แนวทางการพัฒนา มคอ.3 - 7 มรภ. สุราษฏร์ธานี

Download Report

Transcript แนวทางการพัฒนา มคอ.3 - 7 มรภ. สุราษฏร์ธานี

แนวทางการพัฒนาเอกสาร
มคอ. : กรอบมาตรฐานคุณวุฒริ ะดับอุดมศึกษา
รศ.ดร.วิชัย วงษ์ ใหญ่
ดร.มารุต พัฒผล
มหาวิทยาลัยราชภัฏสุ ราษฏร์ ธานี
16 มกราคม 2557
คนสองคนเดินมา คนหนึ่งเป็ นคนดี
คนหนึ่งเป็ นคนชั่ว สองคนเป็ นครู เราได้
ขงจือ๊
คนที่มีการศึกษา
คือ คนที่มีความรัก
และความเกลียดอันถูกต้ อง
Lin Yutang
การเรียนแต่ ไม่ คดิ
นับว่ าสูญเปล่ า
การคิดแต่ ไม่ เรียนรู้
นับว่ าอันตราย
ขงจื๊อ
วิชยั วงษ์ใหญ่ : 2557
Thank you
for your attention
I am a slow walker,
but I never walk back.
ข้ าพเจ้ าเป็ นคนเดินช้ า
แต่ ไม่ เคยเดินย้ อนหลัง
Abraham Lincon
วิชยั วงษ์ใหญ่ : 2557
ยายสองคนนีค้ ุยอะไรกัน
“ความยุตธิ รรมในโลกนีไ้ ม่ ม”ี
จริงหรือไม่
วิชยั วงษ์ใหญ่ : 2557
โลกให้ ความยุตธิ รรม
กับมนุษยชาติ
คือ
เวลา
ใครบริหารเวลาไม่ เป็ น คนนั้นเสี ยเปรียบ
วิชยั วงษ์ใหญ่ : 2557
1. เวลาอะไรทีด่ ที สี่ ุ ด
2. ใครทีส่ าคัญทีส่ ุ ด
3. อะไรสาคัญทีส่ ุ ด
วิชยั วงษ์ใหญ่ : 2557
“ความสุขจากการให้
มากกว่ าความสุขทีเ่ รามี”
“ความดีกบั ความสุขในการทางาน”
วิชยั วงษ์ใหญ่ : 2557
ปัจจัยทีส่ ่ งผลต่ อคุณภาพผู้เรียน
ภาวะผู้นาทางวิชาการ
ผู้บริหาร
อัตลักษณ์
คุณภาพผู้เรียน
รักการสอน
ครู
รักผู้เรียน
มีความรู้
มีความยุตธิ รรม
เอกลักษณ์
ดูแลช่ วยเหลือผู้เรียน
มีวธิ ีการสอน
การประเมินผล
วิชยั วงษ์ใหญ่ : 2557
คุณภาพการศึกษา คืออัตลักษณ์ และเอกลักษณ์
อัตลักษณ์
มาจากตัวบ่ งชี้การประเมินผลผลิตตามปรัชญา
ปณิธาน และวัตถุประสงค์ ของสถาบันการศึกษา
เอกลักษณ์ จุดเด่ นทีส่ ะท้ อนคุณภาพผลผลิต
คือ ผู้สาเร็จการศึกษา
วิชัย วงษ์ ใหญ่ : 2557
เค้ าโครงการบรรยาย
1. ข้ อสั งเกตเกีย่ วกับการพัฒนาหลักสู ตร
2. แนวทางการพัฒนารายละเอียดของรายวิชา (มคอ. 3)
และผลการดาเนินการของรายวิชา (มคอ. 5)
3. แนวทางการพัฒนารายละเอียดของประสบการณ์ ภาคสนาม (มคอ. 4)
และผลการดาเนินการของประสบการณ์ ภาคสนาม (มคอ. 6)
4. แนวทางการรายงานผลการดาเนินการของหลักสู ตร (มคอ. 7)
วิชยั วงษ์ใหญ่ : 2557
มาตรฐานคุณวุฒิ (มคอ.1) ทีป่ ระกาศในราชกิจจานุเบกษา
มาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรี สาขาวิชากายภาพบาบัด พ.ศ. 2556
มาตรฐานคุณวุฒิระดับบัณฑิตศึกษา สาขาวิชากายภาพบาบัด พ.ศ. 2556
มาตรฐานคุณวุฒิระดับบัณฑิตศึกษา สาขาพยาบาลศาสตร์ พ.ศ. 2555
มาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรี สาขาการแพทย์ แผนไทยประยุกต์ พ.ศ. 2554
มาตรฐานคุณวุฒิระดับบัณฑิตศึกษา สาขาการแพทย์ แผนไทยประยุกต์ พ.ศ. 2554
มาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรี สาขาวิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ พ.ศ. 2554
มาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรี สาขาภาษาไทย พ.ศ. 2554
มาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรี สาขาครุศาสตร์ และสาขาศึกษาศาสตร์ (หลักสู ตร 5 ปี ) พ.ศ. 2554
มาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรี สาขาการบัญชี พ.ศ. 2553
มาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรี สาขาวิศวกรรมศาสตร์ พ.ศ. 2553
มาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรี สาขาการท่ องเที่ยวและการโรงแรม พ.ศ. 2553
มาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรี สาขาโลจิสติกส์ พ.ศ. 2552
มาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรี สาขาพยาบาลศาสตร์ พ.ศ. 2552
มาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรี สาขาคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2552
วิชยั วงษ์ใหญ่ : 2557
ข้ อสั งเกตเกีย่ วกับการพัฒนาหลักสู ตร
(มคอ. 2)
1. ชื่อหลักสู ตร / ชื่อปริญญา / การใช้ ชื่อย่ อ ที่มีประกาศของ
กระทรวงศึกษาธิการ หรือพระราชกฤษฎีกาของมหาวิทยาลัยแล้ ว
ควรใช้ ให้ สอดคล้ องกับประกาศดังกล่าว
2. หลักสู ตรทีม่ มี าตรฐานคุณวุฒิ (มคอ.1) แล้ ว
ควรใช้ ชื่อปริญญา และมาตรฐานผลการเรียนรู้
ให้ สอดคล้ องกับมาตรฐานคุณวุฒิทกี่ าหนดไว้
วิชยั วงษ์ใหญ่ : 2557
3. ขาดการวิเคราะห์ ข้อมูลสถานการณ์ ภายนอกหรือการพัฒนา
ทีจ่ าเป็ นต้ องนามาพิจารณาในการวางแผนหลักสู ตรทีเ่ ป็ นปัจจุบัน
เช่ น แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสั งคมแห่ งชาติ
ฉบับที่ 11 พ.ศ. 2557 – 2559 / พระราชบัญญัติการศึกษาแห่ งชาติ
พ.ศ. 2542 และทีแ่ ก้ ไขเพิม่ เติม (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2557
4. การวิเคราะห์ ผลกระทบของสถานการณ์ ภายนอกยังไม่ สะท้ อน
ศาสตร์ ของหลักสู ตรและอัตลักษณ์ ของสถาบัน ทีแ่ ตกต่ างกับ
หลักสู ตรสถาบันอืน่
วิชยั วงษ์ใหญ่ : 2557
หลักคิดการเขียนข้ อ 11 , 12 ทีส่ ่ งผลต่ อการกาหนด
ปรัชญาของหลักสู ตร
- สถานการณ์ ภายนอก
- องค์ ความรู้ ของศาสตร์ ในสาขาวิชา
- ปัจจัยภายในของสถาบัน
5. การเขียนปรัชญาควรสะท้ อนความเชื่อและคุณลักษณะของ
ผู้สาเร็จการศึกษาทีอ่ อกไปสร้ างสรรค์ งานทีเ่ ป็ นประโยชน์
และควรมีทมี่ าจากข้ อมูลเชิงประจักษ์ จากการวิเคราะห์
สถานการณ์ ภายนอกทุกด้ าน
วิชยั วงษ์ใหญ่ : 2557
6. วัตถุประสงค์ ของหลักสู ตรเขียนเป็ นผลลัพธ์ การเรียนรู้
สอดคล้ องกับปรัชญาและมาตรฐานคุณวุฒิ
7. แผนพัฒนาปรับปรุ งหลักสู ตร ควรเขียนกลยุทธ์ สาคัญๆ
สะท้ อนคุณภาพของหลักสู ตร และระบุหลักฐานตัวบ่ งชี้
ที่สามารถวัดได้ อย่ างสอดคล้ องกับผลสาเร็จของการ
ปรับปรุงหลักสู ตร
8. ปัญหาของนิสิตแรกเข้ าควรเป็ นข้ อจากัดที่แท้ จริง
ไม่ ระบุปัญหาโดยทัว่ ไป
9. จานวนหน่ วยกิตควรกาหนดให้ สอดคล้องกับมาตรฐานคุณวุฒิ
(มคอ.1) เป็ นหลัก
วิชยั วงษ์ใหญ่ : 2557
10. คาอธิบายรายวิชากับจานวนชั่วโมงที่กาหนดไว้ ไม่ สอดคล้ องกัน
11. คาอธิบายรายวิชาไม่ สะท้ อนสาระสาคัญที่แท้ จริง
- ถ้ าใช้ คากริยาขึน้ ต้ นควรใช้ ให้ เหมาะสมกับระดับการศึกษา
และธรรมชาติวชิ า
- ถ้ าไม่ ใช้ คากริยาควรเขียนในลักษณะทีเ่ ป็ นคานาม หรือวลี
ไม่ เขียนเป็ นประโยค
12. การพัฒนาคุณลักษณะพิเศษของนิสิต ควรเขียนให้ เห็น
คุณลักษณะพิเศษทีโ่ ดดเด่ น
วิชยั วงษ์ใหญ่ : 2557
13. การพัฒนามาตรฐานผลการเรียนรู้ ในแต่ ละด้ าน
ควรเขียนให้ ชัดเจน และเป็ นประเด็นหลักๆ
เพือ่ นาไปจัดทา มคอ.3
14. การวิเคราะห์ แผนทีก่ ระจายความรับผิดชอบของหลักสู ตร
ควรวิเคราะห์ ภาระรับผิดชอบที่แท้ จริงเป็ นความรับผิดชอบหลัก
วิชยั วงษ์ใหญ่ : 2557
รายละเอียดของรายวิชา (มคอ. 3)
ข้ อมูลเกีย่ วกับแนวทางการบริหารจัดการของแต่ ละรายวิชา เพือ่ ให้ การจัด
การเรียนการสอนสอดคล้องและเป็ นไปตามที่วางแผนไว้ มีประเด็นสาคัญดังนี้
1. วัตถุประสงค์ และรายละเอียดของเนือ้ หาความรู้ในรายวิชา
2. แนวทางการปลูกฝังทักษะต่ างๆ ตลอดจนคุณลักษณะอืน่ ๆ
3. รายละเอียดเกีย่ วกับระยะเวลาทีใ่ ช้ ในการเรียน
วิธีการเรียนการสอนการวัดและประเมินผลในรายวิชา
4. หนังสื อสื่ อทางวิชาการอืน่ ๆ ที่จาเป็ นสาหรับการเรียนรู้
5. ยุทธศาสตร์ ในการประเมินและปรับปรุงรายวิชา
วิชยั วงษ์ใหญ่ : 2557
สาระสาคัญของรายละเอียดของรายวิชา (มคอ. 3)
หมวดที่
หมวดที่
หมวดที่
หมวดที่
หมวดที่
หมวดที่
หมวดที่
1
2
3
4
5
6
7
ข้ อมูลทัว่ ไป
จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์
ลักษณะและการดาเนินการ
การพัฒนาผลการเรียนรู้ ของนักศึกษา
แผนการสอนและการประเมินผล *
ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน
การประเมินและปรับปรุงการดาเนินการของรายวิชา
วิชยั วงษ์ใหญ่ : 2557
หลักการพัฒนา มคอ. 3
1. สอดคล้ องกับ main concept ของคาอธิบายรายวิชา
ใน มคอ. 2
2. สอดคล้ องกับ curriculum mapping ใน มคอ. 2
วิชยั วงษ์ใหญ่ : 2557
ระบบการจัดทารายละเอียดของรายวิชา (มคอ. 3)
คาอธิบายรายวิชา
Curriculum mapping
วัตถุประสงค์ ของรายวิชา
จุดประสงค์ การเรียนรู้
กิจกรรมการเรียนรู้
การวัดและประเมินผล
รายงานผลการดาเนินการของรายวิชา
(มคอ. 5)
ความหมายของหน่ วยกิตกับเวลาและการสอน
3(3 – 0 – 6)
ลส๗๐๑ กระบวนทัศน์ ใหม่ ในการพัฒนาหลักสู ตร
หน่ วยกิต บรรยาย ปฏิบัติ ศึกษาด้ วยตนเอง
เวลาเรียน
1 ปี การศึกษา
1 ภาคการศึกษา
สอบกลางภาค/ปลายภาค
วันหยุด/กิจกรรม
เวลาใช้ สอนจริง
มี 2 ภาคเรียน
มี 18 สั ปดาห์
1 สั ปดาห์
1 สั ปดาห์
มี 16 สั ปดาห์
จานวนชั่วโมงที่ใช้ สอนจริง
บรรยาย = 16 x 3 = 48 ชั่วโมง
ปฏิบัติ = 0
ศึกษาด้ วยตนเอง = 16 x 6 = 96 ชั่วโมง
วิชยั วงษ์ใหญ่: 2557
ลส701 กระบวนทัศน์ ใหม่ ในการพัฒนาหลักสู ตร 3(3 – 0 – 6)
1
ศึกษาวิเคราะห์ แนวคิด หลักการ ฐานคิดของการพัฒนาหลักสู ตรในยุคปัจจุบัน
2
3
วิเคราะห์ ทฤษฎีและรูปแบบหลักสู ตรทีส่ าคัญ การสั งเคราะห์ งานวิจัยเกีย่ วกับ
4
การพัฒนาหลักสู ตร การวิเคราะห์ สิ่งกาหนดหลักสู ตรเป็ นสารสนเทศในการ
ออกแบบหลักสู ตรของแต่ ละรูปแบบการศึกษาทีส่ อดคล้องกับภูมิสังคม
5
6
7
การสอบทานหลักสู ตร การวางแผนหลักสู ตร การบริหารจัดการหลักสู ตร
8
9
การจัดการเรียนรู้และประเมินผลการเรียนรู้ ระบบการประเมินและปรับปรุง
10
หลักสู ตร ภาวะผู้นาและคุณธรรมจริยธรรมของนักพัฒนาหลักสู ตร
ในฐานะวิชาชีพหนึ่งทีต่ ้ องมีความรับผิดชอบต่ อสั งคม
วิชยั วงษ์ใหญ่: 2557
การวิเคราะห์ จุดเน้ นของรายวิชาเพือ่ กาหนดผลลัพธ์ การเรียนรู้
รายวิชา ลส๗๐๑ กระบวนทัศน์ ใหม่ ในการพัฒนาหลักสู ตร 3(3 – 0 - 6)
คาอธิบายรายวิชา
มาตรฐานผลการเรียนรู้
ด้ านที่ 1 ด้ านที่ 2 ด้ านที่ 3 ด้ านที่ 4
ด้ านที่ 5
ศึกษาวิเคราะห์ แนวคิด หลักการ ฐานคิดของการพัฒนาหลักสู ตร
ในยุคปัจจุบัน วิเคราะห์ ทฤษฎีและรู ปแบบหลักสู ตรที่สาคัญ
การสั งเคราะห์ งานวิจัยเกีย่ วกับการพัฒนาหลักสู ตร การวิเคราะห์
สิ่ งกาหนดหลักสู ตรเป็ นสารสนเทศในการออกแบบหลักสู ตร
ของแต่ ละรู ปแบบการศึกษาที่สอดคล้ องกับภูมิสังคม
การสอบทานหลักสู ตร การวางแผนหลักสู ตร การบริหารจัดการ
หลักสู ตร การจัดการเรียนรู้ และประเมินผลการเรียนรู้ ระบบการ
ประเมินและปรับปรุงหลักสู ตร ภาวะผู้นาและคุณธรรม
จริยธรรมของนักพัฒนาหลักสู ตรในฐานะวิชาชีพหนึ่ง
ที่ต้องมีความรับผิดชอบต่ อสั งคม
วิชยั วงษ์ใหญ่ : 2557
ความคิดรวบยอด (Concept)
หมายถึง ลักษณะร่ วมทีส่ าคัญของสิ่ งหนึ่งสิ่ งใด
ขาดองค์ ประกอบใดไม่ ได้
สามารถนาไปสรุปอ้ างอิงได้ (generalization)
เช่ น ดอกไม้ ประกอบด้ วย กลีบดอก เกสร และก้ านดอก
ฟังก์ ชัน คือ เซตของคู่อนั ดับทีส่ มาชิกตัวหน้ าไม่ ซ้ากัน
องค์ ประกอบของหลักสู ตร คือ จุดประสงค์ กิจกรรม
การประเมินผล
วิชยั วงษ์ใหญ่ : 2557
ภาวนามยปัญญา
การเชื่อมโยงองค์ ความรู้
ปัญญา (Wisdom)
สุ ตมยปัญญา
ความรู
้ (Knowledge)
ความคิ
ดรวบยอด
(Concept)
บริบท
สารสนเทศ (Information)
ทั่วไป
ข้ อมูล (Data)
การ
สั งเคราะห์
วิชยั วงษ์ใหญ่ : 2557
การเรียนรู้ ทฝี่ ังลึก Deep Knowledge
1. ข้ อมูล
2. หัวข้ อ
3. SUB CONCEPT
Deep Knowledge
4. MAIN CONCEPT
วิชยั วงษ์ใหญ่: 2557
ความลึกและมีเสน่ ห์
สองอย่ างนีส้ าคัญมาก
ลึกก็สาคัญไม่ แพ้เสน่ ห์
ความมีเสน่ ห์นีจ้ ะทาให้
ผู้เรียนอยากเรียนรู้ หรืออยากจะค้ นคว้ าต่ อ
วิชยั วงษ์ใหญ่ : 2557
ขุดบ่ อไม่ ลกึ ไม่ ถงึ นา้ ใส
นาด้ านลึกมาสร้ างแสงสว่ าง
เป็ นประโยชน์ แก่ สังคม
ปัจจุบันเรียกว่ า “องค์ ความร้ ู”
วิชยั วงษ์ใหญ่ : 2557
การสั งเคราะห์ ข้อมูล (Synthesis)
สิ่ งแตกต่ างดูเหมือน
เข้ ากันไม่ ได้
เข้ าถึงแก่ น (สาระ)
โดยไม่ มีความขัดแย้ ง
นามารวมภายใต้
แกนเดียวกัน
วิชยั วงษ์ใหญ่ : 2557
การสั งเคราะห์
ความสามารถสารวจแหล่งข้ อมูลทีห่ ลากหลาย
รู้ ว่าอะไรสาคัญควรแก่ความสนใจ
และนาข้ อมูลทั้งหมดมาประสานกันได้ อย่ างมีเหตุผล
สาหรับตนเองและผู้อนื่
วิชยั วงษ์ใหญ่ : 2557
เมอเรย์ เกล แมนน์ (Marray Gell Mann)
กล่ าวว่ า ใครทีร่ ู้จักสั งเคราะห์ ข้อมูลให้ ตวั เองได้ เก่ ง
จะกลายเป็ นบุคคลแนวหน้ า และสามารถสั งเคราะห์ ข้อมูล
ให้ ผู้อนื่ เข้ าใจได้ จะเป็ นครู นักสื่ อสาร และผู้นาทีม่ ีคุณค่ า
วิชยั วงษ์ใหญ่ : 2557
การสรุปเป็ นหลักการ
ความคิดรวบยอด
(Concept)
ความคิดรวบยอด
(Concept)
การถักทอ /
สอดผสาน
Weaving
หลักการ
(Principle)
ความคิดรวบยอด
(Concept)
หลักการ
123
หลักการ
123
หลักการ
123
ทฤษฎี
(Theory)
3(3 x- 0 x- 6)x
16 16 16
48 0 96
1
4
3
2
5
8
6
7
9
10
จานวนชั่วโมงเฉลีย่ แต่ ละ Concept = 48 / 10 = 4.8 ชั่วโมง
ผู้สอนสามารถปรับลด หรือเพิม่ ได้ ตามความเหมาะสม
วิธีการสอน
Discovery Learning
Storytelling
Team – based Learning
Research – based Learning
After Action Review วิชยั วงษ์ใหญ่: 2557
ลส701 กระบวนทัศน์ ใหม่ ในการพัฒนาหลักสู ตร 3(3 – 0 – 6)
สาระ
สาคัญ
วิธีการจัดการเรียนรู้
จานวนชั่วโมง
บรรยาย ศึกษาด้ วยตนเอง
1
การใช้ เรื่องเล่ า / การสื บเสาะหาความรู้ / การเรียนรู้ ที่เน้ นทีม /
การแลกเปลีย่ นเรียนรู้ / การถอดบทเรียน
6
12
2
การสื บเสาะหาความรู้ / การแลกเปลีย่ นเรียนรู้ / การถอดบทเรียน
3
6
3
การเรียนรู้ โดยใช้ วจิ ัยเป็ นฐาน / การแลกเปลีย่ นเรียนรู้ / การถอดบทเรียน
9
18
4
การเรียนรู้ โดยใช้ วจิ ัยเป็ นฐาน / การแลกเปลีย่ นเรียนรู้ / การถอดบทเรียน
3
6
5
การเรียนรู้ โดยใช้ วจิ ัยเป็ นฐาน / การเรียนรู้ ที่เน้ นทีม / การแลกเปลีย่ นเรียนรู้ /
การถอดบทเรียน
3
6
วิชยั วงษ์ใหญ่: 2557
สาระ
สาคัญ
วิธีการจัดการเรียนรู้
จานวนชั่วโมง
บรรยาย ศึกษาด้ วยตนเอง
6
การเรียนรู้ โดยใช้ วจิ ัยเป็ นฐาน / การเรียนรู้ ที่เน้ นทีม / การแลกเปลีย่ นเรียนรู้ /
การถอดบทเรียน
3
6
7
การเรียนรู้ โดยใช้ วจิ ัยเป็ นฐาน / การเรียนรู้ ที่เน้ นทีม / การแลกเปลีย่ นเรียนรู้ /
การถอดบทเรียน
9
18
8
การเรียนรู้ โดยใช้ วจิ ัยเป็ นฐาน / การเรียนรู้ ที่เน้ นทีม / การแลกเปลีย่ นเรียนรู้ /
การถอดบทเรียน
6
12
9
การเรียนรู้ โดยใช้ วจิ ัยเป็ นฐาน / การแลกเปลีย่ นเรียนรู้ / การถอดบทเรียน
3
6
10
การใช้ เรื่องเล่ า / การแลกเปลีย่ นเรียนรู้ / การถอดบทเรียน
3
6
48
96
รวม
วิชยั วงษ์ใหญ่: 2557
จากการจัดทารายละเอียดของรายวิชา (มคอ.3)
ลส701 กระบวนทัศน์ ใหม่ ในการพัฒนาหลักสู ตร
นามาสร้ างเครื่องมือการวัด 4 ชนิด ซึ่งรายละเอียด
ของเครื่องมือวัดทั้ง 4 ชนิดจะปรากฏใน มคอ.5
1.
2.
3.
4.
แบบทดสอบ
แบบประเมินชิ้นงาน
แบบสั งเกต
แบบประเมินตนเอง
วิชยั วงษ์ใหญ่ : 2557
องค์ ประกอบของเครื่องมือการวัด
1.
2.
3.
4.
5.
6.
ชื่อของเครื่องมือวัด
คาชี้แจง
รายการวัด
เกณฑ์ การให้ คะแนน
เกณฑ์ การประเมิน
ผู้ประเมิน (ตนเอง เพือ่ น ผู้สอน ผู้เกีย่ วข้ อง)
วิชยั วงษ์ใหญ่ : 2557
การประเมินที่เสริ มพลังตามสภาพจริ ง
(Empowerment
Evaluation)
วิชยั วงษ์ใหญ่: 2557
หลักการวัดและประเมินผลทีเ่ สริมพลังตามสภาพจริง
(Empowerment Evaluation)
1. ตนเอง
หลายช่ วงเวลา
การปฏิบัติ
หลายช่ วงเวลา
2. ผู้สอน
หลายช่ วงเวลา
หลายช่ วงเวลา
การสั งเกต
การทดสอบ
รายงานตนเอง
การสื่ อสาร
การสะท้ อนผลการประเมิน
3. ผู้เกีย่ วข้ อง
วิชยั วงษ์ใหญ่ : 2557
สิ่ งใดทีว่ ดั ไม่ ได้ กป็ รับปรุงพัฒนาไม่ ได้
If you can’t measure, You can’t improve.
การประเมินไม่ ใช่ การพิสูจน์ แต่ เป็ นการปรับปรุงพัฒนา
Evaluation is not to prove, but to improve.
(Ebel, R.L. (1979). Essential and Education Measurement. 2nd. New jersey : Prentice Halls.)
วิชยั วงษ์ใหญ่ : 2557
Assessment for learning
Assessment as learning
Assessment of learning
การประเมินเพือ่ การเรียนรู้ (ระหว่ างทาง)
การประเมินขณะเรียนรู้ (ประเมินตนเอง)
การประเมินผลการเรียนรู้ (ปลายทาง)
Feed – up
Motivation
Checking for understanding
Feedback
Feed – forward
การแจ้ งวัตถุประสงค์ / ภาระงาน
สร้ างแรงจูงใจภายใน
ตรวจสอบความรู้พนื้ ฐาน
ให้ ผลย้ อนกลับ
ให้ แนวทางการพัฒนาต่ อยอด
วิชยั วงษ์ใหญ่ : 2556
ขั้นนาเข้ าสู่ บทเรียน
Feed – up
Motivation
ขั้นสอน
Checking for understanding
Feedback
ขั้นสรุป
Feed – forward
Feedback (students / teachers)
Reflection
Development
วิชยั วงษ์ใหญ่ : 2556
Original Bloom’s vs Revised Bloom’s Taxonomy
Evaluation
Creativity
Synthesis
Evaluation
Analysis
Analyzing
Comprehension
Understanding
Knowledge
Remembering
Original Version
Revised Version
Anderson, David and Kralhwohl. 2001
วิชยั วงษ์ใหญ่ : 2556
แบบประเมินการแก้ ปัญหา
กลุ่มที่ ………...
วัน ……. เดือน ……….. ปี ………...
ชื่อผู้เรียน 1. ………………. 2. ………….…………
3. ……………….. 4. …………..………..
คาชี้แจง บันทึกการปฏิบัตงิ านของผู้เรียนแต่ ละคนในกลุ่มตามเกณฑ์ ที่ระบุ โดยเขียนเลขระบุระดับคุณภาพ
ให้ 3 คะแนน เมื่อปฏิบัตไิ ด้ ด้วยตนเอง และสามารถให้ ความช่ วยเหลือเพือ่ นได้
ให้ 2 คะแนน เมื่อปฏิบัตไิ ด้ ด้วยตนเองภายหลังได้ รับคาแนะนา
ให้ 1 คะแนน เมื่อปฏิบัตไิ ด้ เมื่อศึกษาตัวอย่ างประกอบ
รายการ
เลขทีผ่ ้ ูเรียน (กรอกเลขทีข่ ้ างบน)
เลขที่ 1
เลขที่ 2
เลขที่ 3
เลขที่ 4
1. แสดงความเข้ าใจปัญหา
2. วางแผนและลงมือปฏิบัติ
3. ใช้ ความพยายามในการแก้ ปัญหา
4. อธิบายวิธีการแก้ ปัญหา
5. แสดงผลการแก้ ปัญหาได้ อย่ างชัดเจน
รวมคะแนน 15 คะแนน
วิชยั วงษ์ใหญ่ : 2557
แบบประเมินการคิดวิเคราะห์
คาชี้แจง 1. แบบสั งเกตนีใ้ ช้ สังเกตพฤติกรรมของผู้เรียนเกีย่ วกับ การคิดวิเคราะห์
ซึ่งใช้ ประเมินระหว่ างการเรียนรู้และหลังการเรียนรู้ โดยผู้เรียน เพือ่ น ผู้สอน
และผู้เกีย่ วข้ อง
2. จงใส่ ตัวเลขในช่ องผลการประเมินทีส่ ั งเกตพบจากพฤติกรรมของผู้เรียน
ชื่อ - สกุล
การ
การ
จาแนก จัดหมวดหมู่
ผลการประเมิน
การสรุป
การคาดการณ์
การประยุกต์ ใช้
อย่ างสมเหตุสมผล ในสถานการณ์ ใหม่ บนพืน้ ฐานข้ อมูล
วิชยั วงษ์ใหญ่ : 2557
เกณฑ์ การให้ คะแนนการคิดวิเคราะห์
ที่
รายการ
ระดับคะแนน
2
จาแนกความเหมือน
ความต่างได้ถูกต้อง
1
การจาแนก
1
จาแนกความเหมือน
ความต่าง
3
จาแนกความเหมือน
ความต่างและจัดเป็ นหมวด
หมู่ได้ถูกต้อง
2
การจัดหมวดหมู่
จัดเป็ นหมวดหมู่
จัดเป็ นหมวดหมู่ได้ถูกต้อง
3
การสรุ ป
อย่างสมเหตุสมผล
การสรุ ป
การสรุ ปได้
อย่างสมเหตุสมผล
อธิบายลักษณะของแต่ละ
หมวดที่จดั ได้ถูกต้อง
อธิบายเหตุผลชัดเจนในการ
สรุ ปอย่างสมเหตุสมผล
4
การประยุกต์ใช้
ในสถานการณ์ใหม่
การประยุกต์ใช้
ในสถานการณ์ใหม่
การประยุกต์ใช้
ในสถานการณ์ใหม่
ได้อย่างเหมาะสม
อธิบายเหตุผลการประยุกต์
ใช้ในสถานการณ์ใหม่
ได้อย่างชัดเจน
5
การคาดการณ์
บนพื้นฐานข้อมูล
ใช้ขอ้ มูลเพียงเล็กน้อย
ในการคาดการณ์
ใช้ขอ้ มูลเพียงสองด้าน
ในการคาดการณ์
ใช้ขอ้ มูลหลายด้าน
ในการคาดการณ์
วิชยั วงษ์ใหญ่ : 2557
แบบประเมินจิตอาสา
คาชี้แจง 1. แบบประเมินนีม้ ีผู้ประเมิน 3 ฝ่ าย คือ ตนเอง เพือ่ น และครู ข้ อมูลการประเมินมาจาก 3 ฝ่ าย
เพือ่ พิจารณาในการตัดสิ นผลการประเมิน
2. จงเขียนระดับคะแนนลงในช่ องผลการประเมิน ดังนี้
1 คะแนน หมายถึง ปฏิบัติเมื่อได้ รับการร้ องขอ
2 คะแนน หมายถึง ปฏิบัตเิ มื่อมีตวั แบบจากบุคคลอืน่
3 คะแนน หมายถึง ปฏิบัติด้วยตนเอง และเป็ นแบบอย่ างที่ดขี องเพือ่ น
ผลการประเมิน
ชื่อ - สกุล
แบ่ งปัน
สิ่ งของ
ให้ ความ
ช่ วยเหลือ
ให้ คา
แนะนา
ให้ ความรู้สึกทีด่ ี
ความคิดทางบวก
ลงชื่อผู้ประเมิน ................................................................... (ตนเอง เพือ่ น ผู้สอน)
รวม
วิชยั วงษ์ใหญ่ : 2557
แบบประเมินความมีวนิ ัย
คาชี้แจง 1. แบบประเมินนีม้ ีผู้ประเมิน 3 ฝ่ าย คือ ตนเอง เพือ่ น และครู ข้ อมูลการประเมินมาจาก 3 ฝ่ าย
เพือ่ พิจารณาในการตัดสิ นผลการประเมิน
2. เขียนระดับคะแนนลงในช่ องผลการประเมิน ดังนี้
1 คะแนน หมายถึง ปฏิบัตใิ นพฤติกรรมที่ประเมินเมื่อได้ รับการชักชวนจากเพือ่ นหรือครู
2 คะแนน หมายถึง ปฏิบัตใิ นพฤติกรรมที่ประเมินเมื่อมีตวั แบบจากเพือ่ นหรือครู
3 คะแนน หมายถึง ปฏิบัตใิ นพฤติกรรมที่ประเมินอย่ างสม่าเสมอด้ วยตนเอง
ผลการประเมิน
ชื่อ - สกุล
ตั้งใจ
ปฏิบตั ิงาน
ในการเรียนรู้ บรรลุเป้ าหมาย
อดทน
ต่ อสิ่ งยัว่ ยุ
ลงชื่อผู้ประเมิน ................................................................... (ตนเอง เพือ่ น ผู้สอน)
รับผิดชอบ
ต่ อตนเอง
และส่ วนรวม
รวม
วิชยั วงษ์ใหญ่ : 2557
แบบสั งเกตความรับผิดชอบในการทางาน
คาชี้แจง เขียนคะแนนความรับผิดชอบในการทางานแต่ ละด้ านลงในช่ องผลการประเมิน
1 คะแนน หมายถึง แสดงพฤติกรรมที่ประเมินเมือ่ ได้ รับคาสั่ ง
2 คะแนน หมายถึง แสดงพฤติกรรมทีป่ ระเมินเมือ่ ได้ รับการกระตุ้น
3 คะแนน หมายถึง แสดงพฤติกรรมที่ประเมินได้ ด้วยตนเอง
ความรับผิดชอบในการทางาน
ชื่อ - สกุล
ตั้งใจทางาน ทางาน
ปฏิบตั ิงาน
ที่มอบหมาย เป็ นขั้นตอน เต็มความสามารถ
งานเสร็จ
ตรงเวลา
รวม
วิชยั วงษ์ใหญ่ : 2557
ข้ อสั งเกตบางประการเกีย่ วกับ
การจัดทา มคอ. 3 และ มคอ. 5
1. การเขียนจานวนหน่ วยกิตของรายวิชา ควรเขียนตัวเลข
ในวงเล็บให้ ครบ 3 ตัว เช่ น 3(3-0-6) หรือ 3(2-2-5)
ซึ่งจะสะท้ อนการจัดการเรียนการสอนทีช่ ัดเจน เป็ นระบบ
2. การเขียนความมุ่งหมายของรายวิชา ควรเขียนในลักษณะ
ผลการเรียนรู้ ในภาพรวมของรายวิชาครอบคลุม
มาตรฐานผลการเรียนรู้ ทุกด้ าน
วิชยั วงษ์ใหญ่ : 2557
3. การเขียนวัตถุประสงค์ ของรายวิชา ควรใช้ คากริยา
(Action Verbs) ทีส่ ะท้ อนระดับการคิดวิเคราะห์
คิดสั งเคราะห์ คิดสร้ างสรรค์
(ศึกษาเพิม่ เติมจาก Bloom’s Taxonomy)
4. การคานวณชั่วโมงสาหรับการบรรยาย การฝึ กปฏิบัติ
และการศึกษาด้ วยตนเอง ควรมีความสอดคล้ องกับ
ตัวเลขในวงเล็บของจานวนหน่ วยกิตแต่ ละรายวิชา
วิชยั วงษ์ใหญ่ : 2557
5. การกาหนดกลยุทธ์ การประเมินผลการเรียนรู้ ในแต่ ละด้ าน
ควรให้ ความสาคัญกับ “การประเมินตนเอง” ซึ่งมีจุดเน้ น
ทีเ่ ป็ นการประเมินเพือ่ การเรียนรู้
6. การกาหนดวิธีการจัดการเรียนการสอน ควรกาหนดให้
ชัดเจนว่ าแต่ ละหัวข้ อ หรือ main concept จะใช้ วธิ ีการใด
และควรมีความสอดคล้ องกับลักษณะเฉพาะของหัวข้ อ
หรือ main concept นั้น
วิชยั วงษ์ใหญ่ : 2557
7. การวิเคราะห์ ปัญหาของการใช้ วธิ ีสอน ควรมุ่งเน้ น
การวิเคราะห์ เกีย่ วกับประสิ ทธิภาพของวิธีการสอนที่ใช้
กับลักษณะเฉพาะของ main concept ทีส่ อน
ซึ่งควรมีความสอดคล้ องกัน นอกจากนีค้ วรวิเคราะห์
ในประเด็นทีเ่ กีย่ วข้ องกับกระบวนการเรียนรู้ ของผู้เรียน
เช่ น กระบวนการวิเคราะห์ การแลกเปลีย่ นเรียนรู้
วิชยั วงษ์ใหญ่ : 2557
ศาสตร์ การสอน (Pedagogy)
1. การเรียนรู้ ต้องมีวตั ถุประสงค์ ทเี่ ป็ นเป้าหมาย
เพือ่ กาหนดผลลัพธ์ การเรียนรู้ (learning outcomes)
2. การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ ต้องสอดคล้องและบรรลุวตั ถุประสงค์
(on task)
3. การประเมินต้ องสอดคล้ องกับวัตถุประสงค์
4. การสร้ างพิมพ์เขียวการประเมินจะทาให้ การสร้ างเครื่องมือมีคุณภาพ
ได้ สารสนเทศจากการประเมินมาพัฒนาผู้เรียน
และปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน
วิชัย วงษ์ ใหญ่ : 2556
Pedagogy Content Knowledge (PCK)
-
มีความรู้เกีย่ วกับคุณลักษณะของผู้เรียน
มีความรู้ในสาระทีล่ กึ ซึ้ง
มีความรู้ความสามารถในวิธีสอน
ช่ วยให้ ผู้เรียนเรียนรู้เพิม่ ขึน้
มีความสามารถทีจ่ ะให้ ผู้เรียนมีประสบการณ์ การเรียนรู้
การแสวงหาความรู้ การค้ นพบความรู้
วิชยั วงษ์ใหญ่ : 2556
Research
Knowledge
Technological
Knowledge
RK
TK
RTPCK
CK
Content
Knowledge
PK
Pedagogical
Knowledge
วิชยั วงษ์ใหญ่ : 2556
Research knowledge
ความรู้เกีย่ วกับการวิจัย
- การวิจัยเพือ่ พัฒนาการเรียนรู้ ของผู้เรียน
Technological Knowledge
ความรู้เกีย่ วกับเทคโนโลยี
- การเข้ าถึงและรู้เท่ าทันเทคโนโลยี และนามาใช้ ให้ เหมาะกับการจัดการเรียนรู้
Pedagogical Knowledge
ความรู้เกีย่ วกับวิธีสอน
- สามารถคัดสรรวิธีสอนทีเ่ หมาะกับผู้เรียนและบริบทของพืน้ ที่
Content Knowledge
ความรู้จริงเกีย่ วกับสาระทีส่ อน รวมทั้งความรู้ใหม่ ทเี่ กิดขึน้
- สามารถนา concept ทีเ่ หมาะกับความสามารถทางการเรียนรู้ของผู้เรียน
แต่ ละคน แม้ แต่ concept ทีล่ กึ ต้ องปรับ (modify) ให้ เหมาะกับผู้เรียนแต่ ละกลุ่ม
สามารถเข้ าถึงได้
วิชยั วงษ์ใหญ่ : 2556
เทคนิคการปรับ (modify) การออกแบบการจัดการเรียนรู้
1. การเพิม่ (Add) ในสิ่ งทีเ่ ป็ นความรู้ใหม่ และจาเป็ นต่ อผู้เรียน
2. การลด (Subtract) สาระ concept ทีร่ ู้แล้ว รวมทั้งกิจกรรมทีไ่ ม่ จาเป็ น
3. การบูรณาการ (Integration) ผสมผสาน concept กิจกรรม การประเมิน
ระหว่ างการจัดการเรียนรู้ เพือ่ ตอบสนองความต้ องการ และช่ วยเหลือ
ผู้เรียนแต่ ละบุคคล
4. การหลอมรวม (Infuse) ผสมผสานในสิ่ งทีใ่ กล้เคียงกันให้ มีความชัดเจน
และลดเวลาการทากิจกรรมรวมทั้งการประเมินที่ซ้าซ้ อน
วิชัย วงษ์ ใหญ่ : 2556
Approach Method Technique
แนวการสอน (Approach) เป็ นแนวเสนอแนะ
(guideline) ที่มีลกั ษณะกว้ างๆ ใหญ่ กว่ าวิธีสอน
(Method) เป็ นรู ปแบบและวิธีการทีช่ ัดเจน
ส่ วนเทคนิค (Technique) เป็ นกิจกรรม
ที่ใช้ ในการจัดการเรียนการสอน
ในแต่ ละรู ปแบบวิธีการสอน
วิชยั วงษ์ใหญ่ : 2556
“การเรียนรู้ ”
ไม่ จากัดอยู่เฉพาะห้ องสี่ เหลีย่ ม
การเรียนรู้ มอี ยู่รอบตัว
จะเกิดทีช่ ุ มชนหรือทีบ่ ้ าน
สามารถนาไปปรับใช้ กบั ชีวติ ได้ จริง
วิชยั วงษ์ใหญ่ : 2556
จุดเน้ นการเรียนรู้
การเรียนรู้ รากเหง้ า รู้ เท่ าทันโลกาภิวฒ
ั น์
การเรียนรู้ จากความจา แล้ วทาอะไรไม่ ได้
การเรียนรู้ จกั ตัวเอง พัฒนาภายใน เจริญสติ
การอยู่ร่วมกับธรรมชาติ ยอมรับความแตกต่ าง
ความหลากหลายในพหุวฒ
ั นธรรม
วิชยั วงษ์ใหญ่: 2556
การเรียนรู้ ในสั งคมพหุวฒ
ั นธรรม
1. การเรียนแบบ Multi Disciplinary Team
2. ปัจจุบันและอนาคต จะต้ องทางานกับคนในสั งคมพหุวฒ
ั นธรรม
3. การเรียนรู้ ทจี่ ะฟังจากคนอืน่ ฟังเรื่องราวทีเ่ ราไม่ เชื่อ
จากบุคคลอืน่ นวัตกรรมจึงจะเกิดขึน้
4. การมีโครงการทาร่ วมกัน ความหลากหลายทางความคิด
นามาร่ วมกันแก้ ปัญหาทีซ่ ับซ้ อนของโลกปัจจุบนั และอนาคต
วิชยั วงษ์ใหญ่ : 2556
เป้ าหมาย
การเรียนรู้ทเี่ น้ นผู้เรียนเป็ นสาคัญ (ตัวชี้วดั )
1. มีวธิ ีการคิด
(การคิดระดับสู ง)
2. มีวธิ ีการเรียนรู้
(บุคคลแห่ งการเรียนรู้ )
3. มีการแลกเปลีย่ นเรียนรู้
(ทักษะทางสั งคม)
4. มีคุณลักษณะ / สมรรถนะที่พงึ ประสงค์
วิชยั วงษ์ใหญ: 2557
ศักยภาพ + ...
Solid
สมรรถภาพ + ...
Solid
ความสามารถ + ...
Solid
ความรู้ + ความเข้ าใจ + ...
วิชยั วงษ์ใหญ่: 2557
EDUCARE
EDUCATION
วิชยั วงษ์ใหญ่: 2557
SAGE ON THE STAGE
GUIDE ON THE SIDE
วิชยั วงษ์ใหญ่: 2557
ตุมเหหิ กิจจ กาตพพ
ผู้ทา คือพวกเธอทั้งหลาย
อกขาตาโร ตถาคตา
ตถาคต เป็ นเพียงผู้ชี้บอกเท่ านั้น
วิชยั วงษ์ใหญ่: 2557
เกณฑ์ การเลือกวิธีการสอน
พิจารณา keywords ใน curriculum mapping
และ main concept ทีส่ อนในแต่ ละหน่ วยการเรียนรู้
เช่ น การเรียนรู้ด้วยตนเองอย่ างต่ อเนื่อง
ควรเลือกใช้ วธิ ีการสอนแบบเน้ นปัญหาเป็ นฐาน
(Problem – based learning: PBL)
ลาดับขั้นการเรียนรู้ ส่ ู การรู้ คดิ
ความซับซ้ อน
(Anderson, LW. and Krathwohl. 2001)
การสร้ างสรรค์
การประเมิน
การวิเคราะห์
การประยุกต์ ใช้
ความเข้ าใจ
ความจา
วิชยั วงษ์ใหญ่ : 2557
ความซับซ้ อน (Complexity)
กระบวนการทางความคิดที่สมอง
ใช้ เพือ่ กาหนดรายละเอียดของข้ อมูล
ในประเด็นเดิมทีม่ คี วามซับซ้ อนอยู่
ให้ มีความละเอียดและมีความสลับซับซ้ อนมากยิง่ ขึน้
วิชัย วงษ์ ใหญ่ : 2557
คากริยาที่ใช้ ในการออกแบบกิจกรรมและการประเมิน
การสร้ างสรรค์
ออกแบบ สร้ างสรรค์ ประดิษฐ์ ทาโปรแกรม แอนนิเมชั่น จัดพิมพ์
การประเมินค่ า
ประเมิน ตรวจสอบ ตั้งสมมติฐาน ตัดสิ น ดาเนินการ สร้ างเครือข่ าย
รีววิ ทบทวน สอบสวน
การวิเคราะห์
เปรียบเทียบ จัดกลุ่ม จับคู่ ทาสั งเขป วิศวกรรมข้ อมูล บูรณาการ จัดโครงสร้ าง
การประยุกต์ ใช้
คานวณ ใช้ ดาเนินการ บริหารข้ อมูล นาไปปฏิบตั ิ
ความเข้ าใจ
สรุปความ ตีความ อ้ างอิง ขยายความ รายงานข้ อมูล เสนอแนะ ค้ นหาข้ อมูล
ความจา
นิยาม บรรยาย แยกแยะ จัดกลุ่ม ค้ นหาข้ อมูล ชี้ให้ เห็น การศึกษาข้ อมูล จัดทา
วิชยั วงษ์ใหญ่ : 2557
พลังการเรียนรู้
ปริมาณการเรียนรู้
การรับสาร
การเรียนรู้
จากสื่ อ
การ
ปฏิบัติ
บรรยาย
5%
การอ่าน
การใช้ สื่อเคลือ่ นไหว
การสาธิต
10%
20%
30%
การอภิปรายกลุ่ม
การฝึ กปฏิบัติ
การถ่ ายทอดบุคคลอืน่ / การแลกเปลีย่ นเรียนรู้
50%
75%
90%
วิชัย วงษ์ ใหญ่ : 2557
การใช้ ภูมปิ ัญญาไทยแสวงหาความรู้
การแสวงหาความรู้ ทางการสั มผัสทางตา หู จมูก ลิน้ กาย ใจ
1. สุ ตะ คือ การฟังอย่ างตั้งใจ (deep listening) และการอ่ าน
2. จินตะ คือ การคิดอย่ างมีวจิ ารณญาณ
3. ปุจฉา คือ การตั้งคาถาม สื บค้ นหาข้ อมูล
4. ลิขติ คือ การจดบันทึกความรู้ ด้วยความเข้ าใจจากการฟัง
การคิด การตั้งคาถาม และสื บค้ นข้ อมูล
ฟังให้ หมด จดให้ มาก ปากต้ องไว ใจต้ องคิด
วิชัย วงษ์ ใหญ่ : 2557
การปฏิรูปการศึกษาในศตวรรษที่ 21
รู ปแบบการจัดการศึกษาเป็ นการเรียนรู้ ตลอดชีวติ ทีย่ งั่ ยืน
ผู้สอนจะต้ องปรับตัวต่ อการปฏิรูปการศึกษา 4 ประเด็น
1. เทคนิคการสอน ต้ องร่ วมสมัย
2. วัฒนธรรม การเรียนรู้ และการทางาน
3. การเมือง จะกระทบภารงานของผู้สอนมากขึน้
4. ทรัพยากร ทีจ่ ะสนับสนุนการเรียนรู้
ศ.ดร. เชง อิน ชอง ประธาน World Education
วิชัย วงษ์ ใหญ่ : 2557
อนาคตการทางานในศตวรรษที่ 21
ประเทศที่พฒ
ั นาแล้ ว
งาน
สร้ างสรรค์
งานประจา
ทาโดยแรงงานคน
• การวิจัย
• การพัฒนา
• การออกแบบ
• การตลาดและงานขาย
• การบริหารห่ วงโซ่ อุปทาน
งานประจา
ทาโดยเครื่องจักร
ประเทศที่กาลังพัฒนา
ตัวอย่ างการจัดทา
รายละเอียดของรายวิชา (มคอ. 3)
วิชยั วงษ์ใหญ่ : 2557
รายงานผลการดาเนินการของรายวิชา (มคอ. 5)
รายงานผลการดาเนินการของรายวิชา (course report)
หมวดที่ 1 ข้ อมูลทัว่ ไป
หมวดที่ 2 การจัดการเรียนการสอนทีเ่ ปรียบเทียบกับแผนการสอน
หมวดที่ 3 สรุ ปผลการจัดการเรียนการสอนของรายวิชา
หมวดที่ 4 ปัญหาและผลกระทบต่ อการดาเนินการ
หมวดที่ 5 การประเมินรายวิชา
หมวดที่ 6 แผนการปรับปรุง
วิชัย วงษ์ ใหญ่ : 2557
จุดเน้ นของ มคอ. 5
1. ประสิ ทธิผลของวิธีสอน
2. ข้ อเสนอการดาเนินการเพือ่ ปรับปรุงวิธีสอน
3. การทวนสอบผลสั มฤทธิ์ของนักศึกษา
4. ผลการประเมินรายวิชาโดยนักศึกษา (แนบเอกสาร)
5. ผลการประเมินรายวิชาโดยวิธีอนื่
6. การปรับปรุ งรายวิชาในการสอนครั้งต่ อไป
วิชัย วงษ์ ใหญ่ : 2557
การทวนสอบ
คือ การตรวจสอบยืนยัน
ความถูกต้ องของ
ผลการประเมินผู้เรียน
ตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ ทกี่ าหนด
โดยใช้ ข้อมูลเชิงประจักษ์
วิชยั วงษ์ใหญ่ : 2557
ตัวอย่ างการจัดทา
รายละเอียดของรายวิชา (มคอ. 5)
วิชยั วงษ์ใหญ่ : 2557
รายงานผลการดาเนินการของหลักสู ตร (มคอ. 7)
รายงานผลการดาเนินการของหลักสู ตร (program report) (ทาทุกปี การศึกษา)
หมวดที่ 1 ข้ อมูลทัว่ ไป
หมวดที่ 2 ข้ อมูลเชิงสถิติ
หมวดที่ 3 การเปลีย่ นแปลงทีม่ ีผลกระทบต่ อหลักสู ตร
หมวดที่ 4 ข้ อมูลสรุ ปรายวิชาของหลักสู ตร
หมวดที่ 5 การบริหารหลักสู ตร
หมวดที่ 6 สรุ ปการประเมินหลักสู ตร
หมวดที่ 7 คุณภาพการสอน
หมวดที่ 8 ข้ อคิดเห็น และข้ อเสนอแนะเกีย่ วกับคุณภาพหลักสู ตรจากผู้ประเมินอิสระ
หมวดที่ 9 แผนการดาเนินการเพือ่ พัฒนาหลักสู ตร
วิชัย วงษ์ ใหญ่ : 2557
มคอ. 5
รายวิชา
ประสบการณ์ ภาคสนาม
มคอ. 7
หลักสู ตร
มคอ. 6
วิชัย วงษ์ ใหญ่ : 2557
จุดเน้ นของ มคอ. 7
1. ภาวการณ์ ได้ งานทาของบัณฑิตภายในระยะ 1 ปี หลังสาเร็จการศึกษา
2. ประสิ ทธิผลของกลยุทธ์ การสอน
3. การปฐมนิเทศอาจารย์ ใหม่
4. กิจกรรมการพัฒนาวิชาชีพของอาจารย์ และบุคลากรสายสนับสนุน
5. ข้ อเสนอในการพัฒนาหลักสู ตร
วิชัย วงษ์ ใหญ่ : 2557
Thank You
For Your Attention
I’ll see you again
Keep Going
PBL
Problem-Based Learning
การเรียนการสอนแบบ PBL
แต่ ละโครงการ (Project) ใช้ เวลาตั้งแต่ 2 - 5 ชั่วโมง หรือบางปัญหาก็ใช้ เวลา 2 วัน ถึง 2 สั ปดาห์
ลักษณะของ PBL
1.
2.
3.
4.
ปัญหาเริ่มตรงจุด
เป็ นปัญหาทีผ่ ู้เรียนมีความเกีย่ วข้ องอย่ างแท้ จริง
ความรู้ทผี่ ู้เรียนได้ รับมาจากการจัดการกับปัญหาไม่ ใช่ สาขาวิชา
ผู้เรียนในฐานะกลุ่มบุคคลจะต้ องมีความรับผิดชอบเกีย่ วกับการเรียนการสอน
และการเรียนรู้ของตนเอง
5. การประสบความสาเร็จในเรียนรู้ทยี่ ากๆ มักจะมาจากการเรียนรู้ด้วยกระบวนการกลุ่ม
มากกว่ าการบรรยาย
ผู้เรียน มีบทบาทเป็ นผู้นา ผู้อานวยความสะดวกของกลุ่ม การบันทึก และเป็ นสมาชิกของกลุ่ม
การประเมิน โดยเพือ่ น ผู้สอน และการประเมินตนเองซึ่งใช้ เทคนิควิธีการประเมินอย่ างหลากหลาย
วิชยั วงษ์ใหญ่ : 2555
PROBLEM BASED
LEARNING APPROACH
Pose the problem
Refine the areas of investigation
Outline the questions to ask
Begin to collect and collate data
Look for situations
Establish recommendation
Make a report
Start again
วิชยั วงษ์ใหญ่ : 2555
ขั้นตอนการสอนแบบใช้ ปัญหาเป็ นหลัก
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
8.
9.
การทาความเข้ าใจกับปัญหาและแนวคิดหลัก
การให้ คานิยามของปัญหาทั้งหมด
การวิเคราะห์ ปัญหา
การกาหนดสมมติฐาน
การพิจารณาลาดับความสาคัญของสมมติฐาน
การกาหนดจุดประสงค์ การเรียนรู้
การแสวงหาข้ อมูลเพิม่ เติมภายนอก ผ่ านกระบวนการกลุ่ม
การวิเคราะห์ ข้อมูล
การสรุ ปหลักการทีไ่ ด้ จากการแก้ ไขปัญหา
สามารถนาหลักการไปใช้ แก้ปัญหาในสถานการณ์ จริงได้
วิชยั วงษ์ใหญ่ : 2555
วงจรการเรียนรู้แบบ PBL
Problems Based Learning
สถานการณ์
Scenario
การเรียนรู้
ด้ วยตนเอง
การเรียน
กลุ่มย่ อย
วิชยั วงษ์ใหญ่ : 2555
5 ปัจจัย ทีส่ ่ งเสริมให้ เกิดการเรียนรู้ ใน PBL
1. ความรู้ เดิมของผู้เรียนทาให้ เข้ าใจข้ อมูลใหม่ ได้ เร็วขึน้
2. การจัดสถานการณ์ ทเี่ หมือนจริง
3. ส่ งเสริมการแสดงออกและการนาไปใช้
4. การให้ โอกาสผู้เรียนไตร่ ตรองคิดอย่ างลึกซึ้ง
แลกเปลีย่ นเรียนรู้ กบั เพือ่ นๆ
5. ผู้เรียนได้ วพิ ากษ์ วิจารณ์ สรุป ตอบสมมติฐานทีต่ ้งั ไว้
วิชยั วงษ์ใหญ่ : 2555
ลักษณะคาถามทีก่ ระตุ้นให้ เกิดการเรียนรู้
1. สั้ น ชัดเจน เข้ าใจง่ าย
2. ครอบคลุมเนือ้ หาจุดใดจุดหนึ่ง
3. เหมาะสมกับความรู้ ความสามารถของผู้เรียน
4. ไม่ มีลกั ษณะของการถามนา ชี้แนะคาตอบ
5. ไม่ เปิ ดโอกาสให้ เดา
6. ให้ เวลาคิดก่ อนตอบ
7. หลีกเลีย่ งการถามเรียงลาดับ
A (ASK) , P (Pause) , C (CALL)
วิชยั วงษ์ใหญ่ : 2555
การใช้ คาถามเพือ่ กระต้ ุนให้ ผ้ ูเรียนตอบ
1.
3.
5.
7.
หยุดให้ คดิ
ถามซ้า
บอกข้ อมูลเพิม่ เติม
กระตุ้นให้ ต้งั สมมติฐาน
พึงหลีกเลีย่ ง
1. เลือกที่รัก
3. ใช้ คาถามไม่ ได้ เรื่อง
2.
4.
6.
8.
บอกบท
เปลีย่ นรู ปคาถาม
ตั้งคาถามเพิม่ เติม
เปลีย่ นทิศทาง
2. ชอบจับผิด
4. ฟังไม่ เป็ น
วิชยั วงษ์ใหญ่ : 2555
การออกแบบชุดการเรียนแบบ PBL
1. ความคิดรวบยอดหลัก (Key concepts)
2. จุดประสงค์ การเรียนรู้ (Learning objectives)
3. การเขียนปัญหา/กรณีศึกษา (Scenario with trigger questions)
4. การตรวจสอบความสอดคล้ องระหว่ างความคิดรวบยอดกับจุดประสงค์
การเรียนรู้ (Checking learning concepts)
5. ทรัพยากรเพือ่ การเรียนรู้ (Learning resource หนังสื อ เอกสาร สไลด์ วีดทิ ศั น์
วัสดุ สถานที่ ตารางเรียน time table วิทยากร/ผู้รู้ (Human resource))
6. การประเมินผล (Student assessment)
วิชยั วงษ์ใหญ่ : 2555
การวิเคราะห์ ภารกิจการสอน
วิชา (Subject)
ความคิดรวบยอดหลัก
Main concept
ความคิดรวบยอดหลัก
Main concept
ความคิดรวบยอดหลัก
Main concept
ความคิดรวบยอดย่อย
Sub concept
ความคิดรวบยอดย่อย
Sub concept
ความคิดรวบยอดย่อย
Sub concept
แผนทีค่ วามคิดรวบยอด
Concept map
วิชยั วงษ์ใหญ่ : 2555
การเรียนรู้ ทเี่ น้ นปัญหาเป็ นหลัก PBL
ปัญหา / กรณี
ความคิดรวบยอด
1
ก
ข
2
3
4
ค
5
6
วิชยั วงษ์ใหญ่ : 2555
การเขียนปัญหา / กรณีศึกษา
ปัญหา/กรณี
Scenario
คาถามเพือ่ กระตุ้นความคิด
Trigger question
ความคิดรวบยอด
Learning concept
วิชยั วงษ์ใหญ่ : 2555
หลักการวัดและประเมินผลทีเ่ สริมพลังตามสภาพจริง
(Empowerment Evaluation)
1. ตนเอง
หลายช่ วงเวลา
การปฏิบัติ
หลายช่ วงเวลา
2. ผู้สอน
หลายช่ วงเวลา
หลายช่ วงเวลา
การสั งเกต
การทดสอบ
รายงานตนเอง
การสื่ อสาร
การสะท้ อนผลการประเมิน
3. ผู้เกีย่ วข้ อง
วิชยั วงษ์ใหญ่ : 2555
แบบประเมินการแก้ ปัญหา
กลุ่มที่ ………...
วัน ……. เดือน ……….. ปี ………...
ชื่อผู้เรียน 1. ………………. 2. ………….…………
3. ……………….. 4. …………..………..
คาชี้แจง บันทึกการปฏิบัตงิ านของผู้เรียนแต่ ละคนในกลุ่มตามเกณฑ์ ที่ระบุ โดยเขียนเลขระบุระดับคุณภาพ
ให้ 3 คะแนน เมื่อปฏิบัตไิ ด้ ด้วยตนเอง และสามารถให้ ความช่ วยเหลือเพือ่ นได้
ให้ 2 คะแนน เมื่อปฏิบัตไิ ด้ ด้วยตนเองภายหลังได้ รับคาแนะนา
ให้ 1 คะแนน เมื่อปฏิบัตไิ ด้ เมื่อศึกษาตัวอย่ างประกอบ
รายการ
เลขทีผ่ ้ ูเรียน (กรอกเลขทีข่ ้ างบน)
เลขที่ 1
เลขที่ 2
เลขที่ 3
เลขที่ 4
1. แสดงความเข้ าใจปัญหา
2. วางแผนและลงมือปฏิบัติ
3. ใช้ ความพยายามในการแก้ ปัญหา
4. อธิบายวิธีการแก้ ปัญหา
5. แสดงผลการแก้ ปัญหาได้ อย่ างชัดเจน
รวมคะแนน 15 คะแนน
วิชยั วงษ์ใหญ่ : 2555
แบบประเมินการคิดวิเคราะห์
คาชี้แจง 1. แบบสั งเกตนีใ้ ช้ สังเกตพฤติกรรมของผู้เรียนเกีย่ วกับ การคิดวิเคราะห์
ซึ่งใช้ ประเมินระหว่ างการเรียนรู้และหลังการเรียนรู้ โดยผู้เรียน เพือ่ น ผู้สอน
และผู้เกีย่ วข้ อง
2. จงใส่ ตัวเลขในช่ องผลการประเมินทีส่ ั งเกตพบจากพฤติกรรมของผู้เรียน
ชื่อ - สกุล
การ
การ
จาแนก จัดหมวดหมู่
ผลการประเมิน
การสรุป
การคาดการณ์
การประยุกต์ ใช้
อย่ างสมเหตุสมผล ในสถานการณ์ ใหม่ บนพืน้ ฐานข้ อมูล
วิชยั วงษ์ใหญ่ : 2555
เกณฑ์ การให้ คะแนนการคิดวิเคราะห์
ที่
รายการ
ระดับคะแนน
2
จาแนกความเหมือน
ความต่างได้ถูกต้อง
1
การจาแนก
1
จาแนกความเหมือน
ความต่าง
3
จาแนกความเหมือน
ความต่างและจัดเป็ นหมวด
หมู่ได้ถูกต้อง
2
การจัดหมวดหมู่
จัดเป็ นหมวดหมู่
จัดเป็ นหมวดหมู่ได้ถูกต้อง
3
การสรุ ป
อย่างสมเหตุสมผล
การสรุ ป
การสรุ ปได้
อย่างสมเหตุสมผล
อธิบายลักษณะของแต่ละ
หมวดที่จดั ได้ถูกต้อง
อธิบายเหตุผลชัดเจนในการ
สรุ ปอย่างสมเหตุสมผล
4
การประยุกต์ใช้
ในสถานการณ์ใหม่
การประยุกต์ใช้
ในสถานการณ์ใหม่
การประยุกต์ใช้
ในสถานการณ์ใหม่
ได้อย่างเหมาะสม
อธิบายเหตุผลการประยุกต์
ใช้ในสถานการณ์ใหม่
ได้อย่างชัดเจน
5
การคาดการณ์
บนพื้นฐานข้อมูล
ใช้ขอ้ มูลเพียงเล็กน้อย
ในการคาดการณ์
ใช้ขอ้ มูลเพียงสองด้าน
ในการคาดการณ์
ใช้ขอ้ มูลหลายด้าน
ในการคาดการณ์
วิชยั วงษ์ใหญ่ : 2555
RBL
Research – based Learning
การจัดการเรียนรู้ ทใี่ ช้ วจิ ัยเป็ นฐาน
จากพระราชบัญญัตกิ ารศึกษาแห่ งชาติ พุทธศักราช 2542
และทีแ่ ก้ ไขเพิม่ เติม พุทธศักราช 2545 มาตรา 24(5)
ผู้สอนต้ องมีกระบวนทัศน์ ใหม่ คือ
- การทางาน
- การจัดการเรียนการสอน
- การวิจยั
เป็ นเรื่องเดียวกัน
ตามรอยเบือ้ งพระยุคลบาทการทรงงาน
ของพระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยู่หัว
วิชยั วงษ์ใหญ่ : 2555
การวิจยั ของพระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยู่หัว
พระองค์ ทรงตั้งโจทย์ คือ
1.
2.
3.
4.
ทุกข์
สมุทยั
นิโรธ
มรรค
ปัญหา , แนวทางพัฒนา
เหตุปัจจัย SWOT
ตั้งเป้ าประสงค์ Target
วิธีทา ทางเลือก 2 - 4 ทาง
ด้ วยกระบวนการ PDCA
วิชยั วงษ์ใหญ่ : 2555
พระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยู่หัว
ทรงงานโดยใช้ การวิจัยเป็ นฐาน
โครงการพระราชดาริของพระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยู่หัว
ไม่ ล้มเหลวเพราะพระองค์ ทรงใช้ หลักอริยสั จสี่ ชัดเจน
สอดคล้ องกับหลัก
ภูมสิ ั งคม หมายถึง ภูมิประเทศและสิ่งแวดล้อม
ภูมิศาสตร์ ดิน นา้ ลม ไฟ ป่ า เขา
สั งคมศาสตร์ คน ครอบครัว ชุมชน ขนบธรรมเนียม
ประเพณี ภาษา วัฒนธรรม ความเชื่อ ค่ านิยม
วิชยั วงษ์ใหญ่ : 2555
วางแผน (Plan)
ปฏิบัติ (Do)
ถอดบทเรียน (Reflection)
ตรวจสอบ (Check)
ถอดบทเรียน
(Reflection)
ตรวจสอบ (Check)
วางแผน (Re Plan)
ปฏิบัติ (Do)
วางแผน (Re plan)
วิชยั วงษ์ใหญ่ : 2555
การจัดการเรียนรู้ และการวิจยั
การจัการวิ
ดการเรี
จัยยนรู้
สู่ คุณภาพ
วิชัย วงษ์ ใหญ่ : 2555
แนวการจัดการเรียนรู้ ทใี่ ช้ วจิ ยั เป็ นฐาน
1. ผู้สอนนาผลงานวิจัยของตนเอง
มาสนับสนุนการเรียนการสอน
2. Review งานวิจัยที่เกีย่ วข้ องมาใช้ ในการเรียนการสอน
3. ร่ วมมือกับผู้เรียนทาวิจัย หรือ ออกแบบโครงการวิจัย
ให้ ผู้เรียนปฏิบัตกิ ารวิจัย (armchair research)
เป็ นกระบวนการเรียนรู้
วิชยั วงษ์ใหญ่ : 2555
รูปแบบใช้ วจิ ยั เป็ นฐาน
(Research - Based Instruction Model)
1. การใช้ แหล่ งเรียนรู้
2. การเรียนรู้ ผ่านการฝึ กปฏิบัติ
3. การสอนโดยใช้ ผู้สอนเป็ นพีเ่ ลีย้ ง
(การสอนแบบโค้ ช)
4. การสอนแบบโครงงาน
วิชยั วงษ์ใหญ่ : 2555
ลักษณะการเรียนร้ ู โดยใช้ วจิ ยั เป็ นฐาน
1. การสอนโดยใช้ วธิ ีวจิ ัยเป็ นวิธีสอน
2. การสอนโดยผู้เรียนร่ วมทาโครงการวิจัยกับผู้สอน
หรือเป็ นผู้ร่วมโครงการวิจัยของผู้สอน
3. การสอนโดยผู้เรียนศึกษางานวิจัยของผู้สอน
และของนักวิจัยชั้นนา เกีย่ วกับสิ่ งที่ต้องการศึกษา
4. การสอนโดยใช้ ผลการวิจัยประกอบการสอน
วิชยั วงษ์ใหญ่ : 2555
จากงานประจาส่ ู งานวิจัย
Routine to Research (R2R)
R2R คือ การปรับปรุงหรือพัฒนางานประจา
โดยใช้ กระบวนการวิจัย
การสั งเกต งานประจา นาไปสู่ ปัญหาทีต่ ้ องการ
R2R เป็ นการวิจัยประยุกต์ (applied research)
วิชยั วงษ์ใหญ่ : 2555
P
P
P
A
D
A
A
D
D
C
C
C
วิชยั วงษ์ใหญ่ : 2555
การวิจยั คือ การแสวงหาคาตอบหรือข้ อเท็จจริง
โดยใช้ วธิ ีการทีเ่ ป็ นระบบ
การวิจัยทัว่ ไป
R2R
การสั งเกต
การสั งเกต
ปัญหาวิจัย
ปัญหาวิจัย
กาหนดสมมติฐาน
เก็บรวบรวมข้ อมูล
กาหนดตัวแปร
การวิเคราะห์ ข้อมูล
เก็บรวบรวมข้ อมูล
การนาผลไปใช้
การวิเคราะห์ เพือ่ ตอบวัตถุประสงค์
และทดสอบสมมติฐาน
วิชยั วงษ์ใหญ่ : 2555
สายธารแห่ งคุณค่ า R2R
เริ่ม
เรียนรู้ และจัดการ
กับการทางาน
ที่ไม่ สอดคล้ อง
ไม่ ไหลลืน่
และสู ญเสี ย (waste)
“เรื่องง่ ายกว่ า”
สิ้นสุ ด
ใช้ R2R
จัดการกับการทางาน
มีคุณภาพไม่ ดี
โดยเฉพาะทางานซ้า
(Rework)
“เรื่องยากขึน้ ”
วิชัย วงษ์ ใหญ่ : 2555
ผู้มสี ่ วนเกีย่ วข้ องกับ R2R
ผู้ปฏิบัติ
หัวหน้ า
ผู้บริหาร
หน่ วยงานอืน่ ที่เกีย่ วข้ อง
วิชยั วงษ์ใหญ่ : 2555
การมีจิตใจนักวิจัย (Research mind)
1. การบริโภคหรือใช้ งานวิจัยในการเรียนรู้และการทางาน
2. การมีส่วนร่ วมในกระบวนการวิจัย
3. การลงมือหรือการทาวิจัย
4. การมีจิตใจนักวิจัย
5. การสื่ อสารแลกเปลีย่ นหรือการเผยแพร่ งานวิจัย
วิชัย วงษ์ ใหญ่ : 2555
คุณลักษณะหรือสมรรถนะของครูนักวิจัย
(Teacher as Researcher)
1. การทางานของครู มีการวิจยั เป็ นพืน้ ฐานรวมอยู่ด้วย
2. ในการเรียนการสอนของครู นากระบวนการวิจยั
มาใช้ ในการจัดกระบวนการเรียนรู้
3. ในกระบวนการเรียนการสอน ครู จะแสวงหา
วิธีปฏิบัตกิ ารแก้ ปัญหา การปรับปรุงการเรียนการสอน
การพัฒนาวิธีการเรียนรู้ ของผู้เรียนอย่ างสม่าเสมอ
อย่ างเป็ นระบบและต่ อเนื่อง
วิชัย วงษ์ ใหญ่ : 2555
- การทางานโดยใช้ ความรู้ (ตารา ระบบข้ อมูล ประสบการณ์ )
- สร้ างความรู้ จากการทางาน (โดยการวิจยั / ไม่ วจิ ยั )
- นาความรู้ จากการวิจยั กลับไปปรับปรุงงาน
- เรียนรู้ จากการทางาน (นาความรู้ ใหม่ + ความรู้ เดิม)
- ระวังการสร้ างความรู้ โดยไม่ เกิดการเรียนรู้
- ระวังการทางานโดยไม่ สนใจการเรียนรู้
(เรียนรู้ เพือ่ นาไปใช้ งานกับการเรียนรู้ จากการทางาน)
วิชัย วงษ์ ใหญ่ : 2555
การทางานทีม่ คี ุณภาพ
1. เรียบง่ าย : Simplicity ทางานประจาให้ ง่ายขึน้
พัฒนาคุณภาพแบบเรียบง่ าย
2. สนุก
: Joy able สนุกเพือ่ ให้ ได้ สิ่งแปลกใหม่
มีความสุ ขจากการไม่ ถูกกดดัน
มีความสุ ขจากสั มพันธภาพการทางาน
สนุกเพราะมีความท้ าทาย
3. มีประสิ ทธิภาพ : Effective ผลดีต่อตัวเองและทีมงาน
ผลดีต่อผู้ร่วมงาน ผลดีต่อองค์ กร
4. สุ ขทางจิตใจ : Spiritual ฝ่ ากาแพงสู่ ความมีจติ ใจทีง่ ดงาม
วิชัย วงษ์ ใหญ่ : 2555
จงสารวจตนเองว่ าอยู่กลุ่มใดของการทาวิจยั
กลุ่มที่
กลุ่มที่
กลุ่มที่
กลุ่มที่
1
2
3
4
เก็บข้ อมูลไว้ แล้ ว แต่ ยงั ไม่ รู้ จะนาไปทาอะไรต่ อไปอย่ างไร
มีโครงการวิจยั มีหัวข้ อวิจยั แล้ ว แต่ ยงั ไม่ ได้ เริ่มทา
สนใจทีจ่ ะทาวิจยั มาก แต่ ยงั ไม่ ได้ มีโครงการแน่ นอน
สนใจทีจ่ ะทาวิจยั พอสมควร แต่ ไม่ ค่อยแน่ ใจว่ า
จะทาได้ หรือไม่
กลุ่มที่ 5 ไม่ ต้องการทาวิจยั และคิดว่ ายุ่งยาก และไม่ สนใจ
สรุป ทั้ง 5 กลุ่ม สามารถทาวิจยั ได้ สาเร็จ
โดยการเริ่มต้ นไม่ เหมือนกันและใช้ เวลาแตกต่ างกัน
วิชยั วงษ์ใหญ่ : 2555
กลุ่มที่ 1 นาข้ อมูลมาพิจารณาว่ าจะใช้ ประโยชน์ อะไรได้ บ้าง
ลองค้ นหาปัญหา
กลุ่มที่ 2 นาโครงการเดิมมาปรับ โดยเขียนให้ ชัดเจน มีการทบทวน
มีการทบทวนเอกสารที่เกีย่ วข้ องมากขึน้ เพือ่ วางแผน
การดาเนินการวิจัย
กลุ่มที่ 3 สารวจสั งเกต ปัญหาการทางานประจา วิเคราะห์ ปัญหา
ให้ ชัด เริ่มพัฒนาเป็ นโครงการวิจัย
กลุ่มที่ 4 อ่านเอกสารทีเ่ กีย่ วข้ องมากๆ เพือ่ กระตุ้นความคิดทาวิจัย
ศึกษาเรียนรู้จากผู้อนื่ สอบถามผู้รู้เพือ่ ให้ เกิดการเรียนรู้
แบบต่ อยอดความคิดของตนเอง
กลุ่มที่ 5 ลองคิดใหม่ อกี ครั้ง ศึกษาผลงานของผู้อนื่ พูดคุยกับผู้รู้
ผู้รู้ให้ ความช่ วยเหลือ มีคู่หูร่วมคิดร่ วมทา
วิชยั วงษ์ใหญ่ : 2555
ทางออกทีด่ ขี อง R2R
1. พยายามกระตุ้นให้ ผ้ ูปฏิบัตงิ านทีท่ าอยู่ประจาเป็ นงานวิจัย
2. สารวจ สั งเกตปัญหาในการทางานในปัจจุบันอยู่เสมอ
3. เก็บข้ อมูลทีด่ ี รายงานผลให้ เป็ นระบบ ในลักษณะการวิจัย
อาจใช้ สถิตปิ ระกอบการนาเสนอเพือ่ ให้ ชัดเจนมากขึน้
4. ศึกษางานของผู้อนื่ ทีท่ าได้ ดี
5. หาทีป่ รึกษา
6. ตระหนักเสมอว่ าถ้ าไม่ เริ่มงานที่ 1 จะไม่ มงี าน 2 , 3 ตามมา
วิชยั วงษ์ใหญ่ : 2555
TBL
Team – based Learning
กระบวนทัศน์ ใหม่ การเรียนรู้ ทเี่ น้ นทีม
(Team - Based Learning)
การปรับเปลีย่ นวัฒนธรรมการเรียนรู้จะต้ องเปลีย่ นฐานคิด 3 ประการ ดังนี้
1. จุดประสงค์ การเรียนรู้ ม่ ุงเน้ น Key concepts ทีจ่ ะเรียนรู้
2. ผู้สอนเป็ นผู้ให้ แนวคิดหลัก (concept) กับผู้เรียน
3. ผู้เรียนรับผิดชอบในการเรียนรู้ นา concept ไปทางานร่ วมกับผู้อนื่
วิชัย วงษ์ ใหญ่ : 2555
หลักการเรียนรู้ ทเี่ น้ นทีม
1. กาหนดขนาดของทีมทีเ่ หมาะสมในการจัดการเรียนรู้
2. ผู้เรียนต้ องแสดงความรับผิดชอบต่ อการเรียนของตนและของทีม
3. มอบหมายงานของทีม ให้ เสริมสร้ างการเรียนรู้
พัฒนาผู้เรียนแต่ ละคนและเหมาะสมกับทีม
4. ให้ ข้อมูลย้ อนกลับแก่ ผู้เรียนทันทีและสมา่ เสมอ
5. มีการสะท้ อนคิดซึ่งกันและกัน
วิชัย วงษ์ ใหญ่ : 2555
บทบาทของผู้เรียนและผู้สอนตามขนาดของกลุ่มโดยทัว่ ไป
ผู้สอน
กลุ่มใหญ่
กลุ่มกลาง
50 - 100
25 - 45
กลุ่มเล็ก รายบุคคล
กิจกรรม
ผู้เรียน
7 - 15
วิชัย วงษ์ ใหญ่ : 2555
ทีมทางาน (Work Team)
1. อาจมีความแตกต่ างกันในสถานภาพของคนที่มาทางานร่ วมกัน
2. ให้ ความสาคัญกับเป้าหมายของตนเองมากกว่าคนอืน่
3. การสื่ อความอาจจะสะดุดหรือไม่ ทั่วถึง
4. ความสาเร็จเป็ นของบุคคล
5. ต่ างคนต่ างแข่ งขันเพือ่ ให้ ตนเป็ นผู้ชนะ
วิชัย วงษ์ ใหญ่ : 2555
Teamwork : Work Team
การทางานเป็ นทีม (Teamwork)
1. สถานภาพของสมาชิกเท่ าเทียมกันมีความเสมอภาค
2. เป้าหมายของทีมและเป้าหมายส่ วนบุคคลมีความสาคัญเท่ ากัน
3. มีการสื่ อความทีช่ ัดเจน สม่าเสมอทัว่ ทุกคน
4. ทุกคนต้ องการความสาเร็จของทีม มิใช่ ส่วนบุคคล
5. สมาชิกในทีมจะแข่ งขันกันไม่ ได้ ต้ องแข่ งขันเพือ่ ทีม
วิชัย วงษ์ ใหญ่ : 2555
กระบวนการสร้ างทีม
1. เรียนรู้ จากประสบการณ์ ทผี่ ่ านมา
2. ขอคาปรึกษาจากผู้เชี่ยวชาญ
3. รู้ ว่าตนเองกาลังทาอะไร
4. เปิ ดโอกาสให้ สมาชิกมีส่วนร่ วม
5. รู้ จักจุดอ่ อนจุดแข็งของสมาชิก
6. คิดเป็ นระบบ
7. กระจายงานให้ กบั สมาชิกทุกคน
8. มีข้อยุตใิ นการเปิ ดรับความเห็น
9. ใช้ กลยุทธ์ ในการสื่ อสารอย่ างมีประสิ ทธิภาพ
10. ทบทวนหรือติดตามอย่างใกล้ชิด
11. สร้ างบรรยากาศทีส่ นุกสนาน
วิชัย วงษ์ ใหญ่ : 2555
การเรียนรู้ เป็ นทีม (Team Learning)
ทุกคนตระหนักถึง 1 + 1 ได้ ผลลัพธ์ มากกว่ า 2 (Synergy)
1. การถ่ ายทอดความรู้ และความรู้ สึก โดยเน้ นกระบวนการ (Process Oriented)
และเน้ นยา้ ระบบ (System Focus)
2. สร้ างวัฒนธรรมแห่ งความจริงใจ ทีม่ คี วามจริงแท้ ต่อกันอย่ างบริสุทธิ์ให้ ประจักษ์
3. มีความออมชอม ยอมในเรื่องทีค่ วรยอม แม้ เราจะเสี ยประโยชน์ ถ้าทีมได้ ประโยชน์
4. รับฟังด้ วยการปิ ดตา และเปิ ดใจ ไม่ สนใจเรื่องไร้ สาระที่ไม่ เป็ นผลดีต่อทีม
5. สร้ างกฎเกณฑ์ ทเี่ ป็ นธรรมเป็ นกลางในทีม เพือ่ การเรียนรู้ ร่วมกัน
6. ให้ ความร่ วมมือกับสมาชิกด้ วยดีอย่างสม่าเสมอ
7. เชื่อในพลังของทีมทีร่ ้ อยหัวใจเป็ นหนึ่งเดียว ไม่ ยดึ ติดทีต่ วั บุคคล
วิชัย วงษ์ ใหญ่ : 2555
8. มีความผูกพันส่ งเสริมสนับสนุนการทางานเป็ นทีม และเน้ นผลการตอบแทนเป็ นทีม
9. โครงสร้ างของทีมทีส่ นับสนุนวิธีคดิ วิธีการทางานอย่ างมืออาชีพ ลดความซ้าซ้ อน
และความสู ญเสี ย
10. ส่ งเสริมระบบการสื่ อสารระหว่ างบุคลากรภายในทีม
11. ส่ งเสริมการระดมสมองของทีมงาน
12. สร้ างเกณฑ์ และดัชนีการวัดผลที่ชัดเจน
13. สร้ างการยอมรับแก่ ทมี งานและสนับสนุนเสริมสร้ างกาลังใจในการทางาน
วิชัย วงษ์ ใหญ่ : 2555
ปฏิสัมพันธ์ ภายในทีม
T
S
D
R
Thinking
Speaking
Doing
Reflecting
การคิด
การพูด
การปฏิบัติ
การใคร่ ครวญตรวจสอบ
การคิด : คิดวิเคราะห์ คิดสร้ างสรรค์ คิดทบทวน คิดแก้ปัญหา คิดวางแผน
การพูด : การตั้งคาถาม การแสดงความคิดเห็น การพูดทีส่ ร้ างสรรค์ เสนอแนะ
การพูดแสดงความรู้ สึก
การปฏิบัติ : การวางแผน การทบทวน การปรับปรุ งงานโดยใช้ ข้อมูล / หลักวิชาการ
การใคร่ ครวญตรวจสอบ : การสะท้ อนผลงานของตนเอง (Show and share)
สิ่ งที่ได้ รับจากการกระทามีอะไรบ้ าง
การแลกเปลีย่ นเรียนรู้
การแสดงความชื่นชมผลงานตนเองและผู้อนื่
การสั งเคราะห์ ความรู้ มาปรับปรุ งพัฒนางาน วิชัย วงษ์ใหญ่ : 2555
ความคิดสร้ างสรรค์ นวัตกรรม และวัฒนธรรมการเรียนรู้ ใหม่
การเรียนรู้ เป็ นทีมจะส่ งผลกับผู้เรียนและทีมในทางบวก
คุณค่ าของการเรียนรู้ มี 2 ประการ คือ
1. ผู้เรียนได้ รับการกระตุ้นและสร้ างแรงจูงใจในการเรียนรู้
เตรียมตัวก่ อนเริ่มบทเรียน
2. ผู้เรียนได้ รับโอกาสการแบ่ งปันความรู้ การอภิปราย
เกิดการเรียนรู้ ว่าความรู้ ของแต่ ละบุคคลเป็ นสิ่ งทีม่ ีคุณค่ า
เว้ นเสี ยแต่ ผู้เรียนในทีมจะไม่ พูดออกมา
วิชัย วงษ์ ใหญ่ : 2555
ทีม (Team)
T : Trust ความไว้วางใจ
E : Effort พลังความทุ่มเท
A : Achievement ความสาเร็จ
M : Motivation แรงจูงใจ
วิชัย วงษ์ ใหญ่ : 2555
การเรียนรู้ ทเี่ น้ นทีม (TBL) ต้ องมีการไว้ วางใจซึ่งกันและกัน
มีความรู้ สึกมั่นใจทีจ่ ะแสดงความคิดเห็นของตน
และรับฟังความคิดเห็นของผู้อนื่ การมีปฏิสัมพันธ์ ของทีม
เป็ นไปในทางบวก ความรู้ ชัดเจนและเกิดผลดีในการเรียนรู้
ผู้เรียนต้ องการทีมทีเ่ ป็ นกัลยาณมิตร มีการไว้ วางใจ
เกิดการเรียนรู้ ของตนเองและของทีม
วิชัย วงษ์ ใหญ่ : 2555
การจัดลาดับการสอนของการเรียนรู้ ทเี่ น้ นทีม
การเตรียม
ความพร้ อม
ก่ อนสอน
1
การเรียนรู้
ด้ วยตนเอง
การประเมินก่ อนเริ่มบทเรียน
วินิจฉัย – ให้ ผลย้ อนกลับ
45 – 75 นาที ของเวลาชั้นเรียน
2
3
4
5
การเขียนแสดง
ข้ อโต้ แย้ งของกลุ่ม
การทดสอบ
เป็ นทีม
การทดสอบ
รายบุคคล
การประยุกต์ รายวิชา
1 – 4 ชั่วโมง ของเวลาชั้นเรียน
6
การให้ ผล
ย้ อนกลับ
การประยุกต์ ในรูปกิจกรรม
วิชัย วงษ์ ใหญ่ : 2555
การประเมินผลการเรียนรู้ทเี่ น้ นทีม
1. วิธีการร้ อยละ
(Percentage Method)
2. วิธีการแบ่ งส่ วนการช่ วยเหลือสนับสนุนทีม
(Separate “Team Maintenance” Method)
มารุ ต พัฒผล : 2555
1. วิธีการร้ อยละ
1.1 ขอบข่ ายการประเมิน (ต้ องให้ ค่านา้ หนักการประเมินด้ วย)
- การปฏิบัตกิ จิ กรรมการเรียนรู้ รายบุคคล (50% , 60% , …)
- การปฏิบัตกิ จิ กรรมการเรียนรู้ ของทีม (30% , 20% , …)
1.2 วิธีการประเมินรายบุคคลโดยเพือ่ นในทีม (Peer Evaluation)
1) ให้ ผ้ เู รียนแต่ ละคนประเมินการปฏิบัตกิ จิ กรรมการเรียนรู้ รายบุคคล
ของเพือ่ นในทีมยกเว้ นตนเอง โดยกาหนดให้ คะแนนรวมของทีม
มีค่าเท่ ากับ 100 คะแนน (ง่ ายในขั้นตอนการคิดค่ าร้ อยละ)
2) รวมคะแนนของนักเรียนทุกคนในทีม แล้ วแปลความหมายเบือ้ งต้ นดังนี้
ถ้ าผู้เรียนคนใดมีคะแนนมากกว่ า 100 คะแนน
แสดงว่ า มีการปฏิบัตกิ จิ กรรมการเรียนรู้ มาก
ถ้ าผู้เรียนคนใดมีคะแนนน้ อยกว่ า 100 คะแนน
แสดงว่ า มีการปฏิบัตกิ จิ กรรมการเรียนรู้ น้อย
มารุ ต พัฒผล : 2555
3) แปลงคะแนนรวมของผู้เรียนแต่ ละคนให้ อยู่ในรูปร้ อยละ
โดยคะแนนรวมนั้นคือค่ าร้ อยละโดยอัตโนมัติ เพราะมาจากฐาน 100
ซึ่งคือคะแนนการประเมินรายบุคคลโดยเพือ่ นในทีม
(Individual’s Peer Evaluation Score)
1.3 การประเมินระดับการเรียนรู้รวม (Overall Course Grade)
ทาได้ โดยการนาคะแนนการปฏิบัติกจิ กรรมการเรียนรู้รายบุคคล
ไปรวมกับผลคูณระหว่ างคะแนนการปฏิบัติกจิ กรรมการเรียนรู้ของทีมกับ
คะแนนการประเมินรายบุคคลโดยเพือ่ นในทีม
(Individual’s Peer Evaluation Score)
มารุ ต พัฒผล : 2555
2. วิธีการจาแนกคะแนนการสนับสนุนการเรียนรู้ของทีม
2.1 ขอบข่ ายการประเมิน
- การปฏิบัตกิ จิ กรรมการเรียนรู้ ส่วนบุคคล
- การปฏิบัตกิ จิ กรรมการเรียนรู้ ของทีม
- การสนับสนุนการเรียนรู้ ของทีม
2.2 วิธีการประเมิน
1. ให้ ผ้ เู รียนประเมินเพือ่ นในกลุ่มโดยไม่ ต้องประเมินตนเอง
โดยกาหนดให้ คะแนนเฉลีย่ ของทีมจะต้ องมีค่าเท่ ากับ 10
(peer evaluation)
2. คานวณคะแนนจากการประเมิน (peer evaluation score) ดังนี้
- คานวณคะแนนเฉลีย่ ของนักเรียนแต่ ละคน
- นาคะแนนเฉลีย่ ทีค่ านวณได้ ไปคูณกับค่ านา้ หนัก (หรือค่ าร้ อยละ)
ของคะแนนการสนับสนุนการเรียนรู้ ของทีมซึ่งคะแนนทีไ่ ด้ นี้
จะนาไปสู่ การให้ ระดับผลการเรียนรู้
มารุ ต พัฒผล : 2555
แบบประเมินการเรียนรู้ โดยเน้ นทีม
กลุ่มที่ ………...
วัน ……. เดือน ……….. ปี ………...
ชื่อผู้เรียน 1. ………………. 2. ……………………
3. ……………….. 4. …………..………..
คาชี้แจง บันทึกการปฏิบัตงิ านของผู้เรียนแต่ ละคนในกลุ่มตามเกณฑ์ ที่ระบุ โดยเขียนเลขระบุระดับคุณภาพ
ให้ 3 คะแนน ปฏิบัตดิ ้ วยตนเอง
ให้ 2 คะแนน ปฏิบัตเิ มื่อได้ รับคาแนะนา หรือการชักชวนจากเพือ่ นในทีม
ให้ 1 คะแนน ปฏิบัตเิ มื่อได้ รับการกระตุ้นจากอาจารย์ ผ้สู อน
รายการประเมิน
ผู้เรียนในทีม
คนที่ 1
คนที่ 2
คนที่ 3
คนที่ 4
1. มีความเคารพเพือ่ สมาชิกในทีม
2. ให้ ความช่ วยเหลือเพือ่ นในทีม
3. รับผิดชอบหน้ าที่ของตนเองในทีม
4. รับฟังความคิดเห็นของเพือ่ นในทีม
5. เสี ยสละเพือ่ ประโยชน์ ของทีม
รวมคะแนน 15 คะแนน
วิชยั วงษ์ใหญ่ : 2555