การเขียนโครงการ น.อ. สมคิด ทิมสาด รอง ผอ.รพ. อาภากรเกียรติวงศ์ ฐท.สส. ขอบเขตการบรรยาย ความเป็ นมา  การเขียนโครงการแบบดั้งเดิม หรื อประเพณีนิยม  การนาไปใช้ 

Download Report

Transcript การเขียนโครงการ น.อ. สมคิด ทิมสาด รอง ผอ.รพ. อาภากรเกียรติวงศ์ ฐท.สส. ขอบเขตการบรรยาย ความเป็ นมา  การเขียนโครงการแบบดั้งเดิม หรื อประเพณีนิยม  การนาไปใช้ 

การเขียนโครงการ
น.อ. สมคิด ทิมสาด
รอง ผอ.รพ. อาภากรเกียรติวงศ์ ฐท.สส.
ขอบเขตการบรรยาย
ความเป็ นมา
 การเขียนโครงการแบบดั้งเดิม หรื อประเพณีนิยม
 การนาไปใช้

โครงการ(PROJECT)




โครงการ (PROJECT) หมายถึงส่ วนย่ อยหนึ่งของแผนงาน ซึ่ง
ประกอบด้ วย
กิจกรรม
ทรัพยากรในการดาเนินงาน
ระยะเวลาดาเนินงานเพือ่ บรรลุเป้าหมาย/วัตถุประสงค์ ของโครงการนั้น
( ดร. รัตนะ บัวสนธ์ , ๒๕๔๐.)
แผน(PLAN)
แผนงาน(PROGRAM)
แผนงาน(PROGRAM)
แผนงาน(PROGRAM)
โครงการ(PROJECT)
โครงการ(PROJECT)
โครงการ(PROJECT)
กิจกรรม(ACTIVITY)
กิจกรรม(ACTIVITY)
กิจกรรม(ACTIVITY)
การเขียนโครงการ

โครงการทีน่ ิยมในปัจจุบันมี ๒ แบบ
๑.แบบดั้งเดิมหรือประเพณีนิยม (Classical Or Conventional Method )
๒.แบบเหตุผลสั มพันธ์
(Logical FrameWork Method)
การเขียนโครงการแบบดั้งเดิมหรือประเพณีนิยม
(Classical Or Conventional Method)
๑. ชื่อโครงการ...............................................................................................................
๒.แผนงาน.....................................................................................................................
๓.หน่ วยงานหรือบุคคลผู้รับผิดชอบโครงการ...............................................................
๔.ลักษณะโครงการ.......................................................................................................
๕.หลักการและเหตุผล...................................................................................................
๖.วัตถุประสงค์ ...............................................................................................................
๗.เป้ าหมาย....................................................................................................................
๘.งาน/กิจกรรมและขั้นตอนการดาเนินงาน..................................................................
๙.ระยะเวลาดาเนินโครงการและปฏิทินปฏิบัติงาน........................................................
๑๐.ทรัพยากรที่ใช้ ในการดาเนินโครงการ.......................................................................
๑๑.ผลทีค่ าดว่ าจะได้ รับ.................................................................................................
๑๒.ภาคผนวก.................................................................................................................
การเขียนโครงการแบบดั้งเดิมหรือประเพณีนิยม
(Classical Or Conventional Method)
๑.โครงการ ต้ องเขียนให้ รู้ ว่า จะทาอะไร กับใคร ทีไ่ หน เช่ น
โครงการป้องกัน Heat Stroke ของนักเรียนหลักสู ตรส่ งกลับทาง
อากาศนาวิกโยธิน อาเภอสั ตหีบ จังหวัดชลบุรี
๒.แผนงาน โครงการที่จดั ทาขึน้ ของหน่ วยงานหรือองค์ กร ควร
ระบุชื่อแผนงานทีโ่ ครงการตามข้ อ ๑. อยู่ภายใต้ แผนงานนั้น เช่ น
แผนงานควบคุมป้องกันโรค
๓.หน่ วยงานหรือผู้รับผิดชอบโครงการ ต้ องระบุรายละเอียด
ชื่อ สถานที่ เบอร์ โทรศัพท์ ที่ติดต่ อได้
การเขียนโครงการแบบดั้งเดิมหรือประเพณีนิยม
(Classical Or Conventional Method)
๔.ลักษณะโครงการ มี ๒ ลักษณะ
 โครงการต่ อเนื่อง (เป็ นโครงการที่มีระยะเวลานานมากกว่ า ๑ ปี หรื อ
ต้ องทาเป็ นช่ วงๆนานๆจึงจะปิ ดโครงการได้ )
 โครงการใหม่ (ไม่ เคยทามาก่ อน)
การเขียนโครงการแบบดั้งเดิมหรือประเพณีนิยม
(Classical Or Conventional Method)
๕. หลักการและเหตุผล
๕.๑ หลักการ(Principal) อธิบายความคิดรวบยอด
(Conceptual)ของ โครงการว่ าโครงการนั้นคืออะไร
มีลกั ษณะอย่ างไร เขียนไว้ ในย่ อหน้ าแรก
๕.๒ เหตุผล(Rational) อธิบายถึงความจาเป็ นที่จะต้ องจัดให้ มี
โครงการขึน้ ความเป็ นมาหรือภูมิหลัง(Background)
สภาพปัญหา(Problem) ทีจ่ าเป็ นต้ องปรับปรุงหรือแก้ ไข
เขียนอธิบายไว้ ในย่ อหน้ าที่สอง
การเขียนโครงการแบบดั้งเดิมหรือประเพณีนิยม
(Classical Or Conventional Method)
๖.วัตถุประสงค์ (Purpose)
เพือ่ ต้ องการให้ เกิดอะไร
จัดให้ มโี ครงการเพือ่ อะไร
 เขียนเป็ น ๒ ลักษณะ
๑.วัตถุประสงค์ ทวั่ ไป (General Purpose )
๒.วัตถุประสงค์ เฉพาะ(Specific Purpose)
การเขียนโครงการแบบดั้งเดิมหรือประเพณีนิยม
(Classical Or Conventional Method)
การกาหนดวัตถุประสงค์ เป็ นส่ วนสาคัญทีส่ ุ ด
 วัตถุประสงค์ ของโครงการคือ ผลลัพธ์ (Outcome)
 การเขียนวัตถุประสงค์ อย่ างฉลาด
ต้ องเขียนเพียง ๑ วัตถุประสงค์ ต่อ ๑ โครงการ
เท่ านั้น

การเขียนโครงการแบบดั้งเดิมหรือประเพณีนิยม
(Classical Or Conventional Method)
๗.เป้าหมาย(Target) การแสดงผลขั้นสุ ดท้ ายในแง่ จานวนหรือ
การวัดผลสาเร็จ ประกอบด้ วย
คุณลักษณะ(Quality)
ปริมาณ(Quantity)
สถานที(่ Place)
เวลา(Time)
การเขียนโครงการแบบดั้งเดิมหรือประเพณีนิยม
(Classical Or Conventional Method)
๘. งาน/กิจกรรมและขั้นตอนการดาเนินการ
 การเขียนถึงสิ่ งทีเราต้ องทาในโครงการนั้นเพือ
่ ให้ บรรลุผลสาเร็จ
ตามทีก่ าหนดไว้ ในวัตถุประสงค์
 กิจกรรมอะไรบ้ างเพือ
่ ก่ อให้ เกิดผลผลิต(Output)เมื่อกิจกรรม
นั้นสิ้นสุ ดลง
 ผลผลิตที่ได้ จากกิจกรรมนีจ
้ ะต้ องตอบสนองหรือขยายผลให้ เกิด
ผลลัพธ์ (Outcome)ตามวัตถุประสงค์ ทกี่ าหนดไว้
การเขียนโครงการแบบดั้งเดิมหรือประเพณีนิยม
(Classical Or Conventional Method)
๙.ระยะเวลาดาเนินโครงการและปฏิทนิ
ปฏิบัติงาน
 การระบุช่วงเวลาตั้งแต่ เริ่ มต้ น
จนกระทัง่ สิ้นสุ ดการดาเนินโครงการ
เช่ น ต.ค.๔๙ ถึง ก.ย.๕๐
 การระบุรายละเอียดของงาน/
กิจกรรมและช่ วงระยะเวลาการ
ดาเนินงานของแต่ ละกิจกรรม
Gantt Chart
ลาดับที่ งาน/กิจกรรม
ระยะเวลา
หมายเหตุ
วัน/สัปดาห์ / เดือน
การเขียนโครงการแบบดั้งเดิมหรือประเพณีนิยม
(Classical Or Conventional Method)
๑๐.ทรัพยากรทีใ่ ช้ ในการดาเนินงาน
ปัจจัยนาเข้ า(Input) ประกอบด้ วย ๓ M
MAN
MONEY
MATERIAL
( Mที๔่ MANAGEMENT อยู่ในหัวข้ อของงาน/กิจกรรม
และขั้นตอนการดาเนินงาน)
การเขียนโครงการแบบดั้งเดิมหรือประเพณีนิยม
(Classical Or Conventional Method)
๑๑.ผลทีค่ าดว่ าจะได้ (Expect Outcome)
 ผลทีค
่ าดว่ าจะได้ รับจากโครงการโดยตรง
(Direct Expect Outcome)
 ผลทีค
่ าดว่ าจะได้ รับโดยอ้ อม
(Indirect Expect Outcome)หรือผลกระทบ(Impact)
ของโครงการ
การเขียนโครงการแบบดั้งเดิมหรือประเพณีนิยม
(Classical Or Conventional Method)
๑๒.ภาคผนวก
 การเขียนบอกรายละเอียดอืน
่ ๆเพิม่ เติมเพือ่ ประกอบ
การพิจารณา
 รายละเอียดของกิจกรรม
 การใช้ จ่ายงบประมาณ
 รายชื่ อบุคคลทีม
่ สี ่ วนเกีย่ วข้ องกับการดาเนินโครงการ
ผลผลิตหรือผลิตภัณฑ์

แบ่ งเป็ น ๔ ระดับ
๑.ผลผลิตแรกทีเ่ กิดความต้ องการของกลุ่มเป้าหมายหรือลูกค้ า
๒.ความรู้ สึกพึงพอใจต่ อผลผลิตทีไ่ ด้ คอื เกิดทัศนคติที่ดมี ีความ
เชื่อถือว่ าจะนาผลผลิตนั้นไปใช้ ให้ เกิดประโยชน์ ได้
๓.ลงมือปฏิบัติกบั ผลผลิตที่ได้ คอื นาผลผลิตนั้นไปใช้ ให้ เกิด
ประโยชน์
๔.เกิดผลประโยชน์ สูงสุ ดแก่ มวลชนอย่ างแพร่ หลายจนอาจขยาย
ผลได้ ถึงระดับประเทศ ระดับโลก
วัตถุประสงค์ (Objective)

ลักษณะของวัตถุประสงค์
๑.สอดคล้ องกับวัตถุประสงค์ ขององค์ กร
๒.ชัดเจน/เจาะจง/วัดได้
๓.บรรลุผลสาเร็จได้
๔.ท้ าทาย/สอดคล้ องกับความต้ องการ
วัตถุประสงค์(Objective)

วิธีเขียนวัตถุประสงค์
๑.ใช้ คาทีเ่ ฉพาะเจาะจงซึ่งระบุให้ ทราบแน่ ชัดว่ า
ต้ องการให้ เกิดผลอะไร ภายในเวลาเมื่อใด
๒.ใช้ ถ้อยคาที่วดั ได้ ในเชิงปริมาณ
๓.ใช้ ถ้อยคาทีผ่ ู้ปฏิบัตงิ านเข้ าใจ
๔.ชี้ให้ เห็นผลลัพธ์ ที่ต้องการ
CIPP MODEL
C-บริบท(Context)
I-ปัจจัยนาเข้ า(Input)
P-กระบวนการผลิต(Process)
CONVENTIONAL METHOD
หลักการและเหตุผล
LOG FRAME
Input
ทรัพยากรที่ใช้ ในการดาเนินโครงการ
งาน/กิจกรรมและขั้นตอนการดาเนินงาน
Activity
P-ผลผลิต(Product) ๔ระดับ
-
-
ระดับที่ ๑.ความรู้ (Knowledge)
-
Output
ระดับที๒
่ .ทัศนคติ (Attitude)
วัตถุประสงค์ (Purpose)
ระดับที๓่ .พฤติกรรม(Behavior)
ผลทีค่ าดว่ าจะได้ รับโดยตรง
(Direct Expect Outcome)
Purpose(F)(Final)
ระดับที๔่ .ผลประโยชน์ สูงสุ ด
(Impact)
ผลทีค่ าดว่ าจะได้ รับโดยอ้ อม
Goal
(Indirect Expect Outcome)
Purpose(I)(Immediate)
สรุป/ตอบข้ อซักถาม