การประเมินทางเลือกสำหรับวิชาพลศึกษา Alternative Assessment In

Download Report

Transcript การประเมินทางเลือกสำหรับวิชาพลศึกษา Alternative Assessment In

การประเมินทางเลือกสาหรับวิชาพลศึกษา
Alternative Assessment In Physical Education
โดย รศ.ดร.กรรวี บ ุญชัย
ภาควิชาพลศึกษา
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
การประช ุมวิชาการแห่งชาติ สมาคม สพสท. กพ.2555
Albert Einstein ได้แสดงให้เห็นภาวะ
ของนักพลศึกษาที่กลืนไม่เข้าคายไม่
ออกในการที่จะพยายามประเมิน
ผูเ้ รียน
มิใช่ท ุกสิ่งที่คานวณได้จะสามารถ
นับได้ และมิใช่ท ุกสิ่งที่นบั ได้จะ
สามารถคานวณได้
สิ่งที่ทา
้ ทายยิง่ ใหญ่ของนักพลศึกษา
ที่เผชิญหน้าในปัจจุบนั คือ การ
พัฒนาเครือ่ งมือในการประเมินผล
ไม่เฉพาะในการประเมินนักเรียน
เท่านัน้ แต่รวมทัง้ การกาหนดคะแนน
ของนักเรียนด้วย
วิธีการประเมินผลที่เป็นมาตรฐาน
มากมายที่ใช้ได้ เช่น แบบทดสอบ
ทักษะทางกีฬา (skill tests) และ
ข้อสอบข้อเขียน (written tests)
อย่างไรก็ตาม นักพลศึกษาพบว่า
แบบทดสอบดังกล่าว เป็นแบบการ
วัดแบบเดิม (traditional methods)
 ซึ่งร ูปแบบของการประเมินแบบที่เคย
ปฏิบตั ิกนั มไม่สอดคล้องกับการจัดการ
เรียนร ้ ู หรือเป็นร ูปแบบที่ด ูเหมือนว่าไม่
วัดในสิ่งที่คร ูต้องการจะวัด เช่น ครูได้
สอนเกี่ยวกับการตีล ูกหน้ามือ หลังมือ
การส่งล ูก ตีล ูกวอลเลย์ ตาแหน่งและ
ย ุทธวิธีการเล่นประเภทค ู่ และการนับ
คะแนนในกีฬาเทนนิส
 เพื่อประเมินนักเรียน
คร ูใช้
แบบทดสอบทักษะ โดยให้นกั เรียนคน
หนึ่งยืนที่ตาข่ายและโยนล ูกบอลให้
เพื่อนตีล ูกทัง้ หน้ามือและหลังมือโดย
กาหนดเป้าหมายไว้ในสนาม
แบบทดสอบดังกล่าวอาจจะเที่ยงตรง
ในการวัดการตีล ูกหน้ามือและหลังมือ
ไปยังเป้าหมายที่กาหนดไว้
 แต่แบบทดสอบดังกล่าวอาจจะไม่ใช่
ตัวบ่งชี้ควาสามารถของนักเรียนใน
การเล่นเทนนิส เพราะคร ูได้สอน
ทักษะอื่น ๆในการเล่นด้วย เช่น
ย ุทธวิธีในการเล่น ตาแหน่งในการ
เล่น และการนับคะแนน
 นักพลศึกษามองหาแนวทางในการ
ประเมินความสามารถในการเล่นเกม
ของผูเ้ รียนด้วยการใช้ความรเ้ ู กีย่ วกับ
ตาแหน่งในการเล่น และแสดง
ความสามารถในการเล่นภายใต้กติกา
ที่กาหนด จึงมีความจาเป็นสาหรับคร ู
ในการพัฒนาวิธีการประเมินที่มี
ความหมายมากกว่า
จากการเคลื่อนไหวในการปฏิร ูป
การศึกษา ในประเทศสหรัฐอเมริกา
ในปี ค.ศ. 1990 (2533) และใน
ประเทศไทยก็เช่นเดียกัน (พ.ศ.
2542) มีผลต่อการประเมินและการ
ประกันค ุณภาพทางการศึกษาอย่าง
มาก รวมทัง้ ในวิชาชีพพลศึกษาด้วย
ร ูปแบบใหม่ของการประเมินที่
นามาใช้ในกระบวนการสอนและการ
เรียนร ้ ู ได้แก่ “alternative
assessment” และ “authentic
assessment”
Alternative Assessment
หมายถึงร ูปแบบการประเมินใด ๆก็
ตามที่แตกต่างไปจากการประเมินที่
เคยปฏิบตั ิกนั มา (traditional test)
การประเมินแบบนี้เรียกอีกอย่างหนึ่ง
ว่า “Untraditional”
การประเมินผลในลักษณะนี้เป็นการ
ส่งเสริมการสร้างสรรค์ของเด็กซึ่ง
สนับสน ุน Creative Education
อน ุญาตให้ผเ้ ู รียนสร้างชิ้นงาน/
ผลงาน เช่น การวาดภาพการเตะที่
ถูกต้อง การจัดทาวีดิทศั น์สาหรับ
ทักษะกีฬาเฉพาะอย่าง เป็นต้น
ตัวอย่างของ Alternative Assessment
 Projects
 Portfolio
 Even
 Student
Tasks
 Observations
 Checklists
Log or
Journals
 Rating Scales
ตัวอย่างของ Alternative Assessment
 Slide
Shows
 Video production
 Poster
 Essays/Reports
 Research Paper
 Personal
Fitness
Log
 Oral Reports
 Worksheets
 Interview/Focus
Groups
Alternative Assessment/Authentic
Assessment
Wiggins (อ้างใน Lacy & Hastad,
2003, p. 314) ได้ปรับมาตรฐาน
เพื่อประเมินว่าเครือ่ งมือในการ
ประเมินเป็น Authentic Assessment
หรือไม่ และเกี่ยวข้องกับ
สถานการณ์ทางพลศึกษาหรือไม่
คล้ายคลึงกับเกมเท่าที่จะเป็นไปได้
งานนัน้ ผูเ้ รียนสามารถปฏิบตั ิขณะที่
ผูเ้ รียนอยูใ่ นการเล่นเกม
ต้องการองค์ความรด
้ ู ว้ ย เช่น กติกา
ย ุทธวิธี และตาแหน่งในการเล่น ซึ่ง
สิ่งเหล่านี้ได้สอนไปแล้ว
กระตน
้ ุ ให้ผเ้ ู รียนใช้ทกั ษะ
เช่นเดียวกับการเล่นเกม หรือใน
สภาพการเคลื่อนที่ ไม่ใช่ในลักษณะ
อยูก่ บั ที่
 จากแหล่งข้อมูลพบว่า
ใช้คาว่า
“Alternative” และ “Authentic” สลับกัน
อย่างไรก็ตามในสาขาวิชาพลศึกษา
เครือ่ งมือในการประเมินทางเลือก
(alternative assessment) เช่น Portfolio,
Student Log มากกว่าการใช้
แบบทดสอบทักษะที่ใช้กนั มาหรือเป็น
ข้อสอบแบบเลือกตอบ
 และ
Authentic Assessment ใช้ในการ
อธิบายการประเมินงานในบริบทของ
เกมหรือกีฬา และวัดความสามารถใน
การเล่นเกมมากกว่าการแยกทักษะ
 ดังนัน
้ “Authentic Assessment” เป็น
ร ูปแบบหนึ่งของ “Alternative
Assessment”
เหต ุผลสาหรับ Alternative Assessment
 คร ูจะต้องประเมินในการสอนแต่ละครัง
้
ซึ่งอาจจะไม่จาเป็นต้องเป็นทางการท ุก
ครัง้ คร ูจะตัดสินใจอย่างต่อเนื่อง
เกี่ยวกับความสามารถของผูเ้ รียน ซึ่ง
อาจจะใช้แบบ “formative assessment”
หรือในบางครัง้ ใช้การตัดสินใจเกีย่ วกับ
การกาหนดคะแนนของนักเรียน
การประกันค ุณภาพ (Accountability)
 ความกดดันของโรงเรียนในปัจจุบน
ั
คือ ต้องแสดงให้เห็นถึง
ความก้าวหน้า (progress) และการ
เรียนร ้ ู (learning) และยังต้องแสดงให้
เห็นว่าผูเ้ รียนบรรล ุตามมาตรฐาน
และตัวชี้วดั ของระดับชาติอย่างไร
 ดังนัน
้ ประสิทธิภาพของนักพลศึกษาก็
คือแสดงให้เห็นถึงการเรียนรท้ ู ี่เกิดขึ้น
ในชัน้ เรียน นักพลศึกษาต้องแสดงให้
เห็นถึงประสิทธิภาพของโปรแกรม
พลศึกษาในโรงเรียน แนวทางหนึ่งก็คือ
การพัฒนาเครือ่ งมือในการประเมินที่
fair, objective, accurate ในการประเมิน
การเรียนรข้ ู องผูเ้ รียน
Weakness of Standard Testing Practices
ทาไมแบบทดสอบมาตรฐานในการ
วัดทักษะ (standardized skill tests)
จึงไม่เป็นตัวเลือกที่ดีที่ส ุดในการ
นามาประเมินการเรียนรข้ ู องผูเ้ รียน
ซึ่งก็มีเหต ุผลหลายประการ
 ประการแรก
แบบทดสอบมาตรฐานที่มี
เกณฑ์มาตรฐาน (norms) เที่ยงตรง
สาหรับเฉพาะกลมุ่ เช่น AAHPER
Football Skills Test, 1966 สาหรับ
นักเรียนชาย อาย ุ 10-18 ปี ซึ่งเกณฑ์
มาตรฐานอาจจะไม่เหมาะกับเพศ อาย ุ
ของนักเรียนที่คร ูต้องการประเมิน
ประการที่
2 แบบทดสอบมาตรฐาน
อาจจะวัดเนื้อหา สาระที่คร ูสอน
แบบทดสอบอาจจะวัดเพียงทักษะ
เดียว ในขณะที่คร ูต้องการประเมิน
ในการเล่นทัง้ หมด
 ประการที่
3 แบบทดสอบมาตรฐานใช้
เวลาในการดาเนินการ ต้องจัดเตรียม
อ ุปกรณ์ คร ูที่มีชวั่ โมงสอนมาก อาจจะ
มีเวลาไม่มากระหว่างห้องเรียนในการ
จัดเตรียมสถานที่และอ ุปกรณ์ในการ
ดาเนินการทดสอบ ทาให้ผลการ
ทดสอบขาดความเที่ยงตรง
ประการส ุดท้าย
แบบทดสอบ
มาตรฐานจะขึ้นอยูก่ บั สิ่งแวดล้อมที่
สร้างขึ้น เพื่อนนักเรียนจะเป็นคน
โยนล ูกบอลหรือกลิ้งล ูกบอลใน
ขณะที่อยูก่ บั ที่ไม่ใช่จากการตีดว้ ย
แร็กเกต การเล่นเกิดจากสภาพจริง
แบบทดสอบส่วนใหญ่ไม่ใช่
ดังนัน
้
อาจจะกล่าวได้ว่า
แบบทดสอบมาตรฐานมีประโยชน์
สาหรับการประเมินแบบเป็นระยะ
(formative feedback) สาหรับทักษะ
เฉพาะอย่าง หรือในการประเมิน
ตนเอง (self-testing)
การประเมินตามสภาพจริง
(Authenticity)
นักพลศึกษาเห็นด้วยที่ว่า เป้าหมาย
สูงส ุดของการสอนกีฬาประเภททีม
และประเภทเดี่ยว คือให้นกั เรียนมี
ทักษะเพื่อความสน ุกสนานในการ
เล่นเกมในกีฬานัน้ ๆ
 ถ้านักพลศึกษาต้องการที่จะรว
้ ู ่า
นักเรียนสามารถเล่นเกมได้ดีแค่ไหน
คร ูก็ตอ้ งใช้วิธีการสังเกตที่เป็นระบบ
ในการประมินการเล่นเกม คร ูอาจจะ
สนใจองค์ความรด้ ู า้ นเจตพิสยั เช่น
ความมีน้าใจนักกีฬา ความร่วมมือ
หรือความรเ้ ู กี่ยวกับกติกา และย ุทธวิธี
จึงจาเป็นต้องพัฒนาเครือ่ งมือ
ความเป็นปรนัย (Objectivity)
 นักพลศึกษาต้องการประเมินความ
ชานาญในการเล่นเกมจริง ๆซึ่ง
อาจจะใช้การสังเกตอย่างง่าย ๆและ
สร้างการตัดสินแบบอัตนัย (subjective
judgment) วิธีการดังกล่าวไม่มีความ
ย ุติธรรมในการตัดสินระดับคะแนน
การเฝ้าด ูนักเรียนเล่มเกม
ซึ่ง
เรียกว่า “eyeballing” วิธีดงั กล่าวถือ
ว่าขาดความเป็นปรนัย ขาดความ
เชื่อถือได้ และไม่สามารถประกันได้
ว่านักเรียนท ุกคนมีโอกาสในการ
แสดงทักษะของตัวเอง
 เช่น
สมมติว่า คร ูประเมิน
ความสามารถในการเล่นฟุตบอลของ
นักเรียนระดับมัธยมศึกษา ทีมที่ 1 มี
นักเรียนที่มีทกั ษะและประสบการณ์สงู
ซึ่งมีเกมร ุกที่ดีตลอดเกม นักเรียนใน
ทีมนี้จะได้คะแนนดีในการเล่มทีม แม้ว่า
นักเรียนเหล่านัน้ มีทกั ษะดีจริง ๆ
หรือไม่
ในขณะที่นก
ั เรียนในอีกกลมุ่ หนึ่งที่มี
ทักษะน้อยกว่า อาจจะไม่สามารถ
แสดงทักษะ ถ้าขาดการสังเกตอย่าง
มีระบบ นักเรียนที่ขาดทักษะคง
เคลื่อนไหวไปตามเกม แต่การทมุ่ เท
ให้กบั ทีมมีนอ้ ย นักเรียนกลมุ่ นี้ได้รบั
การประเมินที่ขาดความเป็นปรนัย
ความถูกต้อง (accuracy)
 ถ้าคร ูต้องการประเมินทักษะส่วนบ ุคคล
มากกว่าการเล่นเกม การประเมินผล
ทางเลือกจะมีประสิทธิภาพในประเด็นนี้
คร ูสามารถปรับการประเมินในสภาพ
การเคลื่อนที่มากกว่า closed
environment ซึ่งมีความถูกต้อง
มากกว่า
 เครือ
่ งมือที่สามารถนามาใช้มี
หลากหลาย เช่น แบบประมาณค่า
(rating scales) หรือตรวจสอบรายการ
(checklists) สามารถใช้ได้ทงั้ ในการ
ประเมินทักษะและการเล่นเกม
 ส่วน แฟ้มสะสมงาน (portfolio) หรือ
Log ช่วยให้นกั เรียนเข้าใจในกิจกรรม
นัน้ ๆลึกซึ้งมากขึ้น
ความเที่ยงตรงและความเชื่อถือได้
(Validity และ Reliability)
แม้ว่าการประเมินทางเลือกด ูจะทา
ให้การประเมินนักเรียนน่าตื่นเต้น
แต่มีประเด็นสาคัญ 2 ประการที่
ควรได้รบั การพิจารณา
ความเที่ยงตรงและความเชื่อถือได้
ต้องรักษาไว้
ในการใช้การประเมินทางเลือกคร ู
ต้องให้ความสาคัญทัง้ 2 ประเด็น
ดังกล่าว
ประเด็นของความเที่ยงตรง
 จากที่กล่าวมาแล้วว่าแบบทดสอบ
มาตรฐานอาจจะไม่วดั เนื้อหา/สาระ
จริง ๆที่คร ูสอน ประเด็นที่เกี่ยวข้องคือ
ความเที่ยงตรงนัน่ เอง วิธีทีง่ายที่ส ุดใน
การตรวจความเที่ยงตรงของการ
ประเมิน คือเปรียบเทียบกับจุดประสงค์
ของการสอน
 ตัวอย่าง
จุดประสงค์ของการเรียนรูค้ ือ
นักเรียนสามารถปฏิบตั ิทกั ษะการตีล ูก
หน้ามือ (groundstroke) ไปยังสนามด้าน
ตรงข้ามด้วยฟอร์มที่ดี
 เพื่อที่จะวัดว่านักเรียนสามารถตีล ูกหน้า
มือ (groundstroke) ได้หรือไม่เครือ่ งมือที่
สารถนามาใช้ เช่น แบบตรวจสอบ
รายการ หรือแบบประมาณค่า
เกณฑ์ในแบบประเมินควรสอดคล้อง
กับส่วนประกอบของการตีล ูกหน้า
มือที่เน้นในชัน้ เรียน ในลักษณะเช่นนี้
จะเป็นการประเมินที่เที่ยงตรง
เพราะว่าวัดตามจุดประสงค์การ
สอน (instructional objectives)
 หรือนักเรียนสามารถปฏิบต
ั ิทกั ษะการ
ตีล ูกหน้ามือ (groundstroke) ไปยัง
สนามด้านตรงข้ามด้วยฟอร์มที่ดีและ
ใช้ย ุทธวิธีที่เหมาะสมในการเล่น
ประเภทคู่ ในกรณีน้ ีเครือ่ งมือในการ
ประเมินต้องควรสอดคล้องกับ
ส่วนประกอบที่ระบ ุไว้ในจุดประสงค์การ
สอน ความสามารถในการตีล ูกหน้า
(groundstroke)
มีฟอร์มที่ดี และใช้
ย ุทธวิธีที่เหมาะสม ซึ่งสามารถ
ใช้ได้ระหว่างการเล่นประเภทค ู่
ประเด็นของความเชื่อถือได้
 ความเชื่อถือได้เป็นประเด็นที่ตอ
้ ง
พิจารณาสาหรับเครือ่ งมือในการ
ประเมินทางเลือก เช่นเดียวกับ
แบบทดสอบอื่น ๆคือ “แบบทดสอบที่
มีความเที่ยงตรง แบทดสอบนัน้ จะมี
ความเชื่อถือได้”
อีกประเด็นหนึ่งที่ตอ
้ งพิจารณาคือ
ความเป็นปรนัย – is as free bias as
possible
Types of Alternative Assessments
Students
Projects
Portfolios
Even Tasks
Student Logs and Journals
Observations
แบบตรวจสอบรายการ (Checklist)
 ใช้เมื่อต้องทราบว่า
ใช่ หรือไม่ใช่เท่านัน้
 ใช้มากในการประเมินแบบเป็นระยะ
(formative assessment)
 และใช้เมื่อกาหนดจุดประสงค์การเรียนรู้
ไว้ว่า “ผูเ้ รียนมีทกั ษะ...........................”
แบบตรวจสอบรายการ (Checklist)
การใช้แบบตรวจรายการ
ครูต้อง
แน่ใจว่านักเรียนมีการฝึกซ้อมอย่าง
เพียงพอในทักษะนัน้ ๆ
กาหนดขน
้ ุ ตอนในการสร้าง
แบบตรวจสอบรายการ (Checklist):การวิ่ง
ลงสูพ
่ ้ ืนด้วยส้นเท้า-ปลายเท้า
วิ่งอย่างเต็มฝีเท้า
โน้มตัวไปข้างหน้า
แขนแกว่งในระดับไหล่และ
สวิงตัดเข้าหาลาตัว
เท้าทัง้ สองรับน้าหนัก
Yes No
Yes No
Yes No
Yes No
Yes No
แบบตรวจสอบรายการ ด้านจิตพิสยั
กล้าที่จะ comment เพื่อนในชัน้ เรียน
ยอมรับการเล่นที่ดีของคตู่ ่อสู้
เคารพการตัดสิน
จับมือกับคแู่ ข่งขันเมื่อเกมสิ้นส ุด
เป็นตัวอย่างที่ดีในชัน้ เรียน
Yes No
Yes No
Yes No
Yes No
Yes No
แบบประมาณค่า (rating Scales)
 เป็นการกาหนดตัวเลข
หรือแสดงเชิง
ค ุณภาพ การประเมินส่วนใหญ่จะมี
ลักษณะเป็นแบบ analytic assessment หรือ
holistic assessment
 ประเมินทักษะเฉพาะใช้ analytic
 ประเมินความสามารถในการเล่นใช้
holistic
เกณฑ์ที่นามาใช้
 1-3
 1-4
 1-5
 ตัวอย่าง
Soccer
Shooting Skill Rating Scale
Volleyball Skills Holistic Rating Scale
งานเฉพาะกรณี (Event Task)
 เป็นงานที่แสดงความสามารถของ
นักเรียนเมื่อสิ้นส ุดการเรียน ใช้สิ่งที่เรียน
ในชัน้ เรียนนามาใช้จริง เช่น สาธิตทักษะ
ความสามารถในการทางานภายในกลมุ่
 ใช้การสังเกต (คร ู เพื่อน) ประเมินตนเอง
หรือใช้การตรวจสอบรายการที่มีการ
กาหนดเกณฑ์การให้คะแนน
โครงงาน (Student Project)
 ให้นก
ั เรียนทาโครงงานเฉพาะบ ุคคล
หรือเป็นกลมุ่ เล็ก ๆ คร ูเสนอข้อแนะนา
โครงงานอาจจะเกี่ยวกับองค์ความรท้ ู ี่
ได้เรียนในชัน้ เรียน
 ช่วงเวลาจะมากกว่า Even Task และทา
นอกเวลาเรียน
Student Journals
 เป็นการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร
เกี่ยวกับควารส้ ู ึก เจตคติ การสะท้อน
เกี่ยวกับกิจกรรมต่าง ๆที่จดั ในชัน้
เรียน ซึ่งอาจจะเป็นช่วงของการสิ้นส ุด
กิจกรรมให้แสดงความรส้ ู ึกเกี่ยวกับ
ความสาเร็จ หรือสิ่งที่ได้รบั
Student Journals
ผูเ้ รียนมีอสระในการแสดงความ
คิดเห็น ไม่มีผิดหรือถูกในการ
สะท้อนความรส้ ู ึก
คร ูพิจารณาข้อมูลเพื่อประโยชน์ใน
การจัดกิจกรรมต่อไป
สมุดจดบันทึกของผูเ้ รียน (Student Log)
สมุดบันทึกเกี่ยวกับการออกกาลัง
กาย (Exercise Log)
สมุดบันทึกเกี่ยวกับโภชนาการ
(Nutrition Log)
แฟ้มสะสมงาน (Portfolios)
 แฟ้มสะสมงาน
หมายถึง สิ่งที่ตอ้ ง
ประกอบไปด้วย 3 ส่วน ดังต่อไปนี้
1. การสะสม (Collection) หมายถึงสะสม
ผลงานหรือหลักฐานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง
กับนักเรียน ผูป้ กครอง แฟ้มสะสมงาน
ตลอดภาคเรียนที่เรียนวิชานัน้
2.การจัดระบบข้อมูล(Organization) หรือ
สะสางหลักฐานต่าง ๆ ในแฟ้ม
ประกอบด้วยกระบวนการย่อย ๆ ดังนี้
การให้นก
ั เรียนมีสว่ นร่วมในการ
กาหนดเนื้อหาของแฟ้มสะสมงาน
การมีขอ
้ แนะนา(Guideline) หรือ
เกณฑ์ (Criteria) ในการเลือกงาน
การมีเกณฑ์ในการตัดสินค ุณค่า
(Criteria for judging merit)
การเขียนสร ุปโดยย่อเกี่ยวกับ
กระบวนการทางานแต่ละชิ้นโดย
นักเรียนเขียนเอง
3. การมีสิ่งสะท้อนถึงตัวนักเรียน
(Evidence of Reflection)
บรรณาน ุกรม
Lacy, A.C. & D. N. Hastad. (2003).
Measurement and Evaluation in Physical
Education and Exercise. San Francisco,
CA: Benjamin Cummings.
Lacy, A. C. (2011). Measurement and
Evaluation in Physical Education and
Exercise Science. San Francisco, CA:
Pearson Benjamin Cummings.
Baumgartner, T. A., A. S. Jackson, M. T.
Mahar & D. A. Rowe. (2007).
Measurement for Evaluation in Physical
Education and Exercise Science. New
York, NY: McGraw-Hill.