Chapter 6 การบริหารเวลาโครงการ

Download Report

Transcript Chapter 6 การบริหารเวลาโครงการ

Chapter 6
การบริ หารเวลาโครงการ
ANGKANA
การกาหนดกิจกรรม
วันเริ่ มต้ น –วันสุ ดท้ ายของโครงการ และขอบเขตของโครงการเบื อ้ งต้ น ใน
เอกสารนี ย้ ังมีการประมาณเงินที่ จัดสรรให้ โครงการ ผู้จัดการโครงการและที มงานเริ่ ม
พั ฒ นารายการกิ จ กรรม และคุ ณ ลั ก ษณะที่ ล ะเอี ย ด รวมทั้ ง รายการหลั ก ไมล์ ไ ด้
ข้ อ ก าหนดขอบเขตโครงสร้ างจ าแนกงาน พจนานุ ก รมโครงสร้ างจ าแนกงาน และ
แผนการบริ หารโครงการ
รายการกิ จกรรมคื อ กิ จกรรมต่ าง ๆ ที่ ปรากฏในตารางเวลาโครงการ รายการ
กิจกรรมควรมีชื่อกิจกรรม ตัวชี ว้ ัดกิจกรรม คาอธิ บายกิจกรรมอย่ างย่ อ ส่ วนคุณลักษณะ
กิจกรรม (activity attribute) คือ ข้ อมูลของแต่ ละกิจกรรมที่ เกี่ยวข้ องกับตารางเวลา เพื่อ
ช่ วยให้ เกิดความเข้ าใจในกิจกรรมนั้นมากขึน้
ANGKANA
การกาหนดกิจกรรม
หลั ก ไมล์ ข องโครงการคื อ เหตุ ก ารณ์ ที่ ส าคั ญ ที่ ไ ม่ มี ร ะยะเวลา หลั ก ไมล์
สมบูรณ์ ได้ ต้องประกอบด้ วยการทางานหลายกิจกรรม
เป้ าหมายของกระบวนการก าหนดกิ จ กรรม คื อ เพื่ อ ให้ แน่ ใ จว่ า ที ม งาน
โครงการมีความเข้ าใจงานทั้งหมดที่ต้องทาอย่ างสมบูรณ์
การเรี ยงลาดับกิจกรรม
ประกอบด้ ว ย การทบทวนรายการกิ จ กรรม และคุ ณ ลั ก ษณะ ข้ อ ก าหนด
ขอบเขตโครงการ รายการหลั ก ไมล์ และการเปลี่ ย นแปลงที่ ไ ด้ รั บ การอนุ มั ติ การ
เรี ยงลาดับกิจกรรมยังรวมถึงการกาหนดความสั มพันธ์ หรื อความพึ่งพิงระหว่ างกิจกรรม
- ความพึ่งพิง
- ผังเครื อข่ าย
การเรี ยงลาดับกิจกรรม
ผังเครื อข่ ายแสดงกิจกรรมบนลูกศรของโครงการ
การเรี ยงลาดับกิจกรรม
ประเภทความพึ่งพิงของงาน
การประมาณการทรั พยากรของกิจกรรม
เครื่ องมือที่ ช่วยในการประมาณการทรั พยากรประกอบด้ วย ความคิ ดเห็ นของ
ผู้เชี่ ยวชาญ ทางเลื อกที่ มีให้ การประมาณการขนาดข้ อมูลและซอฟต์ แวร์ ผู้ ที่ จะช่ วย
กาหนดทรั พยากรที่ จาเป็ นสาหรั บโครงการควรเป็ นคนที่ มี ประสบการณ์ และความ
เชี่ ยวชาญในโครงการที่คล้ ายกัน
ข้ อมูลที่ สาคัญที่ นามาใช้ ในการประมาณการคื อ รายการกิจกรรม คุ ณลักษณะ
กิจกรรม แผนการบริ หารโครงการ ปั จจัยเชิ งสภาพแวดล้ อม ทรั พยากรที่มีให้ ใช้ ได้
การประมาณการทรั พยากรของกิจกรรม
ผลลัพธ์ ของกระบวนการประมาณการทรั พยากรคื อ รายการความต้ องการใช้
ทรั พยากรของกิจกรรม โครงสร้ างจาแนกทรั พยากร (resource breakdown structure)
โครงสร้ างจาแนกทรั พยากรคื อโครงสร้ างลาดับขั้นที่ ระบุทรั พยากรของโครงการตาม
กลุ่ม และประเภท กลุ่มทรั พยากรอาจประกอบด้ วย นักวิเคราะห์ โปรแกรมเมอร์ และ
ผู้ทดสอบ
การประมาณการระยะเวลากิจกรรม
ระยะเวลานี ้ร วมถึ ง ปริ มาณเวลาจริ งที่ ใ ช้ กั บ กิ จ กรรมบวกกั บ เวลาที่ เผื่ อ
(elapsed time)
ผลลั พ ธ์ คื อ คุ ณ ลั ก ษณะกิ จ กรรมที่ ป รั บ ปรุ ง (ถ้ า มี ) และการประมาณการ
ระยะเวลาของแต่ ละกิจกรรม ระยะเวลาที่ประมาณการเป็ นตัวเลขเต็มจานวน
การประมาณการตั ว เลขสามค่ า จ าเป็ นต้ อ งใช้ ใ นการสร้ างตารางเวลาด้ ว ย
เทคนิคการทบทวน และการประเมินผลการทางาน หรื อ PERT
การพัฒนาตารางเวลา
เป้ าหมาย คื อ การสร้ างตารางโครงการที่ เป็ นจริ ง โดยเป็ นพืน้ ฐานสาหรั บการ
ติดตามความก้ าวหน้ าของโครงการ
ผลลัพธ์ คื อ ความต้ องการทรั พยากร คุณลักษณะกิ จกรรม ปฏิ ทินโครงการ
และแผนการบริ หารโครงการ เทคนิ ค และเครื่ องมื อ ที่ ช่ วยในกระบวนการพั ฒ นา
ตารางเวลา
- แผนภูมิแกนต์
- การจัดตารางเวลาโซ่ วิกฤต
- การวิเคราะห์ เส้ นทางวิกฤต
- การวิเคราะห์ PERT
การพัฒนาตารางเวลา
-แผนภูมิแกนต์
ตัวอย่ างแผนภูมิแกนต์ แบบง่ าย ๆ
การพัฒนาตารางเวลา
-แผนภูมิแกนต์
ตัวอย่ างแผนภูมิโครงการออกตัวซอฟต์ แวร์
การพัฒนาตารางเวลา
-แผนภูมิแกนต์
ตัวอย่ างแผนภูมิการติดตามผล
การพัฒนาตารางเวลา
-วิธีเส้ นทางวิกฤต (CPM) หรื อการวิเคราะห์ เส้ นทางวิกฤตใช้ เทคนิคการทาผั งเครื อข่ าย
เพื่อใช้ ในการคาดการณ์ ช่วงระยะเวลาทั้งหมดของโครงการ
การหาเส้ นทางวิกฤต
เวลาเริ่ มต้ นเร็ วที่สุด (Earliest start (ES))
เวลาเสร็ จเร็ วที่สุด (Earliest finish (EF))
เวลาเริ่ มต้ นล่ าช้ าที่สุด (Latest start (LS))
เวลาเสร็ จช้ าที่สุด (Latest finish (LF))
การพัฒนาตารางเวลา
-วิธีเส้ นทางวิกฤต (CPM)
การคานวณหาเวลาทั้ง 4 ค่ า จะใช้ วิธีการ 2 วิธีคือเส้ นทางไปข้ างหน้ า และ
เส้ นทางย้ อนกลับ (forward and backward passes) วิธีการแรกจะนามาใช้ ในการหา ES
และ EF ส่ วนวิธีการหลังใช้ สาหรั บหา LS และ LF
สั ญลักษณ์ ที่ใช้ ในโหนด
การพัฒนาตารางเวลา
-วิธีเส้ นทางวิกฤต (CPM)
EF ของกิจกรรม คื อ ผลรวมของเวลาของ ES ของกิ จกรรม และเวลาการ
ทางานของกิจกรรม ดังนั้น
EF = ES + ระยะเวลาของกิจกรรม (duration)
การพัฒนาตารางเวลา
-การจัดตารางเวลาโซ่ วิกฤต (Critical Chain Scheduling)
การทางานทีละงาน
การทางานหลายงาน
การพัฒนาตารางเวลา
-การจัดตารางเวลาโซ่ วิกฤต (Critical Chain Scheduling)
การจัดตารางโซ่ วิกฤตสมมติ ว่าทรั พยากรไม่ ทางานหลายงาน หรื ออย่ างน้ อย
ต้ องให้ ทาหลายงานน้ อยที่ สุด พนักงานไม่ ควรถูกมอบหมายงาน 2 งานพร้ อมกัน ทฤษฏี
โซ่ วิกฤตเสนอว่ า ควรมีการจัดลาดับความสาคัญของงาน ดังนั้นคนที่ ทางานมากกว่ า 1
งานในเวลาเดียวกันจะได้ ร้ ู ว่ างานไหนสาคัญ การป้ องกันการทางานหลายงานพร้ อมกัน
เป็ นการหลีกเลี่ยงความขัดแย้ งทางทรั พยากร และเวลาที่ เสี ยไปในการเริ่ มต้ นงาน เมื่อมี
การเปลี่ยนงาน
การพัฒนาตารางเวลา
-เทคนิคการทบทวน และการประเมินผลการทางาน : เทคนิค PERT
PERT เป็ นเทคนิคการบริ หารเวลาโครงการอีกเทคนิคหนึ่ง ที่ ใช้ ประมาณการ
ระยะเวลาโครงการ เมื่ อ มี ความไม่ แน่ นอนเกี่ ยวกับการประมาณช่ วงระยะเวลาการ
ทางานแต่ ละกิจกรรมสู ง โดยเริ่ มจากการจัดทาโครงสร้ างจาแนกงานออกเป็ นงานหรื อ
กิ จ กรรมต่ า ง ๆ งานสุ ด ท้ า ยก่ อ นหน้ า ระยะเวลาที่ ค าดในการด าเนิ น งานแต่ ล ะงาน
จากนั้นนาข้ อมูลมาจัดทาผังเครื อข่ ายงาน
การพัฒนาตารางเวลา
-เทคนิคการทบทวน และการประเมินผลการทางาน : เทคนิค PERT
ระยะเวลาที่คาดคะเนในแง่ ดี (optimistic) กาหนดให้ แทนด้ วย a
ระยะเวลาที่ คาดคะเนว่ าจะเกิดขึน้ ได้ มากที่ สุด (most likely) กาหนดให้ แทน
ด้ วย b
ระยะเวลาที่คาดคะเนในแง่ ร้าย (pessimistic) กาหนดให้ แทนด้ วย c
การพัฒนาตารางเวลา
-เทคนิคการทบทวน และการประเมินผลการทางาน : เทคนิค PERT
ระยะเวลาของแต่ ละกิจกรรมที่ ได้ จากการคาดคะเนเรี ยกว่ า ระยะเวลาคาดหวั ง
ที่ กิจกรรมจะแล้ วเสร็ จ (expected duration: te) หรื อค่ าเฉลี่ยแบบถ่ วงนา้ หนัก (weighted
average)
te = a+4b+c
6
การพัฒนาตารางเวลา
-เทคนิคการทบทวน และการประเมินผลการทางาน : เทคนิค PERT
สามารถวั ด ความแปรปรวนที่ ร ะยะเวลาของกิ จ กรรมอาจแตกต่ า งไปจาก
ระยะเวลาคาดหวังที่คานวณได้ จากสู ตร
2
c-a
ความแปรปรวน (variance) V =
6
การพัฒนาตารางเวลา
-เทคนิคการทบทวน และการประเมินผลการทางาน : เทคนิค PERT
ตัวอย่ างการคานวณระยะเวลาคาดหวัง ค่ าความแปรปรวน
การควบคมุ ตารางเวลา (Schedule Control)
เป้ าหมาย คือ เพื่อให้ โครงการแล้ วเสร็ จตามกาหนดเวลา
ข้ อมูลนาเข้ าหลัก คือ บรรทัดฐานตารางเวลา รายงานประสิ ทธิ ภาพการทางาน
คาร้ องขอเปลี่ ยนแปลงที่ ได้ รับอนุมัติ และแผนการบริ หารตารางเวลา เครื่ องมื อและ
เทคนิคที่นามาใช้ ในขัน้ ตอนนีค้ ือ
รายงานความก้ าวหน้ า
ระบบควบคุมการเปลี่ยนแปลงตารางเวลา
ซอฟต์ แวร์ การบริ หารโครงการ
ผังเปรี ยบเทียบตารางเวลา
การวิเคราะห์ ความแปรปรวน
การบริ หารประสิ ทธิ ภาพ
การควบคมุ ตารางเวลา (Schedule Control)
ผลลั พ ธ์ คื อ การวั ด ประสิ ท ธิ ภ าพการท างาน การเปลี่ ย นแปลงตามที่ ข อ
คาแนะนาสิ่ งที่ ควรแก้ ไข และการปรั บปรุ งบรรทั ดฐานตารางเวลา รายการกิ จกรรม
คุ ณ ลัก ษณะกิ จ กรรม แผนการบริ หารโครงการ และทรั พ ย์ สิ น ทางกระบวนการเชิ ง
องค์ การ
- การตรวจสอบความเป็ นจริ งของการกาหนดตารางเวลา
- การทางานกับคน
The end