
ระดับนานาชาติ
ปัญหาและอปุ สรรคในการจัดทางานวิจยั
 ผลงานวิจัย
 ไม่ แสดงให้ เห็นถึงองค์ ความรู้ ใหม่
• องค์ ความรู้ ในสาขาวิชาสุ ขศึกษา พลศึกษา
และสั นทนาการ ได้ มีการบริหารจัดการ
องค์ ความรู้ ได้ พฒ
ั นาองค์ ความรู้ ให้
สอดคล้ องกับความก้าวหน้ าด้ านเทคโนโลยี
วิถกี ารดาเนินชีวติ ในสั งคมปัจจุบัน
ผลงานวิจัย
ขาดองค์ ความรู้ ทเี่ กีย
่ กับ พ.ร.บ.
การศึกษาแห่ งชาติ พ.ศ. 2542 และแก้ ไข
เพิม่ เติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545
ขาดองค์ ความรู้ เกีย
่ วกับหลักสู ตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน
พุทธศักราช 2551
ผลงานวิจัย
ขาดองค์ ความรู้ เกีย่ วกับสาระ กลุ่มสาระ
การเรียนรู้ สุขศึกษาและพลศึกษา
กิจกรรมทางกาย (physical activity)
สมรรถภาพทางกายในเชิ งสุ ขภาพและ
ทางกีฬา (health-related and skillrelated physical fitness)
ผลงานวิจัย
ขาดความลึกซึ้งทางวิชาการ
การใช้ ระเบียบวิธีวจ
ิ ยั ไม่ ถูกต้ อง
เหมาะสม
ขาดความสมบูรณ์ ในเนือ
้ หา
ผลงานวิจัย
การเขียนวัตถุประสงค์ ของการวิจยั
ขาดความชัดเจน
การหาคุณภาพของเครื่องมือ ควรระบุ
ให้ ชัดเจน และครบถ้ วนของเครื่องมือที่
ใช้ ในการวิจัย เครื่องมือมี 3 ส่ วนแต่ ระบุ
การหาคุณภาพไม่ ครบถ้ วน
ผลงานวิจัย
เช่ น หาคุณภาพของนวัตกรรม หา
คุณภาพของแบบวัดผลสั มฤทธิ์จากการ
ใช้ นวัตกรรม แต่ ไม่ ชัดเจน
มีแบบวัดความพึงพอใจ แต่ ระบุ
รายละเอียดของเครื่องมือ
ผลงานวิจัย
หรือพัฒนาแบบฝึ กทักษะกีฬาชนิดต่ าง ๆ
แต่ เครื่องมือที่ใช้ วดั ผลสั มฤทธิ์เป็ นการ
ออกข้ อสอบ 4 ตัวเลือกแทนที่จะเป็ นแบบ
วัดทักษะ หรือประเมินทักษะทีไ่ ด้ กาหนด
แบบฝึ ก
ผลงานวิจัย
การเลือกใช้ สถิติในการวิเคราะห์ ข้อมูลยัง
ขาดความรู้ ความเข้ าใจ โดยทัว่ ไปจะมีการ
ทดสอบก่ อน (pre-test) และทดสอบเมื่อ
สิ้นสุ ดการใช้ นวัตกรรม/แบบฝึ ก โดยส่ วน
ใหญ่ เลือกใช้ t-test
การนาเสอตารางขาดความเป็ นสากล
ผลงานวิจัย
ขาดองค์ ความรู้ ในการเลือกใช้ สถิตใิ นการ
วิเคระห์ ข้อมูล
ขาดความเข้ าใจเกีย่ วกับระดับความมี
นัยสาคัญ (level of significant)
การสรุ ปผลการวิจยั ไม่ ตอบคาถามหรือ
วัตถุประสงค์ ของการวิจยั
ผลงานวิจัย
นาไปใช้ ประโยชน์ ไม่ ได้ หรือได้ น้อย
มีผ้ ูเสนอขอส่ วนหนึ่งทีถ่ งึ แม้ ว่าจะเสนอ
ผลงานวิจยั ทีม่ คี ุณภาพผ่ านเกณฑ์ การ
พิจารณา แต่ หากการมีส่วนร่ วมใน
ผลงานวิจัยชิ้นนั้นมีไม่ ถงึ ร้ อยละ 50 ก็ถอื ว่ า
ปริมาณของผลงานไม่ อยู่ในเกณฑ์ ทกี่ าหนด
ผลงานวิจัย
ขาดความเข้ าใจในการอภิปราย
ผลการวิจัย ขาดการศึกษาด้ านหลักการ
และการวิจัยทีเ่ กียวข้ อง (ในส่ วนของ
งานวิจัยทีเ่ กีย่ วข้ อง)
ผลงานวิจัย
การจัดทาบรรณานุกรม/เอกสารอ้ างอิง
ไม่ เป็ นระบบเดียวกัน ขาดความรู้ ความ
เข้ าใจ
ขาดความรู้ ความเข้ าใจในการเขียนการ
อ้ างอิงและบรรณานุกรมภาษาอังกฤษ
ผลงานวิจัย
การพัฒนานวัตกรรมในทุกรู ปแบบ
หัวข้ อวิจัยทีน่ าเสนอ การรายงานการ
พัฒนา......................... ซึ่งจะเป็ นการ
รายงานผลการวิจัยนั่นเอง
การจัดทานวัตกรรม
เหมาะสมกับระดับของผู้เรียน ประถม
มัธยม อาชีวศึกษา หรืออุดมศึกษา
คุณภาพของสื่ อ ไม่ ว่าจะเป็ นขนาดของ
รู ปภาพ สั ดส่ วนของภาพ ความชัดเจน
ของภาพ เป็ นต้ น
การจัดทานวัตกรรม
ขาดความเชื่อมโยงทางทฤษฎีระหว่ าง
นวัตกรรมแต่ ละชนิดกับการเรียนรู้ ของ
ผู้เรียน
นวัตกรรมบางชนิดส่ งผลต่ อการเรียนรู้
น้ อย
เอกสารประกอบ
การพัฒนาเอกสารประกอบ พิจารณาใน
รู ปแบบของตารา ไม่ ใช่ เอกสาร
ประกอบการสอน (ผศ.) หรือเอกสารคา
สอน (รศ.)
ปัญหาและอปุ สรรคในการเข้ าสู่ ตาแหน่ ง
การผู้เสนอขอไม่ ได้ รับการพิจารณาส่ วน
ใหญ่ เกิดจาก การเสนอผลงานทาง
วิชาการที่เป็ นตารา/หนังสื อ และ/หรือที่
เป็ นผลงานวิจยั ไม่ ผ่านเกณฑ์ คุณภาพ
ตามที่ ก.ม. กาหนด
รศ.ดร.กรรวี บุญชัย
ปัญหาและอปุ สรรคในการเข้ าสู่ ตาแหน่ ง
 กล่ าวคือ เสนอหนังสื อ/ตารา
ทีม
่ เี นือ้ หาไม่ สมบูรณ์
ขาดความลึกซึ้ง
ไม่ ทน
ั สมัย
ไม่ มีการสอดแทรกความคิดริเริ่ม
รศ.ดร.กรรวี บุญชัย
ปัญหาและอปุ สรรคในการเข้ าสู่ ตาแหน่ ง
 กล่ าวคือ เสนอหนังสื อ/ตารา
 หรือประสบการณ์ ทเี่ กิดจากการ
ค้ นคว้ าวิจยั ของผู้เสนอขอลงในเนือ้ หา
หรื อมีการสอดแทรกอยู่น้อยเกินไป
ไม่ มีการวิเคราะห์ /สั งเคราะห์
รศ.ดร.กรรวี บุญชัย
ปัญหาและอปุ สรรคในการเข้ าสู่ ตาแหน่ ง
 กล่ าวคือ เสนอหนังสื อ/ตารา
 การเขียนอธิบายไม่ ชัดเจน
เนือ
้ เรื่องไม่ มีความสั มพันธ์ กนั
เขียนเอกสารอ้ างอิงไม่ ถูกต้ อง
การไม่ เขียนอ้ างอิงทีม
่ า
รศ.ดร.กรรวี บุญชัย
ข้ อเสนอแนะ
หากเป็ นตารา/หนังสื อ
จะต้ องมีความทันสมัย
มีเนือ
้ หาสมบูรณ์
มีการวิเคราะห์ /สั งเคราะห์ อย่ างลึกซึ้งทาง
วิชาการ
รศ.ดร.กรรวี บุญชัย
ข้ อเสนอแนะ
มีการสอดแทรกความรู้ ใหม่ ๆทีเ่ กิดจากการ
ค้ นคว้ าวิจยั ของผู้เสนอลงในเนือ้ หามาก
พอประมาณ
การเขียนจะต้ องมีความชัดเจนและเนือ้ เรื่องมี
ความสั มพันธ์ กนั
ระบบการเขียนเอกสารอ้ างอิงต้ องเป็ นไปอย่ าง
ถูกต้ องตามหลักวิชาการ
รศ.ดร.กรรวี บุญชัย
ข้ อเสนอแนะ
หากเป็ นผลงานวิจัย
จะต้ องทาด้ วยระเบียบวิธีวจ
ิ ยั ทีถ่ ูกต้ อง
เหมาะสม
 มีความลึกซึ้ง
ผลจากการศึกษาจะต้ องแสดงให้ เห็นถึงความรู้
ใหม่ ๆที่สามารถนาไปใช้ ประโยชน์ ได้
บุญชัย
มีส่วนร่ วมมากกว่ า ร้รศ.ดร.กรรวี
อยละ
50
30
ลักษณะการมีส่วนร่ วมในผลงานวิชาการ
ต้ องเป็ นงานทีผ่ ้ ูขอเป็ นเจ้ าของและ
ดาเนินการเอง
ต้ องเป็ นผู้ดาเนินการหลัก มีส่วนร่ วมใน
ผลงานวิชาการไม่ น้อยกว่ าร้ อยละ 50 (ศ.)
ทุกคนทีม่ สี ่ วนร่ วมต้ องลงนามรับรองว่ าแต่
ละคนมีส่วนร่ วมร้ อยละเท่ าใด
รศ.ดร.กรรวี บุญชัย
ลักษณะการมีส่วนร่ วมในผลงานวิชาการ(ต่ อ)
 เมื่อลงนามรับรองการมีส่วนร่ วมแล้ วจะ
เปลีย่ นแปลงไม่ ได้
มิให้ นาผลงานวิจัยทีเ่ ป็ นส่ วนหนึ่งของ
การศึกษาเพือ่ รับปริญญาประกาศนียบัตร
มาเสนอขอ เว้ นแต่ มีทาการศึกษาขยายผล
ต่ อจากเรื่องเดิมอ่ างต่ อเนื่อง
รศ.ดร.กรรวี บุญชัย
“ผลงานทางวิชาการ” ทีน่ าเสนอ
1. เอกสารประกอบการสอน
2. แผนการจัดการเรียนรู้
3. ตารา
4. งานวิจัย
5. ผลงานทางวิชาการในลักษณะอืน่
คณ
ุ ภาพของผลงานทางวิชาการ
ความสมบูรณ์ ของเนือ้ หาสาระ
 ความถูกต้ องตามหลักวิชาการ
 ความคิดริเริ่มสร้ างสรรค์
 การพิมพ์ และการจัดทารู ปเล่ ม
ประโยชน์ ของผลงานทางวิชาการ
ประโยชน์ ต่อความก้ าวหน้ าทางวิชาการหรือ
วิชาชีพ
ประโยชน์ ต่อผู้เรียน ครู บุคลากรทางการศึกษา
การจัดการศึกษาหน่ วยงานการศึกษา และชุมชน
การเผยแพร่ ในวงวิชาการ
จดุ อ่ อน: ความสมบูรณ์ ของเนื้อหาสาระ
Body of Knowledge ไม่ ทันสมัย เมื่อ
วิเคราะห์ ตาม พ.ร.บ. การศึกษาแห่ งชาติ ยัง
ไม่ ทราบเลยว่ ามี พ.ร.บ. การศึกษาแห่ งชาติ
กีฉ่ บับ
เช่ นเดียวกันกับหลักสู ตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพืน้ ฐาน เขียนไม่ ถูกต้ อง
ปัจจุบันคือหลักสู ตรอะไร (ป.๑ – ม.๖)
วิเคราะห์ สาระ มาตรฐาน ตัวชี้วดั ของ
หลักสู ตรในกลุ่มสาระการเรียนรู้ สุขศึกษา
และพลศึกษาไม่ ครบถ้ วน เช่ น ระบุว่า
สาระพลศึกษามีสาระที่ ๓ เพียงสาระเดียว
ขาดความเข้ าใจเกีย่ วกับสาระของ
พลศึกษา เช่ น สมรรถภาพทางกายเพือ่
สุ ขภาพ สมรรถภาพทางกลไก เป็ นต้ น
ขาดความเข้ าใจเกีย่ วกับความหมายของ
องค์ ความรู้ เช่ น muscular strength
and endurance
ไม่ สามารถนาองค์ ความรู้ ไปใช้ ให้ ถูกต้ อง
เหมาะสมกับเนือ้ หา สาระในปัจจุบัน เช่ น
องค์ ประกอบของสมรรถภาพทางกายเพือ่
สุ ขภาพ สมรรถภาพทางกลไก เป็ นต้ น ทา
ให้ ขาดความชัดเจนในการประเมิน
องค์ ประกอบแต่ ละด้ าน
ขาดการวิเคราะห์ ในการพิจารณาองค์ ความรู้ ที่
เกีย่ วกับกิจกรรม/กีฬาที่สนใจ เช่ น กีฬาฮอกกี้
ขาดการพิจารณาองค์ ประกอบของสมรรถภาพ
ทางกลไก/สมรรถภาพทางกายสาหรับนักกีฬา
ฮอกกี้ เป็ นต้ น
ขาดความชัดเจนในองค์ ความรู้ เกีย่ วกับการ
สร้ างเสริมองค์ ประกอบของสมรรถภาพทาง
กายในแต่ ละด้ าน
องค์ ความรู้ ทน
ี่ ามาไม่ ทนั สมัย ไม่ ตาม
ติด เนื่องจากเอกสาร ตารา หนังสื อ
สาขาวิชา พลศึกษา และ/หรือสาขาวิชา
ทีเ่ กีย่ วข้ องไม่ ทนั สมัย ส่ วนใหญ่ เป็ น
ตาราภาษาต่ างประเทศ
ขาดการศึกษาค้ นคว้ าทาง Internet แต่
คว้ าเป็ นส่ วนใหญ่
ความถูกต้ องตามหลักวิชาการ
ในหัวข้ อนีจ้ ะสอดคล้ องกับส่ วนแรก คือ
ความสมบูรณ์ ของเนือ้ หาสาระ
ในประเด็นของแผนการจัดการเรียนรู้
ไม่ สอดคล้ องกับการปฏิรูปการศึกษา
และการปฏิรูปการเรียนรู้
ความถูกต้ องตามหลักวิชาการ
การเขียนจุดประสงค์ การเรี ยนรู้
การจัดกิจกรรมโดยใช้ สื่อต่ าง ๆไม่
เป็ นไปตามสภาพจริง
ขาดความชัดเจนในการประเมินผล
ขาดเครื่องมือในการประเมินผล
ความถูกต้ องตามหลักวิชาการ
เมื่อมีการประเมินพฤติกรรมการ
ทางานกลุ่ม ไม่ ระบุว่าใครเป็ นผู้ประเมิน
เพราะใบประเมินขาดความชัดเจน
ขาดความรู้ ความเข้ าใจเกีย
่ วกับ rubric
assessment
ความถูกต้ องตามหลักวิชาการ
การสร้ าง/พัฒนานวตกรรม
ขาดความชัดเจนในขั้นตอนดาเนินการ
การหาคุณภาพของนวัตกรรม
ไม่ เข้ าใจเกีย
่ วกับการหาความเทีย่ งตรง
ความเชื่อถือได้ หรือคุณภาพด้ านอืน่ ๆ
ความถูกต้ องตามหลักวิชาการ
การอ้ างอิงจากแหล่ งต่ าง ๆขาดการ
วิเคราะห์ สั งเคราะห์
ขาดการอ้ างอิง
อ้ างอิงไม่ ถูกต้ อง
คัดลอก
ความถูกต้ องตามหลักวิชาการ
ไม่ เป็ นไปตามหลักทฤษฎี ในแต่ องค์
ความรู้
การเผยแพร่
ควรมีการเผยแพร่ ใน web site ของ
สถาบัน/โรงเรียน
เชื่อมั่น และมั่นใจว่ า เราชาวสุ ข
ศึกษา พลศึกษาและนันทนาการ
สามารถพัฒนาผลงานให้ มคี ุณภาพ
ได้ อย่ างแน่ นอน
ขอให้ สมาชิกทุกคนโชคดี