1. EDU RESEARCH (for School)

Download Report

Transcript 1. EDU RESEARCH (for School)

การวิจยั เพือ่ พัฒนาการเรียนร้ ู
คณะศึกษาศาสตร์ และพัฒนศาสตร์
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน
โดย
ดร. ทัศตริน วรรณเกตุศิริ
หลักการเลือกประเด็นปัญหาสาหรับการวิจยั
1.
2.
3.
4.
เป็นปัญหาที่เกิดขึ้นจริง และผูว้ ิจยั มีความสนใจ
ต้องการแก้ไขหรือหาคาตอบอย่างแท้จริง
ผูว้ ิจยั ต้องมีความรู้ และ/หรือมีความถนัดในเรือ่ งที่จะวิจยั
สามารถสร้างเครือ่ งมือวิจยั เพื่อรวบรวมข้อมูล
ต้องการกระบวนการวิจยั เพื่อให้ได้คาตอบ
ไม่ใช่ปัญหาที่สามารถแก้ได้โดยการจัดการ
มีความชัดเจน ไม่คล ุมเครือ ไม่กว้างจนเกินไป
หลากหลายชื่อแต่ความหมายเดียวกัน
การวิจยั ในชัน้ เรียน (Classroom Research)
 การวิจย
ั เชิงปฏิบตั ิการ (Action Research)
 การวิจย
ั เพื่อพัฒนาการเรียนร ้ ู (Research for Learning Development)
 การวิจย
ั ของคร ู หรือ การวิจยั โดยคร ู (Teacher-Based research)
 การแสวงหาความรเ้ ู ชิงสะท้อนผลด้วยตนเอง (Self-Reflection)
 การวิจย
ั เชิงปฏิบตั ิการในชัน้ เรียน (Classroom Action Research

ความยากของการวิจัยในชั้นเรียน
 ขาดความเข้ าใจด้ านกระบวนการวิจัย และสถิติที่ใช้ ในการวิจัย
 ขาดงบประมาณสนับสนุน
 ไม่ นาผลงานวิจัยไปใช้ จริง
 การขาดทักษะในการเขียนรายงานวิจัย
 www.onec.go.th
www.thaiedresea
rch.org
ความสัมพันธ์ระหว่าง
กระบวนการเรียนการสอน
กระบวนการวิจยั
การวางแผนการสอน
การวางแผนการวิจยั : P
จัดกิจกรรมการเรียนการสอน
พบปัญหา
การเรียนรู้
ปฏิบตั ิตามแผน : A
ประเมินผลการเรียนรู้
เก็บข้อมูล : O
วิเคราะห์ผลการประเมิน
สะท้อนความคิด ความรูส้ ึก
และข้อค้นพบ : R
นาผลการวิจยั ไปใช้ปรับปร ุงและพัฒนา
เขียนรายงานการวิจยั
ตัวอย่างหัวข้อการวิจยั ในชัน้ เรียน

การวิจยั เพื่อให้บรรล ุจุประสงค์ของหลักสูตร
• ความร ้ ู
• กระบวนการคิด
• ความคิดเห็น
cognitive
affective
• การแก้ปัญหา
• ความรส้ ู ึก
• เจตคติ
performance
• ค่านิยม
• ทักษะทางร่างกาย
• ทักษะการปฏิบตั ิ
• ทักษะการทางานเดี่ยว/กลมุ่
ตัวแปรของการวิจยั ในชัน้ เรียน

ตัวแปรต้น คือ นวัตกรรม หรือสิ่งที่คร ูสร้างขึ้น เพื่อใช้ในการ
พัฒนาผูเ้ รียนหรือแก้ปัญหาในชัน้ เรียน เช่น วิธีการสอน ช ุด
กิจกรรม สื่อประกอบการสอน แผนการจัดการเรียนร ้ ู ฯลฯ
 ตัวแปรตาม คือ สิ่งที่ตอ
้ งการศึกษาที่เป็นผลมาจาการใช้
นวัตกรรม เช่น คะแนน ทักษะ ความพึงพอใจ กระบวนการคิด
ฯลฯ
การตั้งชื่อเรื่อง :
ปัญหา
ชื่อเรื่องไม่ สมบูรณ์
- ไม่ระบุนวัตกรรมที่จะใช้ในการวิจั
(ขาดตัวแปรต้ น)
- ไม่ระบุกลุ่มที่ตอ้ งการพัฒนา เช่น
ผูเ้ รี น บุคคล องค์กร
แนวทางแก้ ไข
ตรวจสอบชื่อตัวแปรต้ น/นวัตกรรม ให้
ครบถ้ วน
การสร้าง/พัฒนา/ใช้ (ตัวแปรต้น-ตัวแปรตาม)
ของ/สาหรับนักเรี นชั้น ...
การพัฒนาทักษะการคานวณปริมาตรรู ปทรง การพัฒนาแบบฝึ กทักษะการคานวณปริมาตร
สามิติของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3
รู ปทรงสามิตขิ องนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3
การเขียนชื่อเรื่อง :
ปัญหา
แนวทางแก้ ไข
การใช้ ตัวแปรตามขึน้ ก่อน แล้วใช้ คา
ใช้ ตัวแปรต้ นขึน้ ก่อน และตัดคาฟุ่ มเฟื อย
ฟุ่ มเฟื อย เช่ น “โดยใช้ ” “ด้ วยวิธี” “ผลของ
การศึกษา”
การพัฒนาทักษะการคานวณปริ มาตรรู ปทรง
สามมิติของนักเรี นชั้นมัธ มศึกษาปี ที่ 3 โดย
ใช้ บทเรี นสาเร็ จรู ป
การพัฒนาสื่ อประสมเพื่อพัฒนาความสนใจ
ในการเรี นวิท าศาสตร์ของนักเรี นชั้น
มัธ มศึกษาปี ที่ 3
การพัฒนาบทเรี นสาเร็ จรู ปเรื่ องทักษะ
การคานวณปริ มาตรรู ปทรงสามมิติของ
นักเรี นชั้นมัธ มศึกษา
การพัฒนาสื่ อประสมเพื่อเสริมสร้ าง
ความสนใจในการเรี นวิท าศาสตร์ของ
นักเรี นชั้นมัธ มศึกษาปี ที่ 3
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและเจตคติต่อการเรียนวิชา
คณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 เรือ่ ง “ระบบสมการ”
ระหว่างกลุ่มทีเ่ รียนโดยใช้วิธีสอนตามขั้นตอนการสอนของกาเย่กบั
การสอนแบบปกติ
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรือ่ ง “ระบบสมการ” และ
เจตคติต่อการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3
ระหว่างกลุ่มทีเ่ รียนโดยใช้วิธีสอนตามขั้นตอนการสอนของกาเย่กบั การ
สอนแบบปกติ
เพือ่ เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและเจตคติในวิชาคณิตศาสตร์
เรือ่ ง พื้ นทีผ่ ิวและปริมาตร ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 โดยใช้
การเรียนการสอนแบบลงมือปฏิบตั ิและการจัดการเรียนรูแ้ บบปกติ
โรงเรียนกาแพงแสนวิทยา
เพือ่ การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรือ่ งพื้ นทีผ่ ิวและปริมาตร
และเจตคติในต่อวิชาคณิตศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3
ระหว่างโดยใช้การเรียนรูก้ ารสอนแบบลงมือปฏิบตั ิและการจัดการ
เรียนรูแ้ บบปกติ โรงเรียนกาแพงแสนวิทยา
การศึกษาผลของการจัดกิจกรรมโดยใช้วิธีสอนของโพลยาที่มีต่อ
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ เรื่อง ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2
การศึกษาผลของการจัดใช้กิจกรรมการเรียนรูเ้ รื่อง ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
โดยใช้วิธีสอนตามแนวคิดของโพลยา ที่มีต่อเพือ่ พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการ
เรียนคณิตศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2
ส่วนประกอบของรายงานการวิจยั
บทที่ 1 บทนา
บทที่ 1:การเขียนความเป็ นมาและความสาคัญของปัญหา
ปัญหา
- เนื้อหาน้อย/มากเกินไป
- เนื้อหาไม่ลู่เข้าสู่ สิ่งที่จะทาวิจย
- เขียนย่อหน้าสุ ดท้ายซึ่งสรุ ปเป้ าหมาย
หรื อประเด็นการวิจยรวมกบประเด็น
อื่น ๆ
- ใช้สรรพนาม ว่า “ผูศ้ ึกษา” “ผูร้ ายงาน”
“ผูท้ ดลอง”
แนวทางแก้ ไข
- ความยาวเนื้อหาประมาณ 3 หน้ากระดาษ
- ใส่ รายละเอียด ห้องเรี ยน/นกเรี ยน/โรงเรี ยน
เพื่อบ่งชี้ปญหาและระบุแหล่งอ้างอิง
- แยกหวข้อที่เป็ นประเด็นสาคญของการวิจย
ออกมาเป็ นย่อหน้าให้ชดเจน ความยาว
ประมาณ 8 บรรทด
- ใช้สรรพนาม ว่า “ผูว้ ิจย” เท่าน้ น
บทนา
การตัง้ วัตถ ุประสงค์ของการวิจยั

1.
2.
การกาหนดสิ่งที่จะทาในการวิจยั ในชัน้ เรียน มี 2 สิ่งที่สาคัญ คือ
การพัฒนา/สร้างนวัตกรรม (เพื่อพัฒนา/สร้างอะไร สาหรับใคร
เพื่อใช้สอนเรือ่ งอะไร)
การตรวจสอบผลการใช้นวัตกรรม เช่น เปรียบเทียบผล (คะแนน/
ทักษะ/ความสามารถ) ก่อนและหลังการใช้นวัตกรรม และ/หรือ
การศึกษาความพึงพอใจ ความคิดเห็นต่อการเรียน
บทที่ 1:การเขียนวัตถุประสงค์งานวิจัย
ปัญหา
แนวทางแก้ ไข
- การเขียนวตถุประสงค์งานวิจยเกินจริ ง - เขียนเฉพาะผลผลิตของงานวิจย อย่าเขียนเกินไป
ในส่ วนของผลลพธ์หรื อผลกระทบ
- ไม่เขียนแยกเป็ นข้อ ๆ ให้ชดเจน
- เขียนเป็ นข้อเรี ยงตามลาดบความสาคญ
- จุดประสงค์ที่เขียนไม่สอดคล้องกบชื่อ - ยึดวตถุประสงค์ในการสร้าง/พฒนานวตกรรม
งานวิจย
เป็ นวตถุประสงค์หลกของงานวิจย
- มีจานวนจุดประสงค์หลายข้อ
- ไม่จาเป็ นต้องมีหลายข้อย่อย
ใช้ภาษาซ้ าซ้อน เข้าใจยาก
ใช้ภาษาเข้าใจง่ายชดเจน
บทที่ 1:การเขียนวัตถุประสงค์งานวิจัย
ปัญหา
- ระบุวา่ พฒนาตวแปรตาม เช่น
“เพือ่ พัฒนาทักษะการคานวณปริมาตรรู ปทรง
สามมิตขิ องนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3”
แนวทางแก้ ไข
-ต้องระบุเป็ นตวแปรต้น เช่น แบบฝึ ก คู่มือครู
“เพือ่ พัฒนาแบบฝึ กทักษะการคานวณปริมาตรรู ปทรงสามมิตขิ อง
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3”
- ไม่มีวตถุประสงค์เกี่ยวกบ “นวตกรรมที่
ใช้”
- ต้องเขียนระบุเป็ นวตถุประสงค์ของการวิจย เช่น
- ไม่มีวตถุประสงค์ที่จะตรวจสอบ/ศึกษา
ผลจากการใช้ ตวแปรต้น/นวตกรรมที่
พฒนาขึ้น
- เพิ่มวตถุประสงค์ยดึ วตถุประสงค์ในการสร้าง/พฒนานวตกรรมเป็ น
วตถุประสงค์หลกของงานวิจย เช่น
1) เพือ่ พัฒนา... (ตัวแปรต้ น/ชื่อนวัตกรรมที่ใช้ )
2) เพือ่ ตรวจสอบ ..... (ตัวแปรต้ น/ชื่อนวัตกรรมที่ใช้ )
2.1) หาประสิ ทธิภาพของ... (ตัวแปรต้ น/ชื่อนวัตกรรมที่ใช้ )
2.2) เพือ่ เปรียบเทียบผลสั มฤทธิ์ของ... (ตัวแปรต้ น/ชื่อนวัตกรรมที่ใช้ )
2.3) เพือ่ ศึกษาความพึงพอใจของ...ที่มีต่อ... (ตัวแปรต้ น/ชื่อนวัตกรรมที่ใช้ )
บทที่ 1:การเขียนประโยชน์ ที่คาดว่าจะได้รับ
1)
2)
3)
ทาให้นกั เรี นสามารถ/มี ...........(ตัวแปรตาม)......... และนาไปใช้
ประโ ชน์ต่อไปได้
ครู สามารถนา .........(ตัวแปรต้น)...... ไปใช้เพื่อให้เกิด .......(ตัวแปร
ตาม)..... ได้
เป็ นแนวทางในการพัฒนา ...........(ตัวแปรตาม)........ ของผูเ้ รี นใน
พื้นที่หรื อระดับอื่นๆ ได้
บทที่ 1:การเขียนขอบเขตการวิจัย
ปัญหา
แนวทางแก้ ไข
- ไม่ระบุจานวนประชากรและกลุ่ม - ต้องระบุจานวนประชากรและกลุ่มตวอย่าง เว้น
ตวอย่างให้ชดเจน
กรณี ที่วิจยโดยใช้ประชากรท้ งหมด ให้ระบุวา่
“กลุ่มตวอย่าง ศึกษาประชากร”
- ไม่บอกวิธีการได้มาซึ่งกลุ่ม
- ต้องเขียนระบุวา่ ได้มาโดยการ “เลือก” หรื อ “สุ่ ม”
ตวอย่าง
ด้วยวิธีการใด
- ระบุการวิธีการได้มาซึ่งกลุ่ม
- ตรวจสอบวิธีการสุ่ มตวอย่างและระเบียบวิธีวจิ ยที่ใช้
ตวอย่าง ไม่สอดคล้องกบรู ปแบบ
ในงานวิจยน้ น ๆ เช่น
งานวิจยแบบกึ่งทดลอง เป็ นการเลือกกลุ่มตวอย่างแบบเจาะจง
การวิจยที่นาเสนอ
งานวิจยแบบทดลอง เป็ นการเลือกกลุ่มตวอย่างแบบสุ่ มอย่างง่าย
บทที่ 1:การเขียนตัวแปร
ปัญหา
-
ระบุตวแปรต้นหรื อตวแปรตามผิด เช่น
“ตัวแปรต้ น คือ นักเรียน หรือ เครื่องมือวิจยั ”
“ตัวแปรตาม คือ นักเรียน หรือ แบบทดสอบ”
แนวทางแก้ ไข
- ต้องระบุให้ถูกต้อง โดย
ตวแปรต้น คือ นวตกรรมที่ใช้
ตวแปรตาม คือ พฤติกรรมหรื อสิ่ งที่ตอ้ งการให้เกิดขึ้น เช่น
ผลสมฤทธิ์ ทกษะ เจตคติ ความสนใจ
“ตัวแปรต้ น คือ แบบฝึ ก” “ตัวแปรตาม คือ ทักษะการคานวณ”
- บางคร้ งมีคาว่า สู งขึ้น หรื อ น้อยลง หลงตวแปรตาม - หลงตวแปรไม่มีคาว่า สู งขึ้น หรื อ น้อยลง
“ทักษะการคานวณเรื่องปริมาตรรูปทรงสามมิตสิ ู งขึน้ ”
- ตวแปรไม่ครบ ตามจุดประสงค์ที่ต้ งไว้
“ตัวแปรตาม คือ ผลสัมฤทธิ์เรื่องปริมาตรรูปทรงสามมิต”ิ
“ทักษะการคานวณเรื่องปริมาตรรูปทรงสามมิต”ิ
- ตรวจสอบตวแปรที่ระบุให้เป็ นไปตาม
จุดประสงค์การวิจยที่ต้ งไว้
“ตัวแปรตาม คือ ผลสัมฤทธิ์เรื่องปริมาตรรูปทรงสามมิติ และความ
พึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อแบบฝึ ก”
บทที่ 1:การเขียนนิยามศัพท์เฉพาะ
ปัญหา
แนวทางแก้ ไข
- เขียนนิยามของตวแปรต้นและตว
แปรตามไม่ครบ
- ควรตรวจสอบคาหรื อข้อความที่ตอ้ งกาหนดนิยามศพท์
ให้ครบถ้วนตามวตถุประสงค์ของการวิจย
-เขียนเหมือนนิยามศพท์ทว่ ไป ไม่มี
ความเฉพาะเจาะจง เช่น
-เขียนให้มีความจาเพาะ เพื่องานวิจยในคร้ งนี้เท่าน้ น โดยต้อง
ระบุดว้ ยว่า ตวแปรตามน้ นจะวดได้อย่างไร โดยใช้เครื่ องมือ
วิจยแบบใด ของใคร
“ทักษะการคานวณปริมาตรรู ปทรงสามมิติ “ทักษะการคานวณปริมาตรรู ปทรงสามมิติ หมายถึง
หมายถึง ความสามารถในการหาค่ า
ความสามารถในการหาค่าปริมาตรของรู ปทรงสามมิติ วงกลม
ปริมาตรของรู ปทรงสามมิต”ิ
พีระมิด ปริซึม ลูกบาศก์ จากภาพหรือวัตถุรูปทรงต่ าง ๆ ที่
กาหนดให้ ได้ อย่ างรวดเร็วและถูกต้ อง วัดได้ จากแบบวัดทักษะการ
คานวณปริมาตรรู ปทรงสามมิติ จานวน 15 ข้ อ ที่ผู้วจิ ัยสร้ างขึน้ ”
การเขียน
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกีย่ วข้ อง
บทที่ 2:การกาหนดหัวข้อ
ปัญหา
แนวทางแก้ ไข
- มีหวข้อหลกไม่ครบตามกาหนด ขาดหวข้อสาคญ
- บางหวข้อมีเนื้อหามาก แต่บางหวข้อมีเนื้อหามาก
เกินไป
- บางหวข้อมีหวข้อรอง แต่บางหวข้อไม่มีหวข้อ
รอง
- ต้งชื่อหวข้อรองและหวข้อหลกซ้ ากน
- หวข้อหลกที่ตอ้ งมี คือ ตวแปรต้น ตวแปรตาม และ งานวิจยที่
เกี่ยวข้อง
- งานวิจยที่เน้นการพฒนานวตกรรม จะต้องมีหวข้อ “การสร้าง
และการพฒนานวตกรรม” เช่น
1. การคานวณทางคณิตศาสตร์
1.1 ความหมาย
1.2 ความสาคัญ
2. ชุดการเรียนรู้
2.1 ความหมาย
2.2 องค์ประกอบ
2.3 ขั้นตอนการสร้ างชุดการเรียนรู้
3. งานวิจยั ที่เกีย่ วข้ อง
3.1 งานวิจยั ในประเทศ
3.2 งานวิจยั ต่ างประเทศ
การเขียน
บทที่ 3 วิธีการดาเนินการวิจัย
รูปแบบของการวิจยั (Research Design)
 ในการวิจย
ั ในชัน้ เรียน แบ่งได้ 3
กลุม่
กลุม
่ ที่ 1 การวิจยั ก่อนมีแบบการวิจยั เชิงทดลอง
(pre-experimental design)
กลุม
่ ที่ 2 การวิจยั เชิงกึ่งทดลอง
(quasi-experimental design)
กลุม
่ ที่ 3 การวิจยั เชิงทดลอง
(experimental design)
Pre-experimental design
เป็ นวิจยั เชิงทดลองอย่างอ่อน (leaky design)
 วิจย
ั ตัวแปรต่างๆ ที่มอี ยู่แล้ว ไม่มกี ารทดลองจริง
 ไม่มก
ี ลุม่ ควบคุม (control group) มีเฉพาะกลุม่ ทดลอง

(experimental group)

ควบคุมอิทธิพลของตัวแปรเกินได้นอ้ ยกว่าแบบอื่นๆ
One Shot Case Study
X



T2
เลือกกลุม่ ตัวอย่าง 1 กลุม่ หรือ 1 กรณี มีการทดลอง และทาการสังเกตหรือ
วัดผลเพื่อดูว่าตรงกับสมมติฐานที่ตงั้ ไว้หรือไม่
ง่าย สะดวก เหมาะสาหรับ action research เพื่อแก้ปัญหาเฉพาะกลุม่
ไม่มกี ารสุม่ ตัวอย่าง ไม่สามารถอ้างอิงผลไปสูก่ ลุม่ อื่นได้ ไม่มกี ารควบคุมตัว
แปร ผลที่ได้อาจไม่ได้มาจากตัวแปรต้นที่ตอ้ งการศึกษา
One-Group Pretest Posttest Design
T1



X
T2
เลือกกลุม่ ตัวอย่าง 1 กลุม่ วัดตัวแปรตามก่อนและหลังการให้ตวั แปรต้น นาผล
การวัดก่อนและหลังมาเปรียบเทียบกัน ดูว่าเพิ่มมากขึน้ หรือลดน้อยลง
สามารถทราบได้ว่าตัวแปรต้นให้ผลอย่างไร
การสอบก่อนทดลองอาจมีอิทธิพลต่อการสอบหลังการทดลอง แต่ไม่สามารถ
มัน่ ใจได้ว่าผลการสอบที่แตกต่างกัน มาจากตัวแปรต้นเพียงอย่างเดียวหรือไม่
อาจมาจากการมีวฒ
ุ ิภาวะมากขึน้ /โตขึน้
Quasi-Experimental Design

มีการทดลองแต่ไม่สมบูรณ์
 ไม่มก
ี ารสุม่ ตัวอย่างเข้ากลุม่ ทดลองและกลุม่ ควบคุม เพราะกลุ่มตัวอย่างเป็ น
นักเรียนที่ถกู จัดให้เรียนในห้องเรียนปกติ
 ไม่สามารถควบคุมตัวแปรเกินได้
Nonrandomized control group
pretest posttest design
E
C

T1
T1
X
~X
T2
T2
เลือกกลุม่ ตัวอย่าง 2 กลุม่ เป็ นกลุม่ ทดลองและกลุม่ ควบคุม วัดตัวแปรตาม
ก่อนทดลองเพื่อดูว่าสองกลุม่ ไม่มคี วามแตกต่างกันก่อนให้ตวั แปรต้น
 มีกลุม
่ ควบคุมใช้เปรียบเทียบผลของการให้ตวั แปรต้น
 ถ้าสองกลุม
่ มีความแตกต่างกัน ผลการทดลองที่ได้จะได้รบั การ
กระทบกระเทือน
บทที่ 3:การเขียนขั้นตอนการดาเนินการวิจัย
ปัญหา
- เขียนซบซ้อน เข้าใจยาก
บางคร้ งข้ นตอนไม่ต่อเนื่อง
แนวทางแก้ ไข
- ควรเสนอข้ นตอนเป็ นภาพหรื อแผนภูมิ และเขียน
บรรยายใต้แผนภูมิ โดยเนื้อหาในแผนภูมิและการ
บรรยายสอดคล้องกน
- ตรวจสอบข้ นตอนการวิจยมีความต่อเนื่องและเป็ น
เหตุเป็ นผลตามลาดบของเวลา
บทที่ 3:การเขียนวิธีสร้ างและพัฒนานวัตกรรม
ปัญหา
แนวทางแก้ ไข
- ไม่เขียนข้ นตอนการสร้างและ - ควรเสนอข้ นตอนการสร้างและพฒนาอย่างชดเจน โดยระบุ
พฒนานวตกรรม
1) ข้ นตอนการค้นคว้า รวมรวบข้อมูล
2) ข้ นตอนในการสร้างและพฒนานวตกรรม ในรู ปแบบต่างๆ
เช่น คู่มือ วิธีการเรี ยนการสอน ชุดการเรี ยนรู ้ อุปกรณ์
สิ่ งประดิษฐ์
3) ข้ นตอนการเตรี ยมการ การตรวจสอบ ทดลองใช้
4) ข้ นตอนการสรุ ปผลการทดลองใช้และการปรบปรุ ง
บทที่ 3:การเขียนแบบวิจัย
ปัญหา
- ไม่บอกชื่อวิจยที่ใช้
- ไม่บอกเหตุผลที่เลือกใช้แบบวิจยน้ น
- ระบุแบบวิจยไม่ตรงกบการทดลอง เช่น
“ระบุว่า แบบวิจัย คือ การทดลองกลุ่มเดียว แต่
กาหนดกลุ่มตัวอย่ างเป็ นกลุ่มทดลองและกลุ่ม
ควบคุม”
“ระบุว่า ตัวอย่ างการวิจัยได้ มาจากการสุ่ มอย่ างง่ าย
แต่ กาหนเกลุ่มตัวอย่ างเป็ นนักเรียนชั้น ม 5/1” โดย
ไม่ ให้ เหตุผลประกอบ
แนวทางแก้ ไข
- ควรบอกชื่อแบบการวิจยที่ใช้ และเขียนสญลกษณ์
ที่ใช้แบบวิจยน้ น พร้อมบรรยายรายละเอียด
- บอกเหตุผลอย่างชดเจน ให้สอดคล้องกบข้อจากด
ของงานวิจยที่ระบุไว้ในบทที่ 1
- ตรวจสอบว่าระบุแบบวิจยได้ตรงกบการ
ดาเนินการวิจย ได้แก่
One – Group Pretest-Posttest Design
None equivalent Control Group Design
Pretest-Posttest Control Group Design
Posttest-Only Control Group Design
บทที่ 3:การเขียนเกีย่ วกับเครื่องมือที่ใช้ ในการวิจัย
ปัญหา
- เขียนกว้างๆ ไม่มีรายละเอียด
- นาเสนอรายละเอียดผลการทดลอง/
ตรวจสอบคุณภาพของค่าเครื่ องมือ
แนวทางแก้ ไข
- ต้องระบุรายละเอียดของเครื่ องมือวิจยแต่ละชิ้นให้
ครบ ต้ งแต่ วตถุประสงค์ของเครื่ องมือวิจย
ส่ วนประกอบและรู ปแบบ ข้ นตอนการพฒนา การ
วิธีการและผลการตรวจสอบคุณภาพของเครื่ องมือวิจย
- นารายละเอียดลการทดลอง/ตรวจสอบคุณภาพของ
ค่าเครื่ องมือ เช่น การหาค่าความยาก ง่าย อานาจจาแนก
ค่าความเชื่อมน่ และตารางข้อมูล ใส่ ในภาคผนวก
บทที่ 3:การเขียนเกีย่ วกับการรวมรวมและวิเคราะห์ ข้อมูล
ปัญหา
แนวทางแก้ ไข
- ไม่ระบุรายละเอียด ว่าเครื่ องมือแต่ละชิ้น มี
ข้ นตอนในการนาไปใช้อย่างไร ใครเป็ นผูเ้ ก็บ
ข้อมูล สถานที่ ระยะเวลา และจานวนคร้ งที่เก็บ
ข้อมูล
- นาสาระส่ วนอื่นๆ ที่ไม่ใช่เครื่ องมือเก็บรวบรวม
ข้อมูลมาเขียนในหวข้อนี้ เช่น นวตกรรม แผนการ
จดการเรี ยนรู้ ชุดการเรี ยนรู้
- ต้องระบุรายละเอียดในการเก็บข้อมูล โดยใช้
เครื่ องมือวิจยแต่ละชิ้น ให้ครบถ้วน
- นาเสนอในส่ วนของเครื่ องมือที่ใช้เก็บรวบรวม
ข้อมูล เช่น แบบทดลอง แบบสอบถาม และแบบ
สมภาษณ์ เท่าน้ น
บทที่ 3:การเขียนสถิตทิ ใี่ ช้ ในการวิเคราะห์ ข้อมูล
ปัญหา
- บอกสถิติที่ใช้ไม่ครบ
- ไม่ระบุวา่ ใช้วเิ คราะห์
อะไร
แนวทางแก้ ไข
- บอกสถิติที่ใช้ให้ครบถ้วน หากใช้โปรแกรมสาเร็ จรู ป เช่น SPSS ไม่
ต้องบอกรายละเอียดของสูตร
- ระบุให้ชดเจน โดยอาจนาเสนอ ดงนี้
1) สถิตพิ นื้ ฐาน ได้ แก่
1.1) ใช้ % หาสัดส่ วxนนักเรียนชายและหญิง
1.2) ใช้ หาค่าเฉลีย่ ของคะแนนจากแบบวัดทักษะ...
2) สถิตอิ ้างอิง ได้ แก่
2.1) t-Test แบบไม่ อสิ ระเปรียบเทียบคะแนนก่อนและหลังเรียน
2.2) t-Test แบบอิสระเปรียบเทียบคะแนนของนักเรียนชายและหญิง
3) สถิตหิ าคุณภาพของเครื่องมือ ได้ แก่
3.1) ใช้ IOC หาความสอดคล้องจากผู้เชี่ยวชาญ 3.2) ใช้ KR-20 หาความชื่อมั่นของแบบสอบถาม
4) สถิตหิ าคุณภาพของนวัตกรรม/ชุดการเรียนรู้ ได้ แก่
4.1) ใช้ E1/E2 หาประสิทธิภาพของชุดการเรียนรู้ 4.2) ใช้ E1 หาประสิทธิผลของชุดการเรียนรู้
การเขียน
บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ ข้อมูล
บทที่ 4:การเขียนผลการวิเคราะห์ ข้อมูล
ปัญหา
- นาเสนอผลการวิเคราะห์ไม่ครบ และ
ขาดข้อการพฒนานวตกรรม
แนวทางแก้ ไข
- ระบุผลให้ครบถ้วนและเรี ยงตามลาดบของวตถุประสงค์ของงานวิจย
- เสนอว่าผลการวิเคราะห์นวตกรรมที่ใช้ มีโครงสร้างหรื อประกอบด้วย
อะไรบ้าง รวมท้งผลการพิจารณานวตกรรมของผูท้ รงคุณวุฒิ หรื อ
ผูเ้ ชี่ยวชาญ โดยอาจเสนอในรู ปของตารางสรุ ป
- เสนอรายละเอียดในตารางมากเกินไป - เสนอเฉพาะส่ วนสาคญ ตดเอาส่ วนที่เป็ นคะแนนรายคนไปใส่ ในภาคผนวก
- อธิบายรายละเอียดใต้ตารางมากเกินไป - ควรนาเสนอเฉพาะประเด็นสาคญ ที่เป็ นจุดร่ วม หรื อข้อมูลที่มีความแตกต่าง
จากส่ วนอื่นๆ อย่างชดเจน
-นาสาระเกี่ยวกบเครื่ องมือที่ใช้ในการ
- ข้อมูลที่เกี่ยวกบคุณภาพของเครื่ องมือที่ใช้ในการวิจยจะต้องอยูใ่ นบทที่ 3
วิจยมานาเสนอ
-แสดงความคิดเห็นของผูว้ จิ ย
- นาเสนอเพียงผลที่ได้จากเครื่ องมือวิจยเท่าน้ น
การเขียน
บทที่ 5 สรุปผล อภิปรายผล และ
ข้ อเสนอแนะ
บทที่ 5:การเขียนผลการวิเคราะห์ ข้อมูล
ปัญหา
- นาเสนอผลการวิเคราะห์ซ้ า
- ประเด็นอภิปรายไม่สอดคล้องกบ
ผลการวิจย หรื ออภิปรายนอกเหนือ
ประเด็นหรื อผลที่ได้จากการวิจย
- ไม่นาข้อมูลที่ได้จากการตรวจสอบ
เอกสารในบทที่ 2 มาร่ วมอภิปราย
แนวทางแก้ ไข
-
ไม่ควรนาเสนอค่าสถิติใดๆ อีก
เขียนสรุ ปเป็ นข้อๆ ตามจุดประสงค์การวิจย
สรุ ปเขียนเป็ นความเรี ยง
เน้นเฉพาะผลและตวเลขที่สาคญ ๆ เช่น นยสาคญทางสถิติเท่าน้ น
อภิปรายตามประเด็นของวตถุประสงค์การวิจย
กรณี ที่ผลการวิจยเป็ นไปตามสมมติฐาน ก็เขียนว่าสอดคล้องกบ
งานวิจยของใครหรื อแนวคิดทฤษฏีอะไร
- กรณี ที่ผลการวิจยไม่เป็ นไปตามสมมติฐาน ต้องเขียนแสดงเหตุผล
สาเหตุปจจยที่ส่งผล
- นาข้อมูลที่ได้จากการตรวจสอบเอกสารในบทที่ 2 มาร่ วมอภิปราย
บทที่ 5:การเขียนข้อเสนอแนะ
ปัญหา
- เขียนกว้าง ไม่เห็นแนวปฏิบติ
แนวทางแก้ ไข
- ต้องชดเจน เป็ นรู ปธรรม มีความเป็ นไปได้ในการปฏิบติ
- ระบุกลุ่มผูท้ ี่จะนาไปใช้ให้เกิดประโยชน์อย่างชดเจน
- นาเสนอข้อบกพร่ องที่พบและแนวทางการแก้ไข (ถ้ามี)
- เขียนข้อเสนอแนะที่ไม่เกี่ยวข้อง - ข้อเสนอแนะจะต้องมาจากผลการวิจยเท่าน้ น พร้อมท้ งให้
กบผลการวิจยที่ได้
เหตุผลที่ชดเจน